สารบัญ
27 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบารัก โอบามาชีอะฮ์กาชาดการบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546ยูเอสเอทูเดย์ลีออน พาเนตตาสหรัฐสหราชอาณาจักรสำนักข่าวกรองกลางสิทธิมนุษยชนสงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามต่อต้านการก่อการร้ายอัลกออิดะฮ์อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงจอร์จ ดับเบิลยู. บุชขีปนาวุธร่อนข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติซัดดัม ฮุสเซนซุนนีซีเอ็นเอ็นประชาธิปไตยประเทศอิรักแบกแดดโทนี แบลร์เดอะนิวยอร์กไทมส์
- ความขัดแย้งในคริสต์ทศวรรษ 2010
- ความสัมพันธ์สหรัฐ–อิรัก
- จักรวรรดินิยม
- ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของประเทศอิรัก
- สงครามตัวแทน
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามเกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น
- สงครามเกี่ยวข้องกับตุรกี
- สงครามเกี่ยวข้องกับนอร์เวย์
- สงครามเกี่ยวข้องกับนิวซีแลนด์
- สงครามเกี่ยวข้องกับบัลแกเรีย
- สงครามเกี่ยวข้องกับฟิลิปปินส์
- สงครามเกี่ยวข้องกับมองโกเลีย
- สงครามเกี่ยวข้องกับยูเครน
- สงครามเกี่ยวข้องกับลิทัวเนีย
- สงครามเกี่ยวข้องกับสหรัฐ
- สงครามเกี่ยวข้องกับสหราชอาณาจักร
- สงครามเกี่ยวข้องกับสิงคโปร์
- สงครามเกี่ยวข้องกับสเปน
- สงครามเกี่ยวข้องกับออสเตรเลีย
- สงครามเกี่ยวข้องกับอาร์มีเนีย
- สงครามเกี่ยวข้องกับอาเซอร์ไบจาน
- สงครามเกี่ยวข้องกับอิตาลี
- สงครามเกี่ยวข้องกับอิรัก
- สงครามเกี่ยวข้องกับเกาหลีใต้
- สงครามเกี่ยวข้องกับเช็กเกีย
- สงครามเกี่ยวข้องกับเดนมาร์ก
- สงครามเกี่ยวข้องกับเนเธอร์แลนด์
- สงครามเกี่ยวข้องกับโปรตุเกส
- สงครามเกี่ยวข้องกับโปแลนด์
- สงครามเกี่ยวข้องกับโรมาเนีย
- สงครามเกี่ยวข้องกับไทย
บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.
ดู สงครามอิรักและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
บารัก โอบามา
รัก ฮูเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II; เกิด 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 44 ตั้งแต..
ชีอะฮ์
ีอะฮ์ (บ้างสะกด ชีอะห์) เป็นนิกายหนึ่งในอิสลาม ซึ่งนับถือพระเจ้าพระองค์เดียว และท่านนบีมูฮัมมัด(ศ็อลฯ)เป็นนบีคนสุดท้าย หากแต่มีความแตกต่างกับซุนนีย์ในเรื่องของผู้นำศาสนาต่อจากท่านนบีมุฮัมมัด ว่ามาจากการแต่งตั้งของอัลลอฮ์และท่านนบีมุฮัมมัดเท่านั้น หากผู้ใดได้ศึกษาประวัติของวันอีดฆอดีรคุมแล้ว จะพบว่าวันนั้นเป็นวันที่อัลลอฮฺทรงแต่งตั้งอะลีให้เป็นอิมามหรือผู้นำศาสนาคนต่อไปโดยผ่านท่านนบี(ศ็อลฯ) นั้นคืออิมามสิบสองคน อันได้แก่อิมามอะลีย์และบุตรหลานของอิมามอะลีกับท่านหญิงฟาติมะห์(บุตรีของท่านนบี(ศ็อลฯ)อีก 11 คน ชีอะฮ์ ตามความหมายของปทานุกรมหมายถึง ผู้ปฏิบัติตามหรือผู้ติดตาม ซึ่งบุคคลที่เป็นชีอะฮ์หมายถึง บุคคลที่เชื่อว่า ผู้นำศาสนาหลังจากท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ) เสียชีวิตแล้ว เป็นสิทธิของลูกหลานของท่านเท่านั้น ซึ่งชีอะฮ์จึงยึดถือและปฏิบัติ ตามแนวทางของลูกหลานของท่านศาสดา(อะฮฺลุลบัยตฺ) ทั้งด้านความรู้ และการปฏิบัติ ชีอะฮ์มีความเชื่อว่า พระองค์อัลลอฮ์ คือพระผู้ทรงสร้างชั้นฟ้าและแผ่นดิน คือพระผู้ทรงบริสุทธิ์ยิ่ง ศาสนาของพระองค์ก็เป็นศาสนาที่บริสุทธิ์ ศาสดามุฮัมมัด (ศ) ศาสนทูตของพระองค์ก็ต้องเป็นผู้บริสุทธิ์ และผู้สืบทอดตำแหน่งของศาสดาของพระองค์ก็จำเป็นจะต้องเป็นผู้บริสุทธิ์เท่านั้น และเมื่อศาสนทูตของพระองค์ พระองค์เป็นผู้ทรงแต่งตั้ง ดังนั้นตัวแทนของศาสนทูตของพระองค์ พระองค์ก็จะต้องเป็นผู้แต่งตั้งเช่นเดียวกัน มิใช่ปล่อยให้ใครก็ได้มาเป็นผู้สืบทอดตำแหน่งศาสนทูตของพระองค์ มิใช่ปล่อยให้ใครก็ได้มาแต่งตั้งผู้สืบทอดตำแหน่งศาสนทูตของพระอง.
กาชาด
100px 100px 100px ขบวนกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงนานาชาติ หรือ กาชาด (International Red Cross and Red Crescent Movement หรือ Red Cross) เป็นคำที่ใช้เรียกหน่วยงานสากลที่ประกอบด้วยอาสาสมัครจากทั่วโลกราว 97 ล้านคน ที่มีจุดประสงค์ในพิทักษ์ชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ การบรรเทาทุกข์และการรักษาพยาบาลโดยไม่เลือกชาติพันธุ์ เชื้อชาติ เพศ ความเชื่อทางศาสนา ระดับชั้นในสังคม หรือ ความคิดเห็นทางการเมือง ตราสัญลักษณ์ที่ใช้โดยหน่วยงานนี้มีด้วยกันสามตรา ซึ่งเป็นรูป “ตรากากบาทแดง” (Red Cross), “ตราเสี้ยววงเดือนแดง” (Red Crescent) และ “ตราเพชรแดง” (Red Crystal) หน่วยงานในประเทศไทย เรียก สภากาชาดไทย และใช้ตรากากบาทแดง เป็นตราสัญลักษณ.
การบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546
การบุกครองอิรัก..
ดู สงครามอิรักและการบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546
ยูเอสเอทูเดย์
อาคารสำนักงานใหญ่ของ ยูเอสเอ ทูเดย์ ในเมืองแมกลีน รัฐเวอร์จิเนีย ยูเอสเอทูเดย์ (USA Today) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันของสหรัฐอเมริกา ตีพิมพ์โดยบริษัทแกนเนตต์ ก่อตั้งโดยอัล นูฮาร์ธ ถือเป็นหนังสือพิมพ์ที่มียอดขายมากที่สุดกว่าหนังสือพิมพ์ใดในสหรัฐอเมริกา (เฉลี่ย 2.11 ล้านเล่ม ในวันธรรมดา) และในบรรดาหนังสือพิมพ์ขนาดใหญ่ภาษาอังกฤษทั่วโลกแล้ว มียอดขายเป็นอันดับ 2 รองจาก เดอะไทมส์ออฟอินเดีย ที่ขายได้ 3.14 ล้านเล่มต่อวัน ยูเอสเอทูเดย์ ออกวางขายใน 50 รัฐของสหรัฐอเมริกา แคนาดา วอชิงตันดีซี เปอร์โตริโก และเกาะกวม.
ดู สงครามอิรักและยูเอสเอทูเดย์
ลีออน พาเนตตา
ลีออน เอ็ดเวิร์ด พาเนตตา (Leon Edward Panetta) เป็นรัฐบุรุษ, นิติกร และอาจารย์ชาวอเมริกัน ในปี..
ดู สงครามอิรักและลีออน พาเนตตา
สหรัฐ
หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
สหราชอาณาจักร
หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..
ดู สงครามอิรักและสหราชอาณาจักร
สำนักข่าวกรองกลาง
ำนักข่าวกรองกลาง (Central Intelligence Agency) หรือย่อว่า ซีไอเอ (CIA) เป็นหน่วยงานราชการด้านข่าวกรองต่างชาติพลเรือนของ รัฐบาลกลางสหรัฐ มีหน้าที่รวบรวม ประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติจากทั่วโลก โดยผ่านการข่าวกรองทางมนุษย์ (Human Intelligence; HUMINT) เป็นส่วนใหญ่ ในฐานะที่เป็นหนึ่งในสมาชิกหลักของชุมชนข่าวกรองสหรัฐ (U.S.
ดู สงครามอิรักและสำนักข่าวกรองกลาง
สิทธิมนุษยชน
ทธิมนุษยชน (human rights) เป็นหลักทางศีลธรรมหรือจารีตJames Nickel, with assistance from Thomas Pogge, M.B.E. Smith, and Leif Wenar, December 13, 2013, Stanford Encyclopedia of Philosophy,, Retrieved August 14, 2014ซึ่งอธิบายมาตรฐานตายตัวของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองสม่ำเสมอเป็นสิทธิทางกฎหมายในกฎหมายท้องถิ่นและกฎหมายระหว่างประเทศ ปกติเข้าใจว่าเป็นสิทธิพื้นฐานที่ไม่โอนให้กันได้ "ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเพียงเพราะผู้นั้นเป็นมนุษย์" และซึ่ง "มีอยู่ในมนุษย์ทุกคน"Burns H.
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
งครามอ่าวเปอร์เซีย หรือ สงครามอ่าว (Gulf War, 2 สิงหาคม 2533 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ชื่อรหัสปฏิบัติการโล่ทะเลทราย (Operation Desert Shield, 2 สิงหาคม 2533 – 17 มกราคม 2534) เป็นปฏิบัติการนำสู่การสั่งสมกำลังและการป้องกันของซาอุดีอาระเบียและปฏิบัติการพายุทะเลทราย (Operation Desert Storm, 17 มกราคม 2534 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ในระยะสู้รบ เป็นสงครามในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียระหว่างกำลังผสมจาก 34 ชาตินำโดยสหรัฐอเมริกาต่อประเทศอิรักหลังการบุกครองและผนวกคูเวตของอิรัก สงครามนี้มีชื่ออื่น เช่น สงครามอ่าวเปอร์เซีย, สงครามอ่าวครั้งที่หนึ่ง, สงครามคูเวต, สงครามอิรัก ซึ่งคำว่า "สงครามอิรัก" ต่อมาใช้เรียกการบุกครองอิรักเมื่อปี 2546 แทน การยึดครองคูเวตของกองทัพอิรักซึ่งเริ่มเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2533 นั้นถูกนานาชาติประณาม และสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติพลันใช้วิธีการบังคับทางเศรษฐกิจต่ออิรัก ประธานาธิบดี จอร์จ เอช.
ดู สงครามอิรักและสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
งครามต่อต้านการก่อการร้าย (War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ.
ดู สงครามอิรักและสงครามต่อต้านการก่อการร้าย
อัลกออิดะฮ์
อัลกออิดะฮ์ (القاعدة, al-Qā`ida "ฐาน") หรือ แอล-ไคดา (al-Qaeda) เป็นกลุ่มก่อการร้ายอิสลามสากล ก่อตั้งโดย อุซามะฮ์ บิน ลาดิน, อับดุลลาห์ อัซซัม (Abdullah Azzam) และนักรบอื่นอีกหลายคน บางช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม 2531.
อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง
อาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง (อังกฤษ: Weapon of Mass Destruction, WMD) คืออาวุธที่สามารถสังหารมนุษย์, สัตว์หรือพืชในจำนวนมาก และอาจทำลายสภาพแวดล้อมของโลกอย่างมหาศาล ซึ่งจำแนกได้เป็นอาวุธหลายประเภทด้วยกันได้แก่ อาวุธปรมาณู, อาวุธชีวภาพ, อาวุธเคมี รวมไปถึงอาวุธกัมมันตภาพรังสี (ต่างจากอาวุธปรมาณูตรงที่ให้แรงระเบิดน้อยกว่ามาก แต่แพร่กัมมันตรังสีในปริมาณที่เทียบเท่าหรือใกล้เคียงกับอาวุธปรมาณู) ที่กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นจากกองกำลังที่มีอำนาจทางการเงินและเทคโนโลยีที่ด้อยกว่า (เช่น ผู้ก่อการร้าย) เป็นที่โต้เถียงกันว่าศัพท์นี้ (ในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาไทยนั้น ไม่ค่อยพบเห็นการใช้คำนี้มากนัก) ถูกใช้ครั้งแรกเมื่อใด โดยนิยามนี้อาจถูกใช้ครั้งแรกใน พ.ศ.
ดู สงครามอิรักและอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง
จอร์จ ดับเบิลยู. บุช
รืออากาศโท จอร์จ วอล์กเกอร์ บุช (George Walker Bush) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 บุชสังกัดพรรครีพับลิกัน และเกิดในตระกูลบุชซึ่งเป็นตระกูลนักการเมืองตระกูลใหญ่ของสหรัฐอเมริกา โดยพ่อของเขาคือ จอร์จ บุช ประธานาธิบดีคนที่ 41 และน้องชายเขา เจบ บุช เป็นอดีตผู้ว่าการมลรัฐฟลอริดา ก่อนเริ่มเล่นการเมือง จอร์จ ดับเบิลยู บุชเป็นนักธุรกิจบ่อน้ำมัน และเป็นเจ้าของทีมเบสบอล เทกซัส เรนเจอร์ (Texas Rangers) เขาเริ่มเล่นการเมืองระดับท้องถิ่นโดยเป็นผู้ว่าการรัฐเทกซัสคนที่ 46 ชนะการเสนอชื่อลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีของพรรครีพับลิกัน และชนะการเลือกตั้งต่อรองประธานาธิบดี อัล กอร์ใน พ.ศ.
ดู สงครามอิรักและจอร์จ ดับเบิลยู. บุช
ขีปนาวุธร่อน
ขีปนาวุธร่อน (Cruise missile) หมายถึงขีปนาวุธนำวิถีใช้กับเป้าหมายบนพื้น ขีปนาวุธพิสัยใกล้เกือบทั้งหมดเป็นขีปนาวุธประเภทนี้ การที่เรียกเช่นนี้เนื่องจากมันมีปีกที่ทำให้มันร่อนอยู่ในอากาศได้ ขีปนาวุธประเภทนี้ถูกออกแบบมาเพื่อนำส่งหัวรบขนาดใหญ่เป็นระยะทางไกลโดยที่ยังคงความแม่นยำ ขีปนาวุธร่อนสมัยใหม่สามารถทำความเร็วเหนือเสียงหรือเท่ากับเสียงได้และมีระบบนำทางในตัวเอง ขีปนาวุธร่อนเป็นขีปนาวุธประเภทที่ครอบคลุมพิสัยการปฏิบัติการมากที่สุด ปัจจุบันมีขีปนาวุธร่อนตั้งแต่พิสัยใกล้ไม่เกิน 1000 กิโลเมตร ไปจนถึงขีปนาวุธร่อนแบบทอดตัวข้ามทวีป อย่างไรก็ตาม ขีปนาวุธร่อนยังสามารถร่อนที่วิถีความสูงระดับต่ำซึ่งเป็นการทำงานแบบไม่ทอดตัว ขีปนาวุธร่อนได้รับแรงบันดาลใจมากจาก ระเบิดบิน วี-1 ของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งเป็นขีปนาวุธแบบแรกของโลก หมวดหมู่:ขีปนาวุธ.
ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ
้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (United Nations High Commissioner for Refugees, คำย่อ UNHCR) เป็นองค์การที่รับภารกิจหน้าที่จาก UNRRA: United Nations Relief and Rehabilitation Administration ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.
ดู สงครามอิรักและข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ
คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
ณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Security Council; UNSC) เป็นหนึ่งใน 6 เสาหลักของสหประชาชาติ และเป็นองค์กรในสหประชาชาติที่มีอิทธิพลรองลงมาจากสมัชชาใหญ่ เป็นองค์กรที่มีอำนาจในการเรียกระดมพลจากรัฐสมาชิกในสหประชาชาติเพื่อจัดตั้งเป็นกองกำลังรักษาสันติภาพเข้าไปปฏิบัติหน้าที่รักษาสันติภาพในประเทศและสงครามต่างๆ และยังมีอำนาจในการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อประเทศต่าง.
ดู สงครามอิรักและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
ซัดดัม ฮุสเซน
ซัดดัม ฮุสเซน (Saddam Hussein) หรือ ศ็อดดาม ฮุเซน อับดุลมะญีด อัลตีกรีตี (อาหรับ: صدام حسين عبد المجيد التكريتي; ละติน:Ṣaddām Ḥusayn ʿAbd al-Majīd al-Tikrītī; 28 เมษายน พ.ศ.
ดู สงครามอิรักและซัดดัม ฮุสเซน
ซุนนี
ซุนนี (سُنِّي) คือนิกายหนึ่งในศาสนาอิสลาม มีชื่อเต็มในภาษาอาหรับว่า อะฮ์ลุสซุนนะฮ์วะอัลญะมาอะฮ์ (أهل السنة والجماعة, นิยมอ่านว่า อะฮ์ลุสซุนนะฮ์วัลญะมาอะฮ์) เป็นนิกายที่ใหญ่ที่สุดในอิสลาม แบ่งเป็นสำนักหรือมัซฮับย่อย ๆ ออกเป็นหลายมัซฮับ แต่ปัจจุบันเหลือแค่เพียง 4 มัซฮับ นอกจากนี้ยังมีมัซฮับมุสลิมซุนนีที่ไม่ยึดถือมัซฮับ เรียกตนเองว่า พวกซะละฟี.
ซีเอ็นเอ็น
ล นิวส์ เน็ตเวิร์ก (Cable News Network) หรือรู้จักกันในชื่อ ซีเอ็นเอ็น (CNN) เป็นเครือข่ายโทรทัศน์เคเบิล ที่เสนอข่าวสารตลอด 24 ชั่วโมง ก่อตั้งโดย เท็ด เทอร์เนอร์ เริ่มต้นออกอากาศเมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.
ประชาธิปไตย
รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.
ประเทศอิรัก
ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..
แบกแดด
แผนที่แสดงที่ตั้งแบกแดดในอิรัก แบกแดด ประเทศอิรัก แบกแดด (Baghdad, Bagdad; بغداد บัฆดาด; بەغدا) เป็นเมืองหลวงของประเทศอิรัก มีประชากรในเขตนครประมาณ 7,000,000 คน เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในอิรักการประมาณการจำนวนประชากรทั้งหมดแต่ละชิ้นนั้นแตกต่างอย่างสำคัญ Encyclopædia Britannica ระบุจำนวนในปี..
โทนี แบลร์
แอนโธนี ชาลส์ ลินตัน "โทนี" แบลร์ (Anthony Charles Lynton "Tony" Blair) เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของสหราชอาณาจักร และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคแรงงาน แบลร์สืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพรรคแรงงานหลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าพรรคคนก่อนคือ นายจอห์น สมิท (John Smith) ใน พ.ศ.
เดอะนิวยอร์กไทมส์
อะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กและจัดจำหน่ายไปทั่วโลก จัดการโดยบริษัทเดอะนิวยอร์กไทมส์ซึ่งตีพิมพ์หนังสือพิมพ์อื่นๆอีก 15 ฉบับ รวมถึง International Herald Tribune และ The Boston Globe ด้วย เดอะนิวยอร์กไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์มหานครที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีฉายาว่า "Gray Lady" (สุภาพสตรีสีเทา) ก็เพราะหน้าตาและสำนวนที่ขรึมขลัง ถูกเรียกว่าเป็นหนังสือพิมพ์ที่บันทึกแห่งการณ์ต่างๆของชาติ เพราะมันมักถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงที่เป็นทางการและได้รับความเชื่อถือ ก่อตั้งเมื่อ..
ดู สงครามอิรักและเดอะนิวยอร์กไทมส์
ดูเพิ่มเติม
ความขัดแย้งในคริสต์ทศวรรษ 2010
- ความขัดแย้งในเซาท์คอร์โดฟานและบลูไนล์
- ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย
- วิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)
- วิกฤตการณ์เยเมน (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)
- สงครามดาร์ฟูร์
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามอิรัก
- สงครามในโซมาเลีย (พ.ศ. 2552–ปัจจุบัน)
- อาหรับวินเทอร์
ความสัมพันธ์สหรัฐ–อิรัก
- การบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546
- การประชุมสันติภาพเจนีวา
- คณะตุลาการอาญาสูงสุดอิรัก
- คำสั่งของฝ่ายบริหารที่ 13769
- สงครามอิรัก
- แกนแห่งความชั่วร้าย
จักรวรรดินิยม
- กติกาสัญญาวอร์ซอ
- การบุกครองอ่าวหมู
- จักรวรรดินิยม
- จักรวรรดินิยมอเมริกา
- จักรวรรดิบริติช
- จักรวรรดิอาณานิคมเบลเยียม
- รัฐบริวาร
- สงครามอิรัก
- สงครามเวียดนาม
- สหภาพเหนือชาติ
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของประเทศอิรัก
- สงครามอิรัก
สงครามตัวแทน
- การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย
- การก่อการกำเริบฮุกบาลาฮับ
- การก่อการกำเริบในทิเบต พ.ศ. 2502
- การก่อการกำเริบในลาว
- การบุกครองอ่าวหมู
- การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ
- การปฏิวัติคิวบา
- การปฏิวัติเม็กซิโก
- ความขัดแย้งภายในพม่า
- ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย
- วิกฤตการณ์เยเมน (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)
- สงครามกลางเมืองจีน
- สงครามกลางเมืองซีเรีย
- สงครามกลางเมืองลาว
- สงครามกลางเมืองลิเบีย พ.ศ. 2554
- สงครามกลางเมืองสเปน
- สงครามกลางเมืองเลบานอน
- สงครามกัมพูชา–เวียดนาม
- สงครามจีน–เวียดนาม
- สงครามดาร์ฟูร์
- สงครามตัวแทน
- สงครามประกาศอิสรภาพตุรกี
- สงครามยูกันดา-แทนซาเนีย
- สงครามยูโกสลาเวีย
- สงครามอาณานิคมโปรตุเกส
- สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง
- สงครามอิรัก
- สงครามเกาหลี
- สงครามเวียดนาม
- สงครามโซเวียต–อัฟกานิสถาน
- สงครามโอกาเดน
- สมรภูมิบ้านร่มเกล้า
สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- กลุ่มซาลาฟิสต์เพื่อการเรียกร้องและการสู้รบ
- การบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546
- ปริซึม (โครงการสอดส่องดูแล)
- วิสามัญฆาตกรรม
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามอิรัก
- อุซามะฮ์ บิน ลาดิน
- เอ็มคิว-9 รีปเปอร์
- แกนแห่งความชั่วร้าย
- แผนโบจินกา
สงครามเกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น
- กบฏนักมวย
- การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล
- ข้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่น
- สงครามจินชิน
- สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง
- สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง
- สงครามปีเก็งโก
- สงครามอิรัก
- สงครามเก็มเป
- สงครามโบชิน
- สงครามโลกครั้งที่สอง
- สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามเกี่ยวข้องกับตุรกี
- การก่อความไม่สงบของกลุ่มโบโกฮะรอม
- สงครามกลางเมืองซีเรีย
- สงครามกลางเมืองลิเบีย พ.ศ. 2554
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามประกาศอิสรภาพตุรกี
- สงครามอิรัก
- สงครามอ่าว
- สงครามเกาหลี
- สงครามในโซมาเลีย (พ.ศ. 2552–ปัจจุบัน)
สงครามเกี่ยวข้องกับนอร์เวย์
- มหาสงครามเหนือ
- สงครามครูเสดนอร์เวย์
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามปฏิวัติฝรั่งเศส
- สงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สอง
- สงครามอิรัก
- สงครามอ่าว
- สงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามเกี่ยวข้องกับนิวซีแลนด์
- วิกฤตการณ์มาลายา
- สงครามอังกฤษ-อิรัก
- สงครามอิรัก
- สงครามอ่าว
- สงครามเกาหลี
- สงครามเวียดนาม
- สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามเกี่ยวข้องกับบัลแกเรีย
- สงครามกลางเมืองกรีซ
- สงครามรัสเซีย-ตุรกี (ค.ศ. 1877–1878)
- สงครามอิรัก
- สงครามโลกครั้งที่สอง
- สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามเกี่ยวข้องกับฟิลิปปินส์
- การก่อการกำเริบฮุกบาลาฮับ
- สงครามกลางเมืองลาว
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามอิรัก
- สงครามอ่าว
- สงครามเกาหลี
- สงครามเวียดนาม
- สงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามเกี่ยวข้องกับมองโกเลีย
สงครามเกี่ยวข้องกับยูเครน
- สงครามกลางเมืองรัสเซีย
- สงครามอิรัก
สงครามเกี่ยวข้องกับลิทัวเนีย
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามอิรัก
- สงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามเกี่ยวข้องกับสหรัฐ
- กบฏนักมวย
- การบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546
- สงคราม ค.ศ. 1812
- สงครามกลางเมืองกรีซ
- สงครามกลางเมืองซีเรีย
- สงครามกลางเมืองลาว
- สงครามกลางเมืองลิเบีย พ.ศ. 2554
- สงครามกลางเมืองอเมริกา
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามบาร์บารีครั้งที่หนึ่ง
- สงครามปฏิวัติฝรั่งเศส
- สงครามประกาศอิสรภาพตุรกี
- สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง
- สงครามอิรัก
- สงครามอ่าว
- สงครามเกาหลี
- สงครามเย็น
- สงครามเวียดนาม
- สงครามโลกครั้งที่สอง
- สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- สงครามในโซมาเลีย (พ.ศ. 2552–ปัจจุบัน)
- โจรสลัดบาร์บารี
สงครามเกี่ยวข้องกับสหราชอาณาจักร
- กบฏนักมวย
- กบฏไท่ผิงเทียนกั๋ว
- กองทัพบกสหราชอาณาจักร
- การบุกครองทิเบตของอังกฤษ พ.ศ. 2446
- การบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546
- สงคราม ค.ศ. 1812
- สงครามกลางเมืองกรีซ
- สงครามกลางเมืองซีเรีย
- สงครามกลางเมืองลิเบีย พ.ศ. 2554
- สงครามการ์ลิสต์ครั้งที่ 1
- สงครามคาบสมุทร
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามปฏิวัติฝรั่งเศส
- สงครามประกาศอิสรภาพตุรกี
- สงครามฟอล์กแลนด์
- สงครามลวง
- สงครามอังกฤษ–ซูลู
- สงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สอง
- สงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สาม
- สงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่หนึ่ง
- สงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์
- สงครามอังกฤษ-อิรัก
- สงครามอิรัก
- สงครามอ่าว
- สงครามเกาหลี
- สงครามเสรีนิยม
- สงครามโลกครั้งที่สอง
- สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- สงครามไครเมีย
สงครามเกี่ยวข้องกับสิงคโปร์
- สงครามอิรัก
สงครามเกี่ยวข้องกับสเปน
- สงครามกลางเมืองลิเบีย พ.ศ. 2554
- สงครามคาบสมุทร
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามสันนิบาตกอญัก
- สงครามสี่สัมพันธมิตร
- สงครามอังกฤษ-สเปน (ค.ศ. 1585)
- สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1498)
- สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1499-1504)
- สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1521-1526)
- สงครามอิรัก
- สงครามอ่าว
- สงครามเก้าปี
- สงครามเสรีนิยม
- สงครามแปดสิบปี
สงครามเกี่ยวข้องกับออสเตรเลีย
- การบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546
- วิกฤตการณ์มาลายา
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามอังกฤษ-อิรัก
- สงครามอิรัก
- สงครามอ่าว
- สงครามเกาหลี
- สงครามเวียดนาม
- สงครามโลกครั้งที่สอง
- สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามเกี่ยวข้องกับอาร์มีเนีย
สงครามเกี่ยวข้องกับอาเซอร์ไบจาน
- สงครามอิรัก
- สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามเกี่ยวข้องกับอิตาลี
- กบฏนักมวย
- การบุกครองแอลเบเนียของอิตาลี
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามปฏิวัติฝรั่งเศส
- สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย
- สงครามอังกฤษ-อิรัก
- สงครามอิรัก
- สงครามอ่าว
- สงครามโลกครั้งที่สอง
- สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- สงครามไครเมีย
สงครามเกี่ยวข้องกับอิรัก
- การบุกครองคูเวต
- สงครามกลางเมืองซีเรีย
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามอังกฤษ-อิรัก
- สงครามอิรัก
- สงครามอิรัก–อิหร่าน
- สงครามอ่าว
- สงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามเกี่ยวข้องกับเกาหลีใต้
สงครามเกี่ยวข้องกับเช็กเกีย
- สงครามอิรัก
สงครามเกี่ยวข้องกับเดนมาร์ก
- การบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546
- มหาสงครามเหนือ
- สงครามครูเสดลิโวเนีย
- สงครามต่อต้านการก่อการร้าย
- สงครามลวง
- สงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สอง
- สงครามอิรัก
- สงครามอ่าว
- สงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามเกี่ยวข้องกับเนเธอร์แลนด์
- สงครามปฏิวัติฝรั่งเศส
- สงครามสี่สัมพันธมิตร
- สงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่หนึ่ง
- สงครามอิรัก
- สงครามอ่าว
- สงครามเกาหลี
- สงครามเก้าปี
- สงครามแปดสิบปี
- สงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามเกี่ยวข้องกับโปรตุเกส
- สงครามการ์ลิสต์ครั้งที่ 1
- สงครามคาบสมุทร
- สงครามปฏิวัติฝรั่งเศส
- สงครามร้อยปี
- สงครามอาณานิคมโปรตุเกส
- สงครามอิรัก
- สงครามเสรีนิยม
- สงครามแปดสิบปี
- สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- เรกองกิสตา
สงครามเกี่ยวข้องกับโปแลนด์
สงครามเกี่ยวข้องกับโรมาเนีย
- สงครามรัสเซีย-ตุรกี (ค.ศ. 1877–1878)
- สงครามอิรัก
- สงครามอ่าว
- สงครามโลกครั้งที่สอง
- สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามเกี่ยวข้องกับไทย
- กบฏผู้มีบุญ
- กรณีพิพาทอินโดจีน
- การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย
- สงครามกลางเมืองลาว
- สงครามอิรัก
- สงครามเกาหลี
- สงครามเวียดนาม
- สงครามโลกครั้งที่สอง
- สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- สมรภูมิบ้านร่มเกล้า
- เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนาม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Iraq Warการบุกยึดครองอิรัก พ.ศ. 2546