สารบัญ
23 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2511พ.ศ. 2534กันยายนการฆ่าตัวตายกุสตาว ฮูซากกติกาสัญญาวอร์ซอสหภาพโซเวียตสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนียสาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนียสาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวักสาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียสาธารณรัฐประชาชนฮังการีสาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์สงครามเย็นอันเดรย์ เกรชโคอเล็กซานเดอร์ ดุปเชคธงชาติเช็กเกียประเทศแอลเบเนียประเทศเชโกสโลวาเกียประเทศเยอรมนีตะวันออกปรากปรากสปริงเลโอนิด เบรจเนฟ
- กองทัพเยอรมนีตะวันออก
- การบุกครองโดยสหภาพโซเวียต
- การยึดครองทางทหารของสหภาพโซเวียต
- ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสหภาพโซเวียต
- ประวัติศาสตร์การทหารของเยอรมนี
- สงครามตัวแทน
พ.ศ. 2511
ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและพ.ศ. 2511
พ.ศ. 2534
ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและพ.ศ. 2534
กันยายน
กันยายน เป็นเดือนที่ 9 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกันยายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกันย์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีตุล แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกันยายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวสิงโตและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาว เดือนกันยายนในภาษาอังกฤษ September มาจากภาษาละติน septem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 7 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนกันยายนในปี พ.ศ.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและกันยายน
การฆ่าตัวตาย
การฆ่าตัวตาย หรือ อัตวินิบาตกรรม เป็นการกระทำให้ตนเองถึงแก่ความตายอย่างตั้งใจ การฆ่าตัวตายมักเกิดจากภาวะซึมเศร้า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตเภท ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง โรคพิษสุรา หรือการใช้สารเสพติด ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดเช่นความลำบากทางการเงิน หรือปัญหากับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก็มีส่วนเช่นกัน ความพยายามป้องกันการฆ่าตัวตายหมายรวมถึงการจำกัดการฆ่าตัวตายด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น ปืน และสารพิษ การรักษาอาการทางจิตและการใช้สารเสพติด และการปรับปรุงสถานะทางการเงิน แม้ว่าบริการที่ปรึกษาสายด่วนจะมีทั่วไป แต่แทบไม่มีหลักฐานว่าวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพ วิธีการฆ่าตัวตายที่พบได้บ่อยที่สุดแตกต่างกันไปตามประเทศและส่วนหนึ่งจะขึ้นกับความเป็นไปได้ วิธีการทั่วไปได้แก่ การแขวนคอ การวางยาด้วยสารฆ่าสัตว์รังควาน และอาวุธปืน การฆ่าตัวตายคร่าชีวิตคน 842,000 คนใน..
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและการฆ่าตัวตาย
กุสตาว ฮูซาก
กุสตาว ฮูซาก (Gustáv Husák) เป็นนักการเมืองชาวสโลวัก ประธานาธิบดีแห่งเชโกสโลวาเกีย และเลขาธิการกลางแห่งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย สมัยที่เขาปกครองมีชื่อเรียกว่า สมัยปรับให้เป็นปกติ (Normalization) หลังจากปรากสปริง โดยในสมัยนี้ฮูซากปกครองประเทศอย่างเข้มงวดและใกล้ชิดกับทางมอสโกมากขึ้น ก่อนที่จะถูกขับออกจากตำแหน่งประธานาธิบดีในเหตุการณ์การปฏิวัติกำมะหยี่ หมวดหมู่:ชาวสโลวาเกีย หมวดหมู่:นักลัทธิคอมมิวนิสต์ หมวดหมู่:วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและกุสตาว ฮูซาก
กติกาสัญญาวอร์ซอ
กติกาสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) หรือชื่อทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи) บางครั้งเรียกขานอย่างไม่เป็นทางการว่า วอร์แพ็ก (WarPac) เป็นกติกาสัญญาด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในยุโรปตอนกลางและตะวันออกระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท)"In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: ในปี..
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและกติกาสัญญาวอร์ซอ
สหภาพโซเวียต
หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสหภาพโซเวียต
สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนีย
รณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนีย (People's Socialist Republic of Albania (PSRA); Republika Popullore Socialiste e Shqipërisë) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ ค.ศ. 1944 ถึง ค.ศ.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนีย
สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย
รณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย (RSR; โรมาเนีย Republica Socialistă România, อังกฤษ Socialist Republic of Romania) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1947 ถึง ค.ศ. 1989 โดยในระหว่างปี 1947 ถึง ปี 1965 รัฐแห่งนี้มีชื่อเรียกว่า สาธารณรัฐประชาชนโรมาเนีย (Romanian People's Republic) ประเทศนี้เคยอยู่ในรัฐบริวารโซเวียต ค่ายตะวันออก ด้วยการปกครองของพรรคคอมมิวนิสต์โรมาเนีย ด้วยการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง, ราชอาณาจักรโรมาเนีย เป็นอดีตสมาชิกของฝ่ายอักษะ ถูกยึดครองโดยสหภาพโซเวียต ที่มีบทบาทในฝ่ายสัมพันธมิตร วันที่ 6 มีนาคม 1945 หลังจากถูกสังหารหมู่ โซเวียตได้สนับสนุนและก่อตั้งรัฐบาลคอมมิวนิสต์ขึ้น ในธันวาคม ปี 1947 กษัตริย์มีไฮที่ 1ถูกบังคับให้สละราชสมบัติ และสาธารณรัฐประชาชนโรมาเนียได้ก่อตั้งขึ้น.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย
สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก
รณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก (เช็กและสโลวัก: Československá socialistická republika) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ตั้งแต..
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก
สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย
รณรัฐประชาชนบัลแกเรีย (PRB; Народна република България (НРБ) Narodna republika Balgariya (NRB), People's Republic of Bulgaria) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ พ.ศ. 2489 ถึง พ.ศ.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย
สาธารณรัฐประชาชนฮังการี
รณรัฐประชาชนฮังการี (Magyar Népköztársaság), หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ฮังการี เป็นยุคหนึ่งของ ประวัติศาสตร์ฮังการี ตั้งแต่ปี 1949 ถึงปี 1989 โดยประเทศนี้เป็น สาธารณรัฐสังคมนิยม สาธารณรัฐประชาชนฮังการีถูกปกครองโดย พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี, ภายได้การหนุนหลังของ สหภาพโซเวียตRao, B.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสาธารณรัฐประชาชนฮังการี
สาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์
รณรัฐประชาชนโปแลนด์ (Polska Rzeczpospolita Ludowa People's Republic of Poland (PRP)) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ตั้งแต..
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์
สงครามเย็น
กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสงครามเย็น
อันเดรย์ เกรชโค
อันเดรย์ อันโตโนวิช เกรชโค (17 ตุลาคม [O.S. 4 ตุลาคม] 1903 – 26 เมษายน 1976) เป็นผู้บัญญาการโซเวียต, จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมโซเวียต.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและอันเดรย์ เกรชโค
อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค
อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค (Alexander Dubček; 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 1921 – 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1992) เป็นนักการเมืองชาวสโลวาเกีย เป็นอดีตผู้นำเชโกสโลวาเกีย (ค.ศ.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและอเล็กซานเดอร์ ดุปเชค
ธงชาติเช็กเกีย
งชาติเช็กเกีย (Česká vlajka) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งครึ่งตามแนวนอน โดยครึ่งบนมีสีขาว ครึ่งล่างมีสีแดง ที่ด้านคันธงมีรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วสีน้ำเงิน โดยฐานของรูปนั้นอยู่ติดกับด้านคันธง ธงนี้เดิมเป็นธงชาติของประเทศเช็กโกสโลวาเกีย แต่เมื่อมีการแยกประเทศเช็กโกสโลวาเกียเป็นสาธารณรัฐเช็ก (เช็กเกีย) และสโลวาเกียในปี พ.ศ.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและธงชาติเช็กเกีย
ประเทศแอลเบเนีย
แอลเบเนีย (Albania; Shqipëri) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแอลเบเนีย (Republic of Albania; Republika e Shqipërisë) เป็นประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ พรมแดนทางเหนือติดต่อกับมอนเตเนโกร ตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับเซอร์เบีย (คอซอวอ) ทางตะวันออกติดต่อกับมาซิโดเนีย และทางใต้ติดต่อกับกรีซ ชายฝั่งตะวันตกจรดทะเลเอเดรียติก ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลไอโอเนียน ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไต.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและประเทศแอลเบเนีย
ประเทศเชโกสโลวาเกีย
right right เชโกสโลวาเกีย เป็นอดีตประเทศในยุโรปกลาง ปัจจุบันแยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกี.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและประเทศเชโกสโลวาเกีย
ประเทศเยอรมนีตะวันออก
อรมนีตะวันออก (East Germany) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (Deutsche Demokratische Republik - DDR; German Democratic Republic - GDR) เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ดำรงอยู่ในช่วงปี 1949 ถึงปี 1990 โดยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเยอรมันที่ถูกปกครองโดยอดีตสหภาพโซเวียต หลังจากการยึดครองเยอรมนีของกองทัพโซเวียตสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีตะวันออกเป็นประเทศหนึ่งที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอ ในช่วงสงครามเย็น โดยเยอรมนีตะวันออกได้นิยามตัวเองว่าเป็นรัฐสังคมนิยม "ของคนงานและชาวนา"Patrick Major, Jonathan Osmond, The Workers' and Peasants' State: Communism and Society in East Germany Under Ulbricht 1945–71, Manchester University Press, 2002, และเขตที่ถูกยึดครอง ได้รับการปกครองโดยกองกำลังโซเวียตในตอนท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง เขตยึดครองโซเวียตตามข้อตกลงพ็อทซ์ดัมซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกติดกับแนว Oder-Neisse เขตยึดครองโซเวียตล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก แต่ไม่รวมถึง เป็นผลให้เบอร์ลินตะวันตกยังคงอยู่นอกเขตอำนาจของเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีก่อตั้งขึ้นในเขตโซเวียต ขณะที่สหพันธรัฐจัดตั้งขึ้นในสามเขตตะวันตก เยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต เจ้าหน้าที่ยึดครองโซเวียตได้เริ่มถ่ายโอนความรับผิดชอบในการบริหารให้กับผู้นำคอมมิวนิสต์เยอรมันในปี 1948 และเริ่มมีบทบาทเป็นรัฐเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 อย่างไรก็ตามกองทัพโซเวียตยังคงกำลังอยู่ในประเทศตลอดช่วงสงครามเย็น จนถึง 1989 เยอรมนีตะวันออกถูกปกครองโดยพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี แม้ว่าพรรคอื่น ๆ ในนามขององค์กรพันธมิตร National Front of Democratic Germany 29 October 1989.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและประเทศเยอรมนีตะวันออก
ปราก
รรยากาศภายในกรุงปราก ปราก (Prague) หรือ ปราฮา (Praha) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเช็กเกีย มีประชากรอาศัยประมาณ 1.2 ล้านคน เมื่อ ค.ศ.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและปราก
ปรากสปริง
อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค บุกเชโกสโลวาเกีย เหตุการณ์ปรากสปริง ปรากสปริง (Prague Spring, Pražské jaro, Pražská jar) เป็นช่วงเวลาของการเปิดเสรีทางการเมืองในเชโกสโลวาเกีย ในยุคของการปกครองของสหภาพโซเวียตหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เริ่มต้นเมื่อวันที่ 5 มกราคม..
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและปรากสปริง
เลโอนิด เบรจเนฟ
ลโอนิด อิลลิช เบรจเนฟ (Леонид Ильич Брежнев; Leonid Illyich Brezhnev; 19 ธันวาคม 2449 – 10 ธันวาคม 2525) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตและประธานาธิบดีโซเวียตคนที่ 8 ระหว่างสงครามเย็น.
ดู การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและเลโอนิด เบรจเนฟ
ดูเพิ่มเติม
กองทัพเยอรมนีตะวันออก
- การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ
การบุกครองโดยสหภาพโซเวียต
- การบุกครองหมู่เกาะคูริล
- การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ
- การบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียต
- การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956
- การรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียต
- สงครามโซเวียต–อัฟกานิสถาน
การยึดครองทางทหารของสหภาพโซเวียต
- การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ
- การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต
- การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956
- การยึดครองโรมาเนียของโซเวียต
- การรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียต
- สงครามโซเวียต–อัฟกานิสถาน
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย
- สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสหภาพโซเวียต
- กติกาสัญญาวอร์ซอ
- กระทรวงการต่างประเทศ (สหภาพโซเวียต)
- การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953
- การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ
- การปฏิวัติ ค.ศ. 1989
- การประชุมพ็อทซ์ดัม
- การประชุมเตหะราน
- การปิดกั้นเบอร์ลิน
- การผ่อนคลายความตึงเครียด
- คณะกรรมการความมั่นคงแห่งรัฐ (สหภาพโซเวียต)
- ม่านเหล็ก
- สายตรงมอสโก–วอชิงตัน
- องค์การคอมมิวนิสต์สากล
- อินเตอร์คอสมอส
- เนโท
- เราจะฝังพวกคุณ
- โคมินฟอร์ม
ประวัติศาสตร์การทหารของเยอรมนี
- การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ
สงครามตัวแทน
- การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย
- การก่อการกำเริบฮุกบาลาฮับ
- การก่อการกำเริบในทิเบต พ.ศ. 2502
- การก่อการกำเริบในลาว
- การบุกครองอ่าวหมู
- การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ
- การปฏิวัติคิวบา
- การปฏิวัติเม็กซิโก
- ความขัดแย้งภายในพม่า
- ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย
- วิกฤตการณ์เยเมน (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)
- สงครามกลางเมืองจีน
- สงครามกลางเมืองซีเรีย
- สงครามกลางเมืองลาว
- สงครามกลางเมืองลิเบีย พ.ศ. 2554
- สงครามกลางเมืองสเปน
- สงครามกลางเมืองเลบานอน
- สงครามกัมพูชา–เวียดนาม
- สงครามจีน–เวียดนาม
- สงครามดาร์ฟูร์
- สงครามตัวแทน
- สงครามประกาศอิสรภาพตุรกี
- สงครามยูกันดา-แทนซาเนีย
- สงครามยูโกสลาเวีย
- สงครามอาณานิคมโปรตุเกส
- สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง
- สงครามอิรัก
- สงครามเกาหลี
- สงครามเวียดนาม
- สงครามโซเวียต–อัฟกานิสถาน
- สงครามโอกาเดน
- สมรภูมิบ้านร่มเกล้า
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Warsaw Pact invasion of Czechoslovakiaการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายสนธิสัญญาวอร์ซอการบุกครองเชโกสโลวาเกียของสนธิสัญญาวอร์ซอ