โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553

ดัชนี วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

157 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบวรศักดิ์ อุวรรณโณชัยอนันต์ สมุทวณิชชาญชัย ลิขิตจิตถะบางกอกโพสต์ชิมไป บ่นไปชิดชัย วรรณสถิตย์บุญช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีพ.ศ. 2548พรรคชาติไทยพรรคพลังประชาชนพรรคมหาชนพรรคประชาธิปัตย์พรรคเพื่อไทยพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดชพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีพระราชกฤษฎีกาพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)พัลลภ ปิ่นมณีพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยพานทองแท้ ชินวัตรพินทองทา คุณากรวงศ์กบฏกรมสอบสวนคดีพิเศษกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ปกรณ์ จาติกวณิชกลุ่มคนเสื้อน้ำเงินกลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์กษิต ภิรมย์กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรกาชาดการบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไทย พ.ศ. 2551การชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ธันวาคม พ.ศ. 2551การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550การทุจริตทางการเมืองการขัดกันแห่งผลประโยชน์การดื้อแพ่งการตรวจพิจารณาการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยการเมืองภาคประชาชนการเมืองใหม่...การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549มรดกโลกมหาวิทยาลัยสวนดุสิตมิ่งขวัญ แสงสุวรรณยงยุทธ ติยะไพรัชระบอบทักษิณระบอบเผด็จการรัฐสภาไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549ราชวงศ์จักรีรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรถไฟฟ้าบีทีเอสลอนดอนลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์ลานพระราชวังดุสิตลูกแกะหลงทางวัชระ เพชรทองวัดพระศรีรัตนศาสดารามวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557วีระกานต์ มุสิกพงศ์ศาลฎีกาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองศาลรัฐธรรมนูญศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)ศาลปกครองสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550สภาทนายความ (ประเทศไทย)สมชาย วงศ์สวัสดิ์สมัชชาแห่งชาติไทยสมัคร สุนทรเวชสวนจตุจักรสหราชอาณาจักรสะพานชมัยมรุเชฐสะพานมัฆวานรังสรรค์สันติอโศกสำนักพระราชวังสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์สิทธิมนุษยชนสุรยุทธ์ จุลานนท์สุเทพ เทือกสุบรรณสงกรานต์สงครามกลางเมืองสนธิ บุญยรัตกลินสนธิ ลิ้มทองกุลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอสมทอหิงสาอินทัช โฮลดิ้งส์อนุพงษ์ เผ่าจินดาอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรีจังหวัดเชียงใหม่จารุวรรณ เมณฑกาจตุพร พรหมพันธุ์ทรงกิตติ จักกาบาตร์ทักษิณ ชินวัตรท้องสนามหลวงขัตติยะ สวัสดิผลณัฐวุฒิ ใสยเกื้อดินแดงดี-สเตชัน (บริษัท)ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551ประชา พรหมนอกประชาธิปไตยประวิตร วงษ์สุวรรณปราสาทพระวิหารปราโมทย์ นาครทรรพปตท.แก้วสรร อติโพธิแม่น้ำเจ้าพระยาแผนฟินแลนด์แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติเมืองพัทยาเมืองไทยรายสัปดาห์เหตุการณ์ นปช. ปะทะกับกลุ่มพันธมิตรฯ 2 กันยายน พ.ศ. 2551เหตุการณ์ชุมนุมหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550เอเอสทีวีผู้จัดการเจิมศักดิ์ ปิ่นทองเทมาเส็กโฮลดิงส์เขตธนบุรีเขตดุสิตเซ็นทรัลเวิลด์เปรม ติณสูลานนท์เนวิน ชิดชอบ10 เมษายน2 เมษายน24 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (107 มากกว่า) »

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ

ตราจารย์กิตติคุณ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ (19 ตุลาคม พ.ศ. 2497 —) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประธานกรรมการคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และบวรศักดิ์ อุวรรณโณ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยอนันต์ สมุทวณิช

ตราจารย์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อดีตประธานกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เกิดวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2487 เป็นบุตรของ พล.ต.ต.ชนะ สมุทวณิช นามสกุล "สมุทวณิช" เป็นนามสกุลพระราชทาน ในสมัยรัชกาลที่ 6 ศาสตราจารย์ ชัยอนันต์ สมุทวณิช หรือ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช สมรสกับ นางสุภาธร สมุทวณิช (สกุลเดิม สาครบุตร) มีบุตร 3 คนคือ นายพชร สมุทวณิช ผู้บริหารหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ,พลอย จริยะเวช นักเขียน นักแปล (สมรสกับ พันโทธีระ จริยะเวช กรมยุทธบริการ กองบัญชาการทหารสูงสุด) และ นายพลาย สมุทวณ.ดร.ชัยอนันต์ ไม่ใช่เด็กเรียนดีมาก่อน จบมัธยมศึกษาปีที่ 8 จากวชิราวุธวิทยาลัย ด้วยคะแนนเพียง 57.3% แต่พยายามจนสอบเข้า คณะรัฐศาสตร์ แผนกนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้สำเร็จ เรียนอยู่ 1 ปีสามารถสอบชิง ทุนโคลัมโบ ไปเรียนปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยวิกตอเรีย ประเทศนิวซีแลนด์ ต่อมาสำเร็จปริญญาโท และ ปริญญาเอกทางรัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา ในปี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และชัยอนันต์ สมุทวณิช · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย ลิขิตจิตถะ

นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ (25 เมษายน พ.ศ. 2489 - 18 มกราคม พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตผู้พิพากษาอาวุโส ชาญชัย เป็นผู้มีบทบาทในการแก้ไขวิกฤตการเมือง อันเนื่องจากการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 และกรณีคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 ที่มี พล.ต.อ.วาสนา เพิ่มลาภเป็นประธานก่อนที่จะเกิดการรัฐประหาร หลังจากที่เกษียณอายุราชแล้วได้รับแต่งตั้งเป็น ผู้พิพากษาอาวุโสศาลแพ่งธนบุรี แต่ทำงานได้เพียง 2 วันจึงได้ลาออกจากตำแหน่ง ภายหลังจากเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 เคยถูกทาบทามจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ในที่สุดทาง คป.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และชาญชัย ลิขิตจิตถะ · ดูเพิ่มเติม »

บางกอกโพสต์

งกอกโพสต์ (Bangkok Post) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ ที่ตีพิมพ์จำหน่ายในประเทศไทย ของบางกอกโพสต์ บางกอกโพสต์ ตีพิมพ์และออกจำหน่ายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดย บริษัท โพสต์พับลิชชิ่ง จำกัด ซึ่งบุคคลที่มีบทบาทสำคัญ และถือว่าเป็นผู้ให้กำเนิดหนังสือพิมพ์ฉบับนี้คือ นาวาตรีอเล็กซานเดอร์ วิลเลี่ยม แมคโดนัล นายทหารชาวอเมริกัน ที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย ในระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา เพื่อปฏิบัติการร่วมกับขบวนการเสรีไทย ทั้งนี้ ก่อนที่จะรับราชการทหารนั้น นาวาตรีแมคโดนัล มีอาชีพเป็นนักหนังสือพิมพ์มาก่อน จากนั้น จึงขายกิจการแก่นักลงทุนชาวเยอรมัน ต่อมา ลอร์ดทอมสัน ซึ่งเป็นเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ลอนดอนไทม์ และหัวอื่นๆ อีกกว่า 150 ฉบับทั่วโลก ได้เข้าซื้อหุ้นของบริษัทฯ เกือบทั้งหมด พร้อมเข้าบริหาร จนกระทั่งเดือนธันวาคม พ.ศ. 2527 คณะผู้บริหารมีมติให้นำบริษัทฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และบางกอกโพสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ชิมไป บ่นไป

ชิมไป บ่นไป เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทการทำอาหาร ซึ่งดำเนินรายการโดย สมัคร สุนทรเวช โดยออกอากาศครั้งแรกทาง ไอทีวี ต่อมา นายสมัคร ได้ยุติบทบาทจากการเป็นพิธีกร และปรับเปลี่ยนรูปแบบรายการตามเหมาะสมของเวลา ออกอากาศทาง ททบ.5 และสิ้นสุดออกอากาศเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2552 หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ไทย หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ที่เริ่มออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ. 2543 หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ที่ยุติการออกอากาศในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และชิมไป บ่นไป · ดูเพิ่มเติม »

ชิดชัย วรรณสถิตย์

ลตำรวจเอก นายกองใหญ่ ดร.ชิดชัย วรรณสถิตย์ (เกิด 13 สิงหาคม พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดอุบลราชธานี) อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี (คนที่ 1) สมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร พ้นจากตำแหน่งเนื่องจาก รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 ในอดีตได้รับราชการเป็นรองผู้บัญชาการ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และชิดชัย วรรณสถิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญ

ในพระพุทธศาสนา บุญ (ปุญฺญ; ปุณฺย) หมายถึง คุณงามความดี ความประพฤติชอบทางกายวาจาและใจ เรียกอีกอย่างว่ากุศล ในพระไตรปิฎกมักใช้คำว่า ปุญฺญ ตรงกันข้ามกับคำว่า บาป หรือ อปุญฺญ แต่ในคัมภีร์ชั้นหลังมักใช้คำว่า บาป มากกว่ากัน ในอรรถกถากล่าวถึงเผื่อแผ่บุญไว้ว่าสามารถเผื่อแผ่เพิ่มให้แก่ผู้อื่นได้โดยไม่มีประมาณ เปรียบได้กับการจุดเทียนส่งต่อไปเรื่อย ๆ คือผู้จุดก็มีความสว่างอยู่ตามเดิม และความสว่างยังเพิ่มไปอีกกว้างขวางได้.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และบุญ · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทย

รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพรรคชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังประชาชน

อาจหมายถึง.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพรรคพลังประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมหาชน

รรคมหาชน (Mahachon Party ตัวย่อ: MCP. พมช.) เป็นพรรคการเมืองไทยที่จดทะเบียนเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 โดยใช้ชื่อว่า "พรรคราษฎร" และได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อพรรคมหาชน เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 เป็นพรรคการเมืองที่มีจำนวนสมาชิกมากเป็นลำดับที่ 2 รองจากพรรคประชาธิปัตย์ มีจำนวนสมาชิกกว่า 1.18 ล้านคน.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพรรคมหาชน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเพื่อไทย

รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพรรคเพื่อไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช

นายแพทย์ พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช (เกิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และอดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ระหว่าง วันพฤหัสบดีที่ 8 — วันอังคารที่ 13 มิถุนายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

พระราชกฤษฎีกา

ระราชกฤษฎีกา คือ บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี มีศักดิ์ต่ำกว่ารัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมาย และพระราชกำหน.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพระราชกฤษฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)

ระธรรมวิสุทธิมงคล นามเดิม บัว โลหิตดี ฉายา ญาณสมฺปนฺโน หรือที่นิยมเรียกกันว่า หลวงตามหาบัว หรือ หลวงตาบัว (12 สิงหาคม พ.ศ. 2456 - 30 มกราคม พ.ศ. 2554...เป็นพระภิกษุคณะธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุดรธานี เจ้าอาวาสองค์แรกของวัดป่าบ้านตาด (วัดเกษรศีลคุณ) เป็นวิปัสสนาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย ศิษย์ของพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต ซึ่งมีโอกาสอุปฐากรับใช้หลวงปู่มั่นในช่วงปัจฉิมวัยและเป็นผู้หนึ่งที่ได้บันทึกประวัติของหลวงปู่มั่นโดยละเอียดในเวลาต่อมา หลวงตามหาบัวเป็นที่รู้จักในฐานะพระนักปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานผู้มีปฏิปทาที่มั่นคง แน่วแน่ เด็ดขาด และจริงจัง บรรดาศิษยานุศิษย์ของหลวงปู่มั่นต่างนับถือกันว่าท่านเป็นลูกศิษย์องค์หนึ่งที่มีปฏิปทาที่คล้ายคลึงกับหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต การกล่าวขวัญถึงท่านในหมู่ผู้ศรัทธามีหลายเรื่องค่อนไปในเชิงอภินิหาร เช่น การล่วงรู้วาระจิตของบุคคลอื่น การที่เศษผม เศษเล็บ และชานหมากของท่านกลายเป็นพระธาตุไปตั้งแต่ครั้งท่านยังมีชีวิตอยู่เป็นต้น หลังวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2540 หลวงตามหาบัวได้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้นทั้งในและนอกประเทศ จากการที่ท่านได้ดำเนินการทอดผ้าป่าทองคำและเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ภายใต้ชื่อ "โครงการผ้าป่าช่วยชาติ โดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน" เพื่อใช้เป็นทุนสำรองของประเทศไทย ซึ่งโครงการดังกล่าวนี้ได้ดำเนินการมาโดยตลอดในช่วงปัจฉิมวัยของท่าน อย่างไรก็ตาม ในช่วงปัจฉิมวัยนี้เองได้มีเหตุการณ์ที่ทำให้ท่านตกเป็นประเด็นวิพากษ์วิจารณ์ว่าท่านเข้ามายุ่งเกี่ยวทางการเมืองจากนักวิชาการและนักสื่อสารมวลชนจำนวนหนึ่ง เช่น ประเด็นการคัดค้านการรวมบัญชีเงินทุนสำรองของประเทศโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ประเด็นการคัดค้านการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสงฆ์ฉบับใหม่ และการเทศนาวิพากษ์วิจารณ์ทักษิณ ชินวัตร ครั้งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีช่วง พ.ศ. 2548 เป็นต้น.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) · ดูเพิ่มเติม »

พัลลภ ปิ่นมณี

ล.อ.พัลลภ ปิ่นมณี พลเอก พัลลภ ปิ่นมณี ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) อดีตรองผู้อำนวยการกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ฝ่ายการเมือง (กอ.รมน.) และที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เกิดเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2479 ที่อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีชื่อเดิมว่า อำนาจ ปิ่นมณี สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (ม.6) จากโรงเรียนอำนวยศิลป์ พระนคร แล้วเข้าศึกษาต่อโรงเรียนเตรียมนายร้อยทหารบก รุ่นที่ 14 และจบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.7 รุ่นเดียวกับ พลตรีจำลอง ศรีเมือง, พล.ต.มนูญกฤต รูปขจร, พันเอก (พิเศษ) ประจักษ์ สว่างจิตร) และโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ 49.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพัลลภ ปิ่นมณี · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

ันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, PAD) หรือเรียกว่า กลุ่มพันธมิตรกู้ชาติ หรือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ. 2548-2552 โดยเป็นการรวมตัวจากหลายองค์กรทั่วประเทศ และได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย ภายใต้จุดประสงค์ในการขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และแสดงความต้องการให้อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทนอย่างเปิดเผยBloomberg,, 19 December 2008 กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยมีแกนนำคนสำคัญ ได้แก่ สนธิ ลิ้มทองกุล และพลตรีจำลอง ศรีเมือง สัญลักษณ์หลักของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย มีการใช้สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์หลัก และมีการใส่เสื้อสีเหลืองพร้อมผ้าโพกศีรษะที่มีข้อความว่า "กู้ชาติ" และผ้าพันคอสีฟ้า และมีมือตบเป็นเครื่องมือสัญลักษณ์ ในปี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

พานทองแท้ ชินวัตร

นทองแท้ ชินวัตร ชื่อเล่น: โอ๊ค (2 ธันวาคม พ.ศ. 2522) นักธุรกิจชาวไทย บุตรชายของทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีไทย กับคุณหญิงพจมาน ดามาพงศ์ เกิดที่เมืองฮันต์สวิลล์ ในรัฐเท็กซัสของสหรัฐอเมริกา มีน้องสาวสองคน คือพินทองทา และแพทองธาร.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพานทองแท้ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

พินทองทา คุณากรวงศ์

นทองทา คุณากรวงศ์ (ชื่อเมื่อเกิด พิณทองทา ชินวัตร, ชื่อเล่น: เอม) เกิดวันที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และพินทองทา คุณากรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏ

กบฏ, ขบถ หรือ กระบถ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และกบฏ · ดูเพิ่มเติม »

กรมสอบสวนคดีพิเศษ

กรมสอบสวนคดีพิเศษแห่งราชอาณาจักรไทย (Department of Special Investigation) หรือ ดีเอสไอ (DSI) เป็นหน่วยงานของรัฐ สังกัด กระทรวงยุติธรรม เพื่อป้องกัน ปราบปราม และควบคุมอาชญากรรมที่มีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและความสัมพันธ์ระหว่างประเท.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และกรมสอบสวนคดีพิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ป

กรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ป ในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2549 ระหว่างการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สองของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ ได้ขายหุ้นที่ครอบครองอยู่ทั้งหมดในกลุ่มบริษัท ชินคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (ชินคอร์ป) ให้แก่บริษัทเทมาเส็ก โฮลดิ้งส์ (พีทีอี) จำกัด (เทมาเส็ก) หรือ กองทุนเพื่อการลงทุนของรัฐบาลสิงคโปร์ ผ่านบริษัท ซีดาร์ โฮลดิ้งส์ จำนวน 1,487,740,000 หุ้น (49.595% ของจำนวนหุ้นทั้งหมด) มูลค่าหุ้นละ 49.25 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 73,271,200,910 บาท ซึ่งเป็นการขายหุ้นที่มีมูลค่าสูงที่สุดในประเทศไทย ผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากในสังคมไท.ต.ท. ทักษิณ ชี้แจงว่า เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นจุดที่ทำให้ การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ขยายตัวออกไปในวงกว้าง ซึ่งนำไปสู่การยุบสภาผู้แทนราษฎรในที่สุด เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และกรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ป · ดูเพิ่มเติม »

กรณ์ จาติกวณิช

กรณ์ จาติกวณิช (เกิด: 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507) เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เนื่องจากรูปร่างที่สูงถึง 193 เซนติเมตร ทำให้ได้สมญานามจากสื่อมวลชนว่า "หล่อโย่ง" ซึ่งตั้งให้เข้าชุดกับอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่มีสมญานาม "หล่อใหญ่" และสมาชิกพรรครุ่นใหม่คนอื่นๆ เช่น อภิรักษ์ โกษะโยธิน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อเล็ก" และหม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล ที่ได้รับสมญานามว่า "หล่อจิ๋ว" ต้นปี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และกรณ์ จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มคนเสื้อน้ำเงิน

กลุ่มคนเสื้อน้ำเงินระหว่างปะทะกับกลุ่มคนเสื้อแดงที่พัทยา นายเนวิน ชิดชอบ สวมเสื้อสีน้ำเงินที่พัทยา จนถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้บงการกลุ่มคนเสื้อน้ำเงิน กลุ่มคนเสื้อน้ำเงิน เป็นกลุ่มคนที่สวมเสื้อสีน้ำเงินเป็นสัญลักษณ์ เป็นกลุ่มที่เคลื่อนไหวทางการเมืองในช่วงต้นปี พ.ศ. 2552 มีลักษณะการเคลื่อนไหวเป็นการต่อต้านกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) หรือ กลุ่มคนเสื้อแดง กลุ่มคนเสื้อน้ำเงิน ปรากฏบทบาทครั้งแรกที่จังหวัดบุรีรัมย์ โดยทำการสกัดกั้นการเคลื่อนไหวของกลุ่ม นป.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และกลุ่มคนเสื้อน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์

กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มคนเพื่อกดดันขับไล่ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 โดยมีแกนนำประกอบด้ว.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และกลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ · ดูเพิ่มเติม »

กษิต ภิรมย์

นายกษิต ภิรมย์ อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองนายกรัฐมนตรีเงา พรรคประชาธิปัตย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ เกิดวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2487 เป็นบุตรชายของ ศาสตราจารย์พลเรือตรีสมภพ ภิรมย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) อดีตอธิบดีกรมศิลปากร และอดีตคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยศรีปทุม กับ นางจุนเจือ ภิรมย์ (สกุลเดิม "มุสิกะภุมมะ") นายกษิตสำเร็จการศึกษา ปริญญาตรีสาขาวิเทศสัมพันธ์ (International Affairs) จาก มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ (Georgetown University) สหรัฐอเมริกา รุ่นเดียวกับประธานาธิบดี บิล คลินตัน แห่งสหรัฐอเมริกา และประธานาธิบดี กลอเรีย อาร์โรโย แห่งฟิลิปปินส์ และ ศึกษาต่อ สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations) ที่ Institute of Social Studies เนเธอร์แลนด์ ก่อนเข้ารับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ ยาวนานกว่า 30 ปี เคยดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยในหลายประเทศ โดยตำแหน่งสุดท้ายก่อนการเกษียณอายุราชการ คือ เอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา ระหว่างการรับราชการที่กระทรวงการต่างประเทศ นายกษิตได้รับการทาบทามจาก นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เพื่อนร่วมรุ่นรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ของน้องชายของนายกษิต ให้เข้าร่วมในคณะทำงานของ นายชวน หลีกภัย ขณะดำรงตำแหน่ง รมว.พาณิชย์ และ รมว.เกษตรและสหกรณ์ และมี นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นเลขานุการรัฐมนตรี โดยนายกษิตได้รับมอบหมายให้ดูแลการติดต่อกับต่างประเทศ และการต้อนรับบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในช่วงที.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และกษิต ภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร หรือ กอ.รมน. (อังกฤษ: Internal Security Operations Command) เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงานกลาง เพื่อต่อต้านภัยคุกคามที่มุ่งทำลายผลประโยชน์และความมั่นคงของชาติ มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (ผอ.รมน.) โดยตำแหน่ง.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กาชาด

100px 100px 100px ขบวนกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงนานาชาติ หรือ กาชาด (International Red Cross and Red Crescent Movement หรือ Red Cross) เป็นคำที่ใช้เรียกหน่วยงานสากลที่ประกอบด้วยอาสาสมัครจากทั่วโลกราว 97 ล้านคน ที่มีจุดประสงค์ในพิทักษ์ชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ การบรรเทาทุกข์และการรักษาพยาบาลโดยไม่เลือกชาติพันธุ์ เชื้อชาติ เพศ ความเชื่อทางศาสนา ระดับชั้นในสังคม หรือ ความคิดเห็นทางการเมือง ตราสัญลักษณ์ที่ใช้โดยหน่วยงานนี้มีด้วยกันสามตรา ซึ่งเป็นรูป “ตรากากบาทแดง” (Red Cross), “ตราเสี้ยววงเดือนแดง” (Red Crescent) และ “ตราเพชรแดง” (Red Crystal) หน่วยงานในประเทศไทย เรียก สภากาชาดไทย และใช้ตรากากบาทแดง เป็นตราสัญลักษณ.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และกาชาด · ดูเพิ่มเติม »

การบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไทย พ.ศ. 2551

กลุ่มพันธมิตรฯปักหลักชุมนุมในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ การบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไท..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไทย พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551

หตุการณ์ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551

การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไต..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 17 กันยายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ธันวาคม พ.ศ. 2551

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และ พล.ต.อ.ประชา พรหมนอก บรรยายกาศการลงมติ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ธันวาคม พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553

การสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 7-19 พฤษภาคม..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการสลายการชุมนุมที่แยกราชประสงค์ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

ร้อยละของผู้เห็นชอบต่อร่างรัฐธรรมนูญ แบ่งตามจังหวัด การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การทุจริตทางการเมือง

การทุจริตทางการเมือง (political corruption, ภาษาปากในภาษาไทยเรียกทับศัพท์ว่า "คอร์รัปชัน") คือการใช้ตำแหน่งหรืออำนาจทางราชการและการเมือง หรือในองค์กรของเอกชน เพื่อให้ได้มาซึ่งรายได้ หรือการฉ้อโกงเอาเงินสาธารณะมาเป็นของตนและพรรคพวก หรือหาประโยชน์อื่นๆ ซึ่งการทุจริตนี้อาจมิใช่เป็นตัวเงิน วิธีการที่ใช้อาจจะผิดกฎหมายหรือไม่ผิดก็ได้ แต่เป็นพฤติกรรมซึ่งสาธารณชนจะไม่พอใจหรือผิดจากจารีตประเพณีนิยม เนื่องจากเป็นการกระทำที่ขัดกับความคาดหวังของสาธารณชน เรื่องมาตรฐานจริยธรรมและพฤติกรรมที่ดีของบุคคลสาธารณะ (ข้าราชการและนักการเมืองหรือองค์กรเอกชน) คำจำกัดความส่วนหลังนี้ เขียนไว้เพื่อเปิดช่องให้มีการตีความพฤติกรรมการทุจริตที่อาจจะแตกต่างกันในแต่ละสังคม หรือแม้แต่ในสังคมเดียวกัน.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการทุจริตทางการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

การขัดกันแห่งผลประโยชน์

การขัดกันแห่งผลประโยชน์ หรือศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานว่า ผลประโยชน์ขัดกัน (conflict of interest) คือ สถานการณ์ที่บุคคลผู้ดำรงตำแหน่งอันเป็นที่ไว้วางใจ เช่น ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูงในองค์กร ผู้ประกอบวิชาชีพสาธารณสุข เป็นต้น ต้องเลือกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ในวิชาชีพ ซึ่งทำให้ตัดสินใจยากในอันที่จะปฏิบัติหน้าที่โดยปราศจากอคติได้ การขัดกันแห่งผลประโยชน์นี้สามารถเกิดขึ้นได้แม้ไม่ส่งผลทางจริยธรรมหรือความไม่เหมาะสมต่าง ๆ และสามารถทำให้ทุเลาเบาบางลงได้ด้วยการตรวจสอบโดยบุคคลภายนอก การขัดกันแห่งผลประโยชน์มิได้ปรากฏแต่ในทางวิชาชีพเท่านั้น แต่ยังอาจเกิดขึ้นได้ในกรณีที่บุคคลมีบทบาทหลากหลายและบทบาทเหล่านั้นก็เกิดขัดกันเอง เช่น ผู้จัดการฝ่ายขายอาจมีหน้าที่ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และก็อาจมีหน้าที่ในทางกตัญญูกตเวทีต่อญาติพี่น้องที่มาเสนอขายสินค้าใด ๆ เป็นต้น.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการขัดกันแห่งผลประโยชน์ · ดูเพิ่มเติม »

การดื้อแพ่ง

การดื้อแพ่ง หรือ การขัดขืนอย่างสงบ (civil disobedience) หรือ "อารยะขัดขืน" เป็นรูปแบบการต่อต้านทางการเมืองอย่างสงบเพื่อกดดันให้รัฐบาลเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางการเมืองที่เป็นอยู่ ในอดีต มีการใช้แนวทางดื้อแพ่งในการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านอังกฤษในประเทศอินเดีย ในการต่อสู้กับการแบ่งแยกสีผิวในแอฟริกาใต้ ในการเคลื่อนไหวด้านสิทธิพลเมืองของอเมริกา และในยุโรป รวมถึงประเทศแถบสแกนดิเนเวียในการต่อต้านการยึดครองของนาซี แนวคิดนี้ริเริ่มโดยเฮนรี เดวิด ธอโร นักเขียนชาวอเมริกันในบทความชื่อดื้อแพ่ง ในชื่อเดิมว่า การต่อต้านรัฐบาลพลเมือง ซึ่งแนวคิดที่ผลักดันบทความนี้ก็คือการพึ่งตนเอง และการที่บุคคลจะมีจุดยืนที่ถูกต้องเมื่อพวกเขา "ลงจากหลังของคนอื่น" นั่นคือ การต่อสู้กับรัฐบาลนั้นประชาชนไม่จำเป็นต้องต่อสู้ทางกายภาพ แต่ประชาชนจะต้องไม่ให้การสนับสนุนรัฐบาลหรือให้รัฐบาลสนับสนุนตน (ถ้าไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล) บทความนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อผู้ที่ยึดแนวทางดื้อแพ่งนี้ ในบทความนี้ทอโรอธิบายเหตุผลที่เขาไม่ยอมจ่ายภาษีเพื่อเป็นการประท้วงระบบทาสและสงครามเม็กซิกัน-อเมริกัน เพื่อที่จะแสดงออกถึงดื้อแพ่ง ผู้ขัดขืนอาจเลือกที่จะฝ่าฝืนกฎหมายใดเป็นการเฉพาะ เช่น กีดขวางทางสัญจรอย่างสงบ หรือเข้ายึดครองสถานที่อย่างผิดกฎหมาย ผู้ประท้วงกระทำการจลาจลอย่างสันติเหล่านี้ โดยคาดหวังว่าพวกตนจะถูกจับกุม หรือกระทั่งถูกทำร้ายร่างกายโดยเจ้าหน้าที.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการดื้อแพ่ง · ดูเพิ่มเติม »

การตรวจพิจารณา

การตรวจพิจารณา (censorship) คือ การระงับหรือทำลายซึ่งถ้อยคำหรือวัตถุแห่งการติดต่อสื่อสารอันได้รับการพิจารณาโดยผู้ตรวจแล้วว่า ผิดศีลธรรม ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ ไม่พึงประสงค์ เป็นอันตรายต่อความมั่นคง เป็นหัวข้ออ่อนไหว หรือสร้างความลำบากให้แก่รัฐบาลหรือองค์การสื่อสาร.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการตรวจพิจารณา · ดูเพิ่มเติม »

การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง

การประท้วงทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง เป็นเหตุการณ์ในประเทศไทยที่เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 ในช่วงปลายรัฐบาลทักษิณ 1 เมื่อมีการรวมตัวของกลุ่มคนในนาม กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ และมีการชุมนุมปราศรัยเพื่อขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง · ดูเพิ่มเติม »

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ตัวย่อ กฟผ. (Electricity Generating Authority of Thailand) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงพลังงาน มีหน้าที่ผลิตไฟฟ้าใช้ภายในประเทศไทย ในปี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การเมืองภาคประชาชน

การเมืองภาคประชาชน คือ การเคลื่อนไหวของประชาชนเพื่อกำหนดนโยบายสาธารณะโดยตรง โดยไม่ผ่านทางตัวแทนของพรรคการเมือง หรือหน่วยงานราชการ การเมืองภาคประชาชนเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการดำเนินกิจกรรมทางการเมือง ซึ่งย้ำแนวคิดที่ว่า "การเมืองไม่ใช่แค่การเลือกตั้ง" การเมืองภาคประชาชนเป็นคำจำกัดความโดย นิธิ เอียวศรีวงศ์ แบ่งพิจารณาได้ 3 แนวทางปฏิบัติ ดังนี้.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการเมืองภาคประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

การเมืองใหม่

การเมืองใหม่ เป็นแนวความคิดและเป็นคำนิยามที่นายสนธิ ลิ้มทองกุล แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและผู้ก่อตั้งสื่อในเครือผู้จัดการใช้นิยามเปรียบเทียบระหว่างการเมืองไทยในยุคปัจจุบันว่าเป็น การเมืองเก่า เพราะประชาชนไม่มีสิทธิมีเสียงในการตรวจสอบหรือถ่วงดุลอำนาจรัฐ มีสิทธิก็เพียงแค่ 4 วินาทีตอนเลือกตั้งเท่านั้น ซึ่งถือว่าเป็นระบบเลือกตั้งโดยการเลือก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นตัวแทนของประชาชนในสภา เป็นเพียงการเมืองผ่านตัวแทน ในช่วงการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 เรื่องของการเมืองใหม่ได้ถูกหยิบยกมาพูดถึงหลายต่อหลายครั้ง ซึ่งทางกลุ่มพันธมิตรฯได้เคยเสนอว่า การเมืองใหม่จะมีสัดส่วนของสมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้ง 70 % และเลือกตั้ง 30 % ดังต่อไปนี้ ซึ่งแนวคิดนี้ได้ถูกคัดค้านและวิจารณ์จากสังคมหลายภาคส่วนว่าไม่เป็นประชาธิปไตย โดยนายธีรยุทธ บุญมี อาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แสดงความเห็นเอาไว้ตอนหนึ่งว่า ต่อมา ทางกลุ่มพันธมิตรฯ ก็ได้เปลี่ยนแนวคิดใหม่เป็นสมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้ง 100 % ในวันที่ 23 กันยายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการเมืองใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้ง

การเลือกตั้งโดยการหย่อนบัตร การเลือกตั้ง (election) เป็นกระบวนการวินิจฉัยสั่งการอย่างเป็นทางการซึ่งประชาชนเลือกปัจเจกบุคคลเพื่อดำรงตำแหน่งทางการเมือง การเลือกตั้งเป็นกลไกปกติที่ใช้ในระบอบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 Encyclpoedia Britanica Online.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการเลือกตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และนายบรรหาร ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทย แถลงข่าวในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ถึงการคว่ำบาตรการเลือกตั้ง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป เมษายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มรดกโลก

ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต ในปัจจุบัน (กรกฎาคม 2560) มีมรดกโลกทั้งหมด 1073 แห่ง ใน 167 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 832 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 206 แห่ง และอีก 35 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท, UNESCO World Heritage Sites official sites.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และมรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (Suan Dusit University) จาก โรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย สู่การเป็น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เป็นสถาบันที่มีชื่อเสียงทางด้าน การศึกษาปฐมวัย คหกรรมศาสตร์ ธุรกิจบริการ ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการบิน และ " โรงเรียนกฎหมายและการเมือง ".

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และมหาวิทยาลัยสวนดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ

นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ พรรคพลังประชาชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) คนแรก และผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย คนสุดท้.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ ติยะไพรัช

ร.ยงยุทธ ติยะไพรัช อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และยงยุทธ ติยะไพรัช · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบทักษิณ

ระบอบทักษิณ (Thaksinocracy) เป็นคำที่นักวิชาการด้านสังคมศาสตร์และรัฐศาสตร์บางส่วนนิยามการปกครองประเทศไทยในสมัยที่ ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีพื้นฐานเป็นประชานิยม มีคนยากจนจำนวนมากได้ประโยชน์จากนโยบายต่าง ๆ นำไปสู่ความนิยมจนเป็นฐานเสียงในการเลือกตั้ง ทำให้ได้รับชัยชนะจากการเลือกตั้งทุกครั้ง จนสามารถบริหารประเทศได้ด้วยเสียงของพรรคเดียว บ้างก็เรียกแบบการปกครองนี้ว่า "ทักษิณาธิปไตย" "ระบบเผด็จการโดยเสียงข้างมาก" และ "ระบอบสมบูรณาญาสิทธิ์จากการเลือกตั้ง" ซึ่งบางส่วนมาจากคำจำกัดความของระบอบทักษิณ ซึ่งได้เป็นการเพิ่มความชอบธรรมให้กับการขับไล่ทักษิณ ชินวัตรให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีที่เกิดขึ้นระหว่าง..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และระบอบทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

ระบอบเผด็จการ

ระบอบเผด็จการ (Dictatorship) หมายถึง รูปแบบการปกครองแบบอัตตาธิปไตย ซึ่งรัฐบาลอยู่ภายใต้การบริหารของบุคคลเพียงคนเดียว หรือ ผู้เผด็จการ โดยไม่มีการสืบทอดตำแหน่งตามสายเลือด คำว่า เผด็จการ อาจมีได้หลายความหมายเช่น.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และระบอบเผด็จการ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาไทย

รัฐสภาแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นสภานิติบัญญัติระดับชาติของประเทศไทย เป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติอันเป็นส่วนหนึ่งของอำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทยตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้รัฐสภาประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็นการปกครองโดยใช้ระบบสองสภา โดยทั้งสองสภาจะประชุมร่วมกันหรือแยกกันแล้วแต่ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา โดยตำแหน่ง อย่างไรก็ดีตามบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 บัญญัติให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติที่ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ยังคงทำหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาต่อไป และให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติแห่งชาติสิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 102 ก ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 มี 39 มาตรา เป็นรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวที่หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ หลังจากที่ได้กระทำการรัฐประหารเป็นผลสำเร็จ เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นกฎหมายสูงสุดว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองประเทศไทยที่เป็นลายลักษณ์อักษร ฉบับที่ 16 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ปัจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้สิ้นสุดลงแล้ว ด้วยการรัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ได้ออกประกาศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549 ทั้งนี้คณะปฏิรูปฯได้ออกประกาศคงบทบัญญัติบางหมวดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2549 ไว้ภายหลัง รัฐธรรมนูญฉบั..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 18 ซึ่งจัดร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ในระหว่าง..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และรถไฟฟ้าบีทีเอส · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์

ลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์ (royalism) เป็นลัทธิที่สนับสนุนราชอาณาจักร หรือการปกครองรูปแบบใดก็ได้เพียงแต่ให้มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขแห่งรัฐ สนับสนุนผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ หรือสนับสนุนพระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบัน แต่ส่วนใหญ่แล้ว มักใช้ในกลุ่มผู้สนับสนุนพระมหากษัตริย์ซึ่งถูกล้มล้างโดยสาธารณรัฐแล้ว แนวคิดดังกล่าวมีความแตกต่างจาก ลัทธินิยมราชาธิปไตย (monarchism) ที่สนับสนุนการปกครองแบบราชาธิปไตย แต่ต่างกันที่ไม่ได้ว่าด้วยเรื่องการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ ในภาษาไทย บางทีเรียกลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์ว่า กษัตริยนิยม กษัตริย์นิยม ลัทธินิยมเจ้า กระแสนิยมเจ้าธงชัย วินิจจะกูล, 2548: ออนไลน.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

ลานพระราชวังดุสิต

ระบรมรูปทรงม้า ภาพถ่ายประมาณ สมัยรัชกาลที่ 6 พระบรมรูปทรงม้า และ ลานพระราชวังดุสิต ในปัจจุบัน ภาพน้ำท่วมเมื่อปี พ.ศ. 2485 หมุดคณะราษฎร พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตน และสวนสนาม ของทหารรักษาพระองค์ ภาพแสดงที่ตั้งของหมุดคณะราษฎร (วงกลมสีเหลือง) พระลานพระราชวังดุสิต หรือที่นิยมเรียกโดยทั่วไปว่า ลานพระบรมรูปทรงม้า เป็นลานกว้างอยู่ด้านหน้าของพระที่นั่งอนันตสมาคมและสวนอัมพร ในเขตพระราชวังดุสิต ถนนอู่ทองใน แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นที่ตั้งของพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ "พระบรมรูปทรงม้า" และหมุด 24 มิถุนายน 2475 ที่ระลึกการเปลี่ยนแปลงการปกครอง.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และลานพระราชวังดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

ลูกแกะหลงทาง

ลูกแกะหลงทาง เป็นบทความที่มาจากความคิดเห็นในเว็บไซต์ผู้จัดการในหัวข้อ จากกัลยาณมิตรถึงนายกฯทักษิณ ชินวัตร (15): ประธานวุฒิสภาต้องลาออก เปิดทางให้วุฒิสภาแก้ปัญหา ส่งเรื่องกลับศาลรัฐธรรมนูญ โดย เซี่ยงเส้าหลง ในวันที่ 5 กันยายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และลูกแกะหลงทาง · ดูเพิ่มเติม »

วัชระ เพชรทอง

นายวัชระ เพชรทอง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา และเจ้าของคอลัมน์ "วัชรทัศน์" ของ นสพ.แนวหน้า รายวัน.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และวัชระ เพชรทอง · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า วัดพระแก้ว เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นในพ.ศ. 2325 เป็นวัดในพระบรมมหาราชวังเช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ ซึ่งเป็นวัดในพระราชวังหลวงในสมัยอยุธยา และมีพระราชประสงค์ให้วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือพระแก้วมรกต พระคู่บ้านคู่เมืองของแผ่นดินสยามที่พบ ณ วัดป่าเยี้ยะ(ป่าไผ่) จังหวัดเชียงราย และเป็นสถานที่ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล วัดพระศรีรัตนศาสดารามเป็นวัดที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษาอยู่ เพราะมีแต่ส่วนพุทธาวาสไม่มีส่วนสังฆาว.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 · ดูเพิ่มเติม »

วีระกานต์ มุสิกพงศ์

วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ. 2550 และอดีตผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ทางเอ็นบีที.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และวีระกานต์ มุสิกพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลฎีกา

ัญลักษณ์ของศาลฎีกา ศาลฎีกา เป็นศาลยุติธรรมชั้นสูงสุด มีเขตอำนาจทั่วทั้งราชอาณาจักร มีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายว่าด้วยการฎีกา และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้นโดยตรงต่อศาลฎีกาไม่ต้องผ่านศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาคตามกฎหมายเฉพาะ เช่น คดีแรงงาน คดีภาษีอากร คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ คดีล้มละลายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ เป็นต้น และคดีที่กฎหมายอื่นบัญญัติให้ศาลฎีกามีอำนาจพิจารณาพิพากษา รวมทั้งมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดหรือสั่งคำร้องคำขอที่ยื่นต่อศาลฎีกาตามกฎหมาย (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23) คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลฎีกาเป็นที่สุด (พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 23).

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และศาลฎีกา · ดูเพิ่มเติม »

ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

แผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองในศาลฎีกา เป็นแผนกที่จัดตั้งขึ้นใหม่ในศาลฎีกา เกิดขึ้นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ส่วนที่ 3 มาตรา 272 โดยระบุให้มีแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองขึ้นในศาลฎีกา ให้องค์คณะผู้พิพากษาประกอบด้วย ผู้พิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎีกา จำนวน 9 คน ซึ่งได้รับเลือกโดยที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาโดยวิธีลงคะแนนลับ และให้เลือกเป็นรายคดี อำนาจหน้าที่ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง อย่างไรก็ตามในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550) ก็ยังคงแผนกนี้ไว้เช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ศาลรัฐธรรมนูญ

ลรัฐธรรมนูญ (constitutional court) เป็นศาลสูงที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ โดยมีอำนาจหลักที่จะวินิจฉัยว่า กฎหมายใดมีปัญหาเรื่องความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ เช่น ขัดกับสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้หรือไม่ ในหลาย ๆ ประเทศ ไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นเอกเทศ และศาลยุติธรรมตามธรรมดาจะรับคดีดังกล่าวเอง นอกจากนี้ ในหลาย ๆ ประเทศก็ไม่เรียกองค์กรนี้ว่า "ศาลรัฐธรรมนูญ" และบางประเทศก็เรียกศาลยุติธรรมว่า ศาลรัฐธรรมนูญ เช่น ศาลสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกาได้ชื่อว่าเป็น "ศาลรัฐธรรมนูญที่เก่าแก่ที่สุดในโลก" เพราะเป็นศาลแรกในโลกที่วินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายต่าง ๆ (คดีระหว่างมาร์บิวรีกับเมดิสัน) แม้ว่าในประเทศสหรัฐอเมริกาจะไม่จัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญเป็นการเฉพาะก็ตาม ส่วนประเทศที่สถาปนาศาลรัฐธรรมนูญอย่างเอกเทศเป็นแห่งแรกของโลกนั้น คือ ประเทศออสเตรีย ซึ่งดำเนินการใน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และศาลรัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)

ลรัฐธรรมนูญ (ย่อ: ศร.) เป็นองค์กรตุลาการที่จัดตั้งขึ้นครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 แทนคณะตุลาการรัฐธรรมนูญที่ยุบเลิกไป และมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และศาลรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ศาลปกครอง

ศาลปกครองกลางแห่งเยอรมนี (Federal Administrative Court of Germany) เป็นศาลปกครองชั้นสูงสุดในประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ ณ เมืองไลพ์ซิจ (Leipzig) ศาลปกครอง (administrative court) เป็นศาลชำนัญพิเศษด้านกฎหมายปกครอง โดยเฉพาะด้านข้อพิพาทเกี่ยวกับการใช้อำนาจรัฐ จัดตั้งขึ้นเพื่อสร้างความมั่นใจว่า ราชการเป็นไปตามกฎหมาย ศาลปกครองมักพบในประเทศทางยุโรปที่ใช้กฎหมายระบบซีวิลลอว์ บางประเทศจัดตั้งศาลปกครองขึ้นเป็นระบบต่างหากจากศาลปรกติ โดยที่แต่ละระบบไม่มีอำนาจเหนือกัน การจัดตั้งศาลปกครองลักษณะนี้มีในประเทศกรีซ ประเทศฝรั่งเศส ประเทศโปแลนด์ ประเทศฟินแลนด์ ประเทศเยอรมนี ประเทศสวีเดน และประเทศอียิปต์ สำหรับประเทศกรีซ ประเทศฝรั่งเศส และประเทศสวีเดนนั้น ศาลปกครองมีสามชั้นดังศาลทั่วไป คือ ศาลปกครองชั้นต้น ศาลปกครองชั้นอุทธรณ์ และศาลปกครองชั้นสูงสุด ส่วนในประเทศโปแลนด์และประเทศฟินแลนด์ ศาลปกครองมีสองชั้น คือ ศาลปกครองชั้นต้น กับศาลปกครองชั้นสูงสุด ในประเทศเยอรมนี ศาลปกครองมีระบบซับซ้อนทั้งยังมีความชำนาญเฉพาะเรื่องยิ่งกว่าในประเทศอื่น นอกจากนี้ เมื่อ..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และศาลปกครอง · ดูเพิ่มเติม »

สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

ร่างรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

สภาทนายความ (ประเทศไทย)

150px สภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นองค์กรผู้ประกอบวิชาชีพทางกฎหมายที่สำคัญอย่างยิ่งสถาบันหนึ่งในกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทยและนานาประเทศ มีสถานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายก่อตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติทนายความ..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสภาทนายความ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย วงศ์สวัสดิ์

มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสมชาย วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัชชาแห่งชาติไทย

มัชชาแห่งชาติของประเทศไทย (National People's Assembly of Thailand) เป็นองค์กรที่ประกอบด้วยบุคคลจากหลากหลายสาขาอาชีพ มาประชุมกันเพื่อคัดเลือกกันเองไปเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสมัชชาแห่งชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สวนจตุจักร

วนจตุจักร เป็นสวนสาธารณะสำหรับพักผ่อนหย่อนใจทางตอนเหนือของกรุงเทพฯ ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร ทิศตะวันออกจรดถนนพหลโยธิน ทิศเหนือจรดถนนวิภาวดีรังสิต ทิศตะวันตกและทิศใต้จรดถนนกำแพงเพชร 3.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสวนจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สะพานชมัยมรุเชฐ

นชมัยมรุเชฐ สะพานชมัยมรุเชฐ เป็นสะพานข้ามคลองเปรมประชากร อยู่บนถนนพิษณุโลกบริเวณแยกพาณิชยการจุดจัดกับถนนพระรามที่ 5 แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าทำเนียบรัฐบาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โรงเรียนราชวินิต มัธยม และใกล้เคียงกับวัดเบญจมบพิตร สะพานแห่งนี้สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ. 2444 โดยสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงสร้างเพื่ออุทิศถวายแด่สมเด็จพระเชษฐา 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ เนื่องในวโรกาสที่ในปีนั้น พระองค์มีพระชนมายุ 15 พรรษา และจะก้าวเข้าสู่พระชนมายุ 17 พรรษา เสมอด้วยพระเชษฐาทั้งสองพระองค์ โดยชื่อของสะพานได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า "สะพานชมัยมรุเชฐ" (ในราชกิจจานุเบกษาสะกดว่า "ชมัยมรุเชษฐ") ซึ่งหมายถึง "พี่ชายผู้เป็นเทพ 2 พระองค์" ปัจจุบัน สะพานชมัยมรุเชฐถูกต่อเติมขยายออกไปจนหมดสภาพดั้งเดิม คงเหลือเพียงป้ายโลหะชื่อสะพาน ที่ยังเป็นของเดิม.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสะพานชมัยมรุเชฐ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานมัฆวานรังสรรค์

นมัฆวานรังสรรค์ เป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่สร้างขึ้นพร้อมกับการสร้างถนนราชดำเนินนอก ซึ่งเป็นถนนขนาดใหญ่ แบบที่เรียกว่า Avenue ของทวีปยุโรป อยู่ในพื้นที่เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ผู้ออกแบบคือนายการ์โล อัลเลกรี นายช่างชาวอิตาลี สร้างตามสถาปัตยกรรมอิตาลีและสเปน ใช้เวลา 3 ปี ลักษณะเป็นสะพานโครงสร้างคานเหล็กพื้นคอนกรีต ส่วนประดับคือรางสะพานที่เป็นเหล็กหล่อและดวงตรารูปช้างเอราวัณ ที่กลางสะพานมีเสาหินอ่อน มุมสะพานรองรับโคมไฟสำริด ผนังเชิงลาดสะพานประดับด้วยหินอ่อน สะพานแห่งนี้ได้ชื่อว่าเป็นสะพานที่สวยงามสะพานหนึ่งในกรุงเทพฯ รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดเมื่อ..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสะพานมัฆวานรังสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติอโศก

ันติอโศก เป็นชุมชนของชาวอโศกอันสมณะโพธิรักษ์ก่อตั้งขึ้น และตั้งอยู่ที่เลขที่ 65/1 ซอยนวมินทร์ 46 ถนนนวมินทร์ แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสน์ วาสโน) สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ในฐานะประธานมหาเถรสมาคม ได้มีคำสั่งให้สมณะโพธิรักษ์สละสมณเพศ เนื่องจากพบว่ากระทำผิดพระธรรมวินัยอย่างต่อเนื่อง สมณะโพธิรักษ์จึงประกาศแยกตัวไม่อยู่ในอาณัติคณะสงฆ์ไทย และได้ไปตั้งชุมชนสันติอโศก ที่แขวงคลองกุ่ม เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร, ชุมชนศรีสะอโศก ที่ตำบลกระแชงใหญ่ อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ, ชุมชนศาลีอโศก ที่ตำบลโคกเดื่อ อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ และชุมชนปฐมอโศก ที่ตำบลพระประโทน อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ชุมชนทั้งสี่ดังกล่าวมีบ้าน วัด โรงเรียน เหมือนชุมชนทั่วไปของไทย สำนักสันติอโศกรับบวชบุคคลให้เป็นบรรพชิตตามระเบียบที่สมณะโพธิรักษ์ตั้งขึ้น เรีกยว่า "กฎระเบียบของชาวอโศก" ขั้นตอนการบวชของชาวอโศก หากเป็นชาย ต้องเข้าปฏิบัติธรรมที่สำนักสันติอโศก โดยเริ่มจากชั้น "ปะ" ต่อมาเป็น "นาค" จากนั้นบวชเป็น "สามเณร" และ "สมณะ" และมีการแต่งกายต่างกับภิกษุสามเณรของคณะสงฆ์ไทย ส่วนผู้หญิงเริ่มจากชั้น "ปะ" ต่อมาเป็น "กรัก" จากนั้น บวชเป็น "สิกขมาต" แต่งกายด้วยเสื้อแขนกระบอก มีผ้าสีกรักคลุมทับ เนื่องจากการบวชของชาวอโศกมิชอบด้วยกฎหมายไทย ในเดือนมิถุนายน 2532 พิศาล มูลศาสตร์สาทร ปลัดกระทรวงมหาดไทยขณะนั้น จึงสั่งให้จับกุมสมณะโพธิรักษ์และพวกทั้งหมด รวม 105 คน ในวันที่ 8 สิงหาคม 2532 พนักงานสอบสวนจับกุม แจ้งข้อหา และสอบสวนแล้ว พนักงานอัยการได้ฟ้องเป็นจำเลยจำนวน 80 คดี ศาลแขวงพระนครเหนือพิพากษาว่า จำเลยที่ 1-79 มีความผิดเกี่ยวกับศาสนา ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 208 (ไม่ใช่ภิกษุสงฆ์ บังอาจแต่งกายอย่างภิกษุสงฆ์ เพื่อล่อลวงให้คนอื่นเชื่อว่าเป็นภิกษุสงฆ์) และให้จำคุกคนละ 3 เดือน ส่วนจำเลยที่ 80 คือ สมณะโพธิรักษ์ สนับสนุนให้จำเลยที่คนอื่น ๆ กระทำผิดดังกล่าวจำนวน 33 กระทง พิพากษาลงโทษจำคุกเรียงกระทง กระทงละ 2 เดือน รวมเป็นจำคุก 66 เดือน ศาลอุทธรณ์ยกฟ้องจำเลยบางคน และศาลฎีกาพิพากษายืน โดยศาลฎีกาวินิจฉัยเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2541 ว่า "จำเลยที่ 80 ได้บวชเป็นพระภิกษุในฝ่ายธรรมยุตนิก...แล...ได้สวดญัตติเข้าเป็นพระภิกษุในฝ่ายมหานิกาย แสดงว่า จำเลยที่ 80 ได้ยอมรับที่จะปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคณะสง..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสันติอโศก · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพระราชวัง

ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสำนักพระราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (National Office of Buddhism) เป็นส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี เป็นหน่วยงานที่ไม่สังกัดกระทรวง ทบวงใด จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 มีภารกิจเกี่ยวกับการดำเนินงานสนองงานคณะสงฆ์และรัฐโดยการทำนุบำรุง ส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา ให้การอุปถัมภ์ คุ้มครองและส่งเสริมพัฒนางานพระพุทธศาสนา ดูแล รักษา จัดการศาสนาสมบัติ พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งให้การสนับสนุนส่งเสริม พัฒนาบุคลากรทางศาสน.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ ก.ล.ต. เป็นองค์กรของรัฐที่ทำหน้าที่กำกับดูแลและพัฒนาตลาดทุนไทยให้เป็นแหล่งระดมทุนและแหล่งลงทุนที่มีประสิทธิภาพของทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิมนุษยชน

ทธิมนุษยชน (human rights) เป็นหลักทางศีลธรรมหรือจารีตJames Nickel, with assistance from Thomas Pogge, M.B.E. Smith, and Leif Wenar, December 13, 2013, Stanford Encyclopedia of Philosophy,, Retrieved August 14, 2014ซึ่งอธิบายมาตรฐานตายตัวของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองสม่ำเสมอเป็นสิทธิทางกฎหมายในกฎหมายท้องถิ่นและกฎหมายระหว่างประเทศ ปกติเข้าใจว่าเป็นสิทธิพื้นฐานที่ไม่โอนให้กันได้ "ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเพียงเพราะผู้นั้นเป็นมนุษย์" และซึ่ง "มีอยู่ในมนุษย์ทุกคน"Burns H. Weston, March 20, 2014, Encyclopedia Britannica,, Retrieved August 14, 2014 โดยไม่คำนึงถึงชาติ สถานที่ ภาษา ศาสนา ชาติพันธุ์กำเนิดหรือสถานภาพอื่นใด สิทธิมนุษยชนใช้ได้ทุกที่ทุกเวลาในแง่ที่เป็นสากล และสมภาคในแง่ที่เหมือนกับสำหรับทุกคนThe United Nations, Office of the High Commissioner of Human Rights,, Retrieved August 14, 2014 สิทธิดังกล่าวต้องการความร่วมรู้สึกและหลักนิติธรรมGary J. Bass (book reviewer), Samuel Moyn (author of book being reviewed), October 20, 2010, The New Republic,, Retrieved August 14, 2014 และกำหนดพันธะต่อบุคคลให้เคารพสิทธิมนุษยชนของผู้อื่น สิทธิดังกล่าวไม่ควรถูกพรากไปยกเว้นอันเป็นผลของกระบวนการทางกฎหมายที่ยึดพฤติการณ์แวดล้อมจำเพาะ ตัวอย่างเช่น สิทธิมนุษยชนอาจรวมเสรีภาพจากการจำคุกโดยมิชอบด้วยกฎหมาย การทรมานและการประหารชีวิตMerriam-Webster dictionary,, Retrieved August 14, 2014, "rights (as freedom from unlawful imprisonment, torture, and execution) regarded as belonging fundamentally to all persons" ลัทธิสิทธิมนุษยชนมีอิทธิพลสูงในกฎหมายระหว่างประเทศ สถาบันโลกและภูมิภาค การกระทำของรัฐและองค์การนอกภาครัฐก่อพื้นฐานของนโยบายสาธารณะทั่วโลก แนวคิดสิทธิมนุษยชนเสนอว่า "หากวจนิพนธ์สาธารณะสังคมโลกยามสงบสามารถกล่าวเป็นภาษาศีลธรรมร่วมได้ สิ่งนั้นคือสิทธิมนุษยชน" การอ้างอย่างหนักแน่นโดยลัทธิสิทธิมนุษยชนยังกระตุ้นกังขาคติและการอภิปรายเกี่ยวกับเนื้อหา สภาพและการให้เหตุผลว่าชอบด้วยกฎหมายซึ่งสิทธิมนุษยชนตราบจนทุกวันนี้ ความหมายแน่ชัดของคำว่า "สิทธิ" นั้นมีการโต้เถียงและเป็นหัวข้อการอภิปรายทางปรัชญาต่อไป ขณะที่มีการเห็นพ้องต้องกันว่าสิทธิมนุษยชนครอบคลุมสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาคดีด้วยความเป็นธรรม การคุ้มครองจากการเป็นทาส การห้ามพันธุฆาต เสรีภาพในการพูดMacmillan Dictionary,, Retrieved August 14, 2014, "the rights that everyone should have in a society, including the right to express opinions about the government or to have protection from harm"หรือเสรีภาพที่จะได้รับการศึกษา แต่ยังเห็นไม่ลงรอยกันเกี่ยวกับว่าสิทธิใดบ้างต่อไปนี้ควรรวมอยู่ในกรอบทั่วไปของสิทธิมนุษยชน นักคิดบางคนเสนอว่าสิทธิมนุษยชนควรเป็นข้อกำหนดพื้นฐานเพื่อเลี่ยงการละเมิดที่ร้ายแรงที่สุด ขณะที่บางคนมองว่าเป็นมาตรฐานขั้นสูง ความคิดพื้นฐานดังกล่าวจำนวนมากซึ่งขับเคลื่อนขบวนการสิทธิมนุษยชนพัฒนาขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สองและความเหี้ยมโหดของฮอโลคอสต์ จนลงเอยด้วยสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติมีมติเห็นชอบปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนในกรุงปารีสในปี 2491 คนโบราณไม่มีแนวคิดสิทธิมนุษยชนสากลสมัยใหม่แบบเดียวกัน การบุกเบิกวจนิพนธ์สิทธิมนุษยชนอย่างแท้จริงนั้นคือมโนทัศน์สิทธิธรรมชาติซึ่งปรากฏเป็นส่วนหนึ่งของประเพณีกฎหมายธรรมชาติยุคกลางซึ่งโดดเด่นขึ้นระหว่างยุคภูมิธรรมยุโรปโดยมีนักปรัชญาอย่างจอห์น ล็อก, ฟรานซิส ฮัตชิสัน (Francis Hutcheson) และฌ็อง-ฌัก บือลามาคี (Jean-Jacques Burlamaqui) และซึ่งมีการเสนออย่างโดดเด่นในวจนิพันธ์การเมืองของการปฏิวัติอเมริกาและการปฏิวัติฝรั่งเศส จากรากฐานนี้ การให้เหตุผลสิทธิมนุษยชนสมัยใหม่กำเนิดขึ้นในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 อาจเป็นปฏิกิริยาต่อความเป็นทาส การทรมาน พันธุฆาตและอาชญากรรมสงคราม โดยความตระหนักถึงความเปราะบางของมนุษย์ในตัวและเป็นเงื่อนไขก่อนความเป็นไปได้ของสังคมยุติธรรม.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสิทธิมนุษยชน · ดูเพิ่มเติม »

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสุรยุทธ์ จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ เทือกสุบรรณ

ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส. ซึ่งดำเนินการประท้วงเพื่อพยายามโค่นรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในห้วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 เขาเรียกร้องให้ตั้ง "สภาประชาชน" ซึ่งมิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อปฏิรูปประเทศก่อนเลือกตั้ง เขาเคยเรียกร้องเพื่อให้เขาสวมบทบาทเป็น "องค์อธิปัตย์" เพื่อออกกฎบัตร ตั้งรัฐบาลใหม่ และตั้งสภาประชาชน และจะประท้วงต่อหากรัฐบาลใหม่ไม่สามารถนำการปฏิรูปที่ กปป.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสุเทพ เทือกสุบรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สงกรานต์

ำหรับ สงกรานต์ ความหมายอื่น ดูที่: สงกรานต์ (แก้ความกำกวม) สงกรานต์ (សង្រ្កាន្ត; သင်္ကြန်; ສົງການ; 泼水节) เป็นประเพณีของประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไทแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย สันนิษฐานว่า สงกรานต์ได้รับอิทธิพลมาจากเทศกาลโฮลี (होली) ในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน เริ่มในทุกวันแรม 1 ค่ำเดือน 4 คือ ในเดือนมีนาคม สงกรานต์เป็นคำสันสกฤต หมายถึง "การเคลื่อนย้าย" ซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี คือการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สงกรานต์สืบทอดมาแต่โบราณคู่กับตรุษ จึงเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึง ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เดิมวันที่จัดเทศกาลกำหนดโดยการคำนวณทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันระบุแน่นอนว่า 13 ถึง 15 เมษายน วันขึ้นปีใหม่ไทยเป็นวันเริ่มปีปฏิทินของไทยจนถึง..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสงกรานต์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมือง

งครามกลางเมือง (civil war) เป็นสงครามภายในกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม, สัญชาติ หรือสังคมแบบเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อแย่งชิงอำนาจหรือดินแดน สงครามกลางเมืองอาจนับเป็นการปฏิวัติ (Revolution) ได้ในกรณีที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมครั้งใหญ่ภายในสังคมนั้นหลังจากสิ้นสุดสงคราม นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มยังได้นับรวมเอาการจลาจล (Insurgency) เป็นสงครามกลางเมืองประเภทหนึ่งด้วยถ้ามีการสู้รบระหว่างกองทัพอย่างเต็มรูปแบบ ปัจจุบันความแตกต่างระหว่าง "สงครามกลางเมือง", "การปฏิวัติ" และ "การจลาจล" นั้นไม่ชัดเจนนัก ขึ้นอยู่กับบริบทในการใช้งาน สงครามกลางเมืองที่สำคัญ.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสงครามกลางเมือง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และหัวหน้าพรรคมาตุภูมิ อดีตรองผู้อำนวยการเสริมสร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสนธิ บุญยรัตกลิน · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ ลิ้มทองกุล

นธิ ลิ้มทองกุล (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 —) เป็น ประธานที่ปรึกษาสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้ก่อตั้งและเจ้าของหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ ผู้ดำเนินรายการกลางแจ้ง เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ที่ปรึกษาสำนักพิมพ์ซุปเปอร์บันเทิง อดีตผู้ดำเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ ทางช่อง 9 อสมท. และอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ เดิมเขาเคยเป็นผู้สนับสนุนอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร อย่างแข็งขัน แต่ต่อมาเป็นผู้นำขบวนการต่อต้านทักษิณ ช่วงต้น..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และสนธิ ลิ้มทองกุล · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อสมท

ริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) (MCOT Public Company Limited; ชื่อย่อ: บมจ.อสมท, MCOT PCL.) เป็นรัฐวิสาหกิจในรูปบริษัทมหาชนจำกัด และเป็นกิจการสื่อสารมวลชน ภายใต้การกำกับของรัฐบาลไทย โดยสำนักนายกรัฐมนตรี ประกอบธุรกิจสื่อสารมวลชน อันประกอบด้วย กิจการวิทยุโทรทัศน์ แพร่ภาพออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง จากสถานีแม่ข่ายในกรุงเทพมหานคร ไปยังสถานีเครือข่ายในภูมิภาค 53 สถานี มีพื้นที่ให้บริการครอบคลุมเกือบทั่วประเทศไทย กิจการวิทยุกระจายเสียง ส่งกระจายเสียงด้วยระบบเอฟเอ็ม ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค จำนวน 53 สถานี และในระบบเอเอ็ม ในส่วนกลาง 2 สถานี สำนักข่าวไทย ดำเนินการผลิต รวบรวม จัดเก็บ และวิเคราะห์ข่าวสาร ทั้งทางสื่อโทรทัศน์ และวิทยุกระจายเสียง รวมไปถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยที่ทำการส่วนกลางในปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 63/1 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และอสมท · ดูเพิ่มเติม »

อหิงสา

อหิงสา หรือ อหึงสา (अहिंसा) หมายถึง การไม่เบียดเบียน, การเว้นจากการทำร้าย คำว่า "อหิงสา" ยังหมายถึง การไม่ใช้ความรุนแรง และในศาสนาแบบอินเดียหลายศาสนา มโนทัศน์ดังกล่าวใช้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิดรวมทั้งสัตว์Bajpai, Shiva (2011).

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และอหิงสา · ดูเพิ่มเติม »

อินทัช โฮลดิ้งส์

ริษัท อินทัช โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) (Intouch Holdings) เป็นบริษัทโฮลดิ้งสัญชาติไทย ก่อตั้งเมื่อ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และอินทัช โฮลดิ้งส์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุพงษ์ เผ่าจินดา

ลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา (ชื่อเล่น: ป็อก, เกิด 10 ตุลาคม 2492) สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยคนปัจจุบัน และรองประธานคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานกรรมการคณะกรรมการกำกับการทวงถามหนี้ ประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทยhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/104/1.PDF ผู้บัญชาการกองอาสารักษาดินแดน ประธานการประชุมคณะกรรมการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน สภานายกพิเศษแห่งสภาวิศวกร และอดีตผู้บัญชาการทหารบก.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และอนุพงษ์ เผ่าจินดา · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เป็นอนุสาวรีย์ในกรุงเทพมหานคร โดยรอบเป็นวงเวียนอยู่กึ่งกลางระหว่างถนนพหลโยธิน ถนนราชวิถี และถนนพญาไท ตั้งอยู่ที่กิโลเมตรที่ 5.0 ถนนพหลโยธิน โดยที่ กม.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่กึ่งกลางวงเวียนระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย การก่อสร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเริ่มขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 ในสมัยจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเป็นผลงานการออกแบบของหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล อันเป็นแบบที่ชนะการประกวดการออกแบบอนุสาวรีย์แห่งนี้ การออกแบบได้นำสถาปัตยกรรมแบบไทยมาผสมผสาน ตรงกลางเป็นสมุดไทยที่สื่อถึงรัฐธรรมนูญประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า นอกจากการเป็นสัญลักษณ์เพื่อระลึกถึงประชาธิปไตยนั้น อนุสาวรีย์แห่งนี้ ยังเป็นหลักกิโลเมตรที่ศูนย์ของกรุงเทพมหานครและประเทศไทยอีกด้วย อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยได้ใช้เป็นพื้นที่สำคัญของการชุมนุมทางการเมืองหลายครั้ง อาทิ การชุมนุมของประชาชนและนักศึกษาใน เหตุการณ์ 14 ตุลา, การชุมนุมของประชาชนในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553, การชุมนุมคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ พ.ศ. 2556 เป็นต้น.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร คือ ผู้นำของกลุ่มที่ไม่ได้เป็นรัฐบาล มีหน้าที่สำคัญคือการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล เรียกพรรคที่ทำหน้าที่นี้ว่า กลุ่มฝ่ายค้านหรือพรรคฝ่ายค้าน หากมีหลายพรรคเรียกว่าพรรคร่วมฝ่ายค้าน.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และจังหวัดชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จารุวรรณ เมณฑกา

ณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา (ชื่อเล่น: เป็ด; เกิด 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) เป็นสมาชิกคริสตจักรวัฒนา อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน และอดีตคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (คตส.) จารุวรรณได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินเมื่อเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และจารุวรรณ เมณฑกา · ดูเพิ่มเติม »

จตุพร พรหมพันธุ์

ตุพร พรหมพันธุ์ เป็นประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และจตุพร พรหมพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทรงกิตติ จักกาบาตร์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทรงกิตติ จักกาบาตร์ (22 ธันวาคม พ.ศ. 2493 —) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด เคยดำรงตำแหน่งเป็นเสนาธิการทหารบกและแม่ทัพภาคที่ 4.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และทรงกิตติ จักกาบาตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ท้องสนามหลวง

ท้องสนามหลวง ท้องสนามหลวง หรือ สนามหลวง เป็นสนามขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ด้านหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 74 ไร่ 63 ตารางวา ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 94 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และท้องสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ขัตติยะ สวัสดิผล

ลตรี ขัตติยะ สวัสดิผล หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ.แดง (2 มิถุนายน พ.ศ. 2494 — 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) เป็นทหารบกชาวไทย เริ่มเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปเมื่อมีคดีความการรื้อบาร์เบียร์ย่านซอยสุขุมวิท 10 และถูก พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ฟ้องเรียกค่าเสียหายที่กล่าวหาว่า พล.ต.อ.สันต์ มีพฤติกรรมในการใช้อำนาจโดยมิชอบและละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งทุจริตการจัดซื้อ-จัดจ้าง การทำสำนวนคดีรื้อถอนบาร์เบียร์ที่มีพฤติการณ์ช่วยเหลือนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ และเป็นผู้มีส่วนร่วมในการอุ้มนายชูวิทย์จากโรงแรมดิเอมเมอรัลด์ รัชดาภิเษก จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเขียนหนังสือ คม....แดง ขึ้น อันเป็นหนังสืออัตชีวประวัติและรวบรวมความคิดคำพูดของ พล.ต.ขัตติยะ เอง.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และขัตติยะ สวัสดิผล · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ

ณัฐวุฒิ (คนขวา) บนรถปราศรัยของ นปก. ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย, แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.), อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์, อดีตผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์พีทีวี, อดีตผู้ดำเนินรายการความจริงวันนี้, อดีตรองโฆษกพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดง

นแดง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และดินแดง · ดูเพิ่มเติม »

ดี-สเตชัน (บริษัท)

ริษัท ดี-สเตชัน จำกัด เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจสื่อสารมวลชน ประเภทสถานีโทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียม ภายใต้ชื่อ สถานีประชาธิปไตย (19 มกราคม-13 เมษายน พ.ศ. 2552) และ สถานีประชาชน (19 พฤษภาคม พ.ศ. 2552-19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ก่อตั้งโดย รศ.พิเศษ ดร.อดิศร เพียงเกษ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ด้วยทุนประเดิมจำนวน 5,000,000 บาท.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และดี-สเตชัน (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย

วามผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยอยู่ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 บัญญัติไว้ว่า "ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปีถึง 15 ปี" ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยเป็นความผิดต่อความมั่นคงของรัฐ คนไทยหรือคนต่างด้าวไม่ว่ากระทำในหรือนอกราชอาณาจักรก็ต้องรับโทษ ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับเรื่อยมามีข้อที่กล่าวว่า "องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้" ในประมวลกฎหมายไม่มีนิยามว่าพฤติการณ์แบบใดเข้าข่าย "หมิ่นประมาท" หรือ "ดูหมิ่น" ลักษณะการกระทำความผิดมีหลากหลาย แล้วแต่ศาลจะพิเคราะห์เจตนา เช่น ปราศรัยในที่สาธารณะ ส่งสารสั้น โพสต์รูปภาพ เผยแพร่เอกสารหรือวีดิทัศน์ ละเมิดพระบรมฉายาลักษณ์ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีข้อโต้แย้งว่า ความผิดต่อองคมนตรีเข้าข่ายความผิดนี้หรือไม่ อนึ่ง ในปี 2556 ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า คำว่า "พระมหากษัตริย์" ยังหมายความรวมถึง พระมหากษัตริย์ในอดีตด้วย ธานินทร์ กรัยวิเชียร อดีตนายกรัฐมนตรี ยังตีความว่า กฎหมายห้ามครอบคลุมถึงการวิจารณ์โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สถาบันพระมหากษัตริย์ ราชวงศ์จักรีและพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ไม่เคยฟ้องร้องเป็นการส่วนพระองค์ ผู้ถูกตั้งข้อหามักไม่ได้รับอนุญาตให้ประกันตัว และถูกคุมขังในเรือนจำหลายเดือนก่อนมีการไต่สวนในชั้นศาล องค์การนิรโทษกรรมสากลถือว่านักโทษตามความผิดนี้เป็นนักโทษการเมือง มีบุคคลส่วนหนึ่งเลือกเดินทางออกนอกประเทศเพื่อมิให้ถูกดำเนินคดี และยังมีผู้ต้องหาและผู้ต้องขังตามความผิดดังกล่าวฆ่าตัวตายหรือเสียชีวิตระหว่างถูกคุมขัง สิทธิศักดิ์ วนะชกิจ โฆษกศาลยุติธรรม มีความเห็นเกี่ยวกับผู้ต้องขังในคดีทำนองนี้ว่า "...บุคคลที่เจนโลกโชกโชน สันดานเป็นโจรผู้ร้าย มีเจตนาทำร้ายสังคม สถาบันหลักของประเทศชาติ และองค์พระประมุขอันเป็นที่เคารพสักการ...ไม่มีใครอยากให้คนเช่นนี้ลอยนวลอยู่ในสังคมเพื่อสร้างความเสียหายต่อเนื่องหรือแก่ผู้อื่นอีก..." และแสดงความเห็นว่า "…ถ้าคดีใดอัยการโจทก์สามารถนำสืบพิสูจน์จนให้ศาลเห็นและเชื่อได้ว่า จำเลยมีเจตนาชั่วร้...จำเลยในคดีนั้นก็สมควรที่จะได้รับโทษานุโทษตามความเหมาะสมแก่พฤติการณ์แห่งคดี..." โดยที่ศาลมิต้องยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้จำเลย หลังรัฐประหารเมื่อปี 2549 มีการพิจารณาความผิดดังกล่าวมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ปัจจุบัน ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 เป็นกฎหมายว่าด้วยการหมิ่นประมาทราชวงศ์ซึ่งระวางโทษรุนแรงที่สุดในโลก และถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า "โหดร้ายป่าเถื่อน" บ่อนทำลายกฎหมายไทย ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองและทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์ บางฝ่ายออกมาเรียกร้องให้มีการแก้ไขหรือยกเลิกกฎหมายนี้ ส่วนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสว่า สามารถวิจารณ์พระองค์ได้และไม่เคยตรัสให้เอาผู้วิจารณ์เข้าคุก.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552

วามไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย)

ณะกรรมการการเลือกตั้ง (Election Commission of Thailand) หรือย่อว่า กกต. (ECT) เป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีหน้าที่หลักเป็นผู้ควบคุมและดำเนินการจัดหรือจัดให้มีการเลือกตั้งหรือการสรรหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณี รวมทั้งการออกเสียงประชามติ ให้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม คณะกรรมการการเลือกตั้งมีสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นสำนักงานเลขานุการ.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และคณะกรรมการการเลือกตั้ง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ

ณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ (ชื่อย่อ คตส.) เป็นคณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน ในเรื่องที่ได้กระทำการให้รัฐเสียหายเฉพาะรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรเท่านั้น ตั้งขึ้นตาม ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 30 ลงวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และคณะกรรมการตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ

ณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ ชื่อย่อ คม. (Council of National Security - CNS) เป็นคณะบุคคลที่แปรสภาพมาจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งได้กระทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศไทยสำเร็จเมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54

ันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น)นายกรัฐมนตรีคนที่ 23หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2548) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56

รัฐบาลพลเรือน ที่ตั้งขึ้นภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 57 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 18 กันยายน พ.ศ. 2551) นายสมัคร สุนทรเวช เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 57 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 58 (24 กันยายน พ.ศ. 2551 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีสมชาย (ครม.สมชาย 1) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59

ณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 (20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554) มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ คณะรัฐมนตรีไทย คณะนี้ เป็นคณะที่ ประกาศใช้ พระราชกำหนดบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 · ดูเพิ่มเติม »

คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คป. เป็นคณะบุคคล อันประกอบด้วย กลุ่มทหาร ตำรวจ และ พลเรือน ซึ่งมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลินเป็นหัวหน้า ได้เข้ายึดอำนาจการปกครองราชอาณาจักรไทยไว้ได้ เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 มีที่ตั้ง ณ กองบัญชาการกองทัพบก ถนนราชดำเนินนอก เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข · ดูเพิ่มเติม »

คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549

ียุบพรรคการเมืองเนื่องจากการเลือกตั้ง 2 เมษายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551

ียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551 เป็นคดีที่เป็นคดีที่พรรคชาติไทย พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคพลังประชาชน (2 ใบแดง) ถูกฟ้องเป็นจำเลยอันเนื่องมาจากกรณีทุจริตการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2550ส่วนข้อกล่าวหากรณีที่พรรคพลังประชาชนเป็นนอมินีหรือตัวแทนของพรรคไทยรักไทยซึ่งได้ถูกตัดสินให้ยุบพรรคไปแล้วเมื่อ..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

ประชา พรหมนอก

ลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก อดีตรองนายกรัฐมนตรี(ฝ่ายความมั่นคง) และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน เป็นนายตำรวจมือปราบมีฉายาว่า "อินทรีอีสาน" เนื่องจากเป็นชาวจังหวัดนครราชสีมา เป็นทั้งอธิบดีกรมตำรวจคนสุดท้ายและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติคนแรก เนื่องจากมีตำแหน่งสูงสุดในช่วงที่ปรับเปลี่ยนสถานะของกรมตำรวจเป็นสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และประชา พรหมนอก · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประวิตร วงษ์สุวรรณ

ลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ (เกิด 11 สิงหาคม พ.ศ. 2488) เป็นรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคงและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมตั้งแต่ปี 2557 รองหัวหน้าและประธานคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตผู้บัญชาการทหารบก.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และประวิตร วงษ์สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทพระวิหาร

ปราสาทพระวิหาร (ប្រាសាទព្រះវិហារ บฺราสาทพฺระวิหาร; Temple of Preah Vihear) เป็นปราสาทหินตามแบบศาสนาฮินดูที่ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก (ភ្នំដងរែក ภฺนํฎงแรก; "ภูเขาไม้คาน") สูงจากระดับทะเลปานกลาง 657 เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม เขาพระวิหาร (ភ្នំព្រះវិហារ ภฺนํพฺระวิหาร) อยู่ใกล้อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเคยเป็นทางขึ้นสู่ปราสาทที่สะดวกที่สุด ปราสาทพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสาทขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวปราสาทเป็นเวลานานแล้ว ใน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และปราสาทพระวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

ปราโมทย์ นาครทรรพ

ตราจารย์ ปราโมทย์ นาครทรรพ นักวิชาการอิสระ ที่ปรึกษาพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ผู้อ้างแผนฟินแลนด์ (ปฏิญญาฟินแลนด์) และอดีตเลขาธิการพรรคพลังใหม่ เมื่อปี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และปราโมทย์ นาครทรรพ · ดูเพิ่มเติม »

ปตท.

ริษัท ปตท.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และปตท. · ดูเพิ่มเติม »

แก้วสรร อติโพธิ

นายแก้วสรร อติโพธิ สมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร เกิดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2494 ที่จังหวัดลำพูน นายแก้วสรรเป็นพี่น้องฝาแฝดกับ นายขวัญสรวง อติโพธิ บิดาคือ นาย ศิริ อติโพธิ อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม, ประธาน ปปป.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และแก้วสรร อติโพธิ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

แผนฟินแลนด์

แผนฟินแลนด์ หรือ ยุทธศาสตร์ฟินแลนด์ หรือ ปฏิญญาฟินแลนด์ เป็นทฤษฎีสมคบคิดที่ได้รับการกล่าวถึงเป็นครั้งแรกโดยปราโมทย์ นาครทรรพ ทางหนังสือพิมพ์ผู้จัดการและเว็บไซต์ผู้จัดการออนไลน์ ซึ่งสนธิ ลิ้มทองกุลและกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยนำมาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักในวงกว้าง ในบทความของปราโมทย์ นาครทรรพ ระบุว่า แผนนี้ถือกำเนิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และแผนฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองพัทยา

มืองพัทยา เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษแห่งหนึ่งในจำนวนสองแห่งของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี มีระดับเทียบเท่าเทศบาลนคร จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัท..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และเมืองพัทยา · ดูเพิ่มเติม »

เมืองไทยรายสัปดาห์

ื้อเหลืองของ เมืองไทยรายสัปดาห์ รายการเมืองไทยรายสัปดาห์ เมื่อครั้งออกอากาศทางช่อง 9 เมืองไทยรายสัปดาห์ เป็นรายการวิเคราะห์ประเด็นข่าวรอบสัปดาห์ ดำเนินรายการโดยนายสนธิ ลิ้มทองกุล และนางสาวสโรชา พรอุดมศักดิ์ เริ่มออกอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2546 ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ทีวี ต่อมา กลางเดือนกันยายน พ.ศ. 2548 ได้ถูกระงับจากทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ด้วยเหตุผลที่ว่า ผู้ดำเนินรายการได้วิจารณ์รัฐบาล โดยโยงไปถึงสถาบันเบื้องสูง โดยผู้ผลิตได้เปลี่ยนชื่อรายการเป็น เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร และได้เปลี่ยนชื่อรายการอีกครั้ง เป็น เมืองไทยรายสัปดาห์ คอนเสิร์ตการเมือง ซึ่งเป็นการจัดรายการนอกสถานที่ มีการถ่ายทอดสดทางสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ASTV NEWS1 และผ่านทางอินเทอร์เน็ต.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และเมืองไทยรายสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ นปช. ปะทะกับกลุ่มพันธมิตรฯ 2 กันยายน พ.ศ. 2551

หตุการณ์ นปก.ปะทะกับกลุ่มพันธมิตรฯ 2 กันยายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และเหตุการณ์ นปช. ปะทะกับกลุ่มพันธมิตรฯ 2 กันยายน พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ชุมนุมหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

การปะทะกันของทั้ง 2 ฝ่าย เหตุการณ์ชุมนุมหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ เกิดขึ้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดยแกนนำกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (นปก.) 15 คน และกลุ่มผู้ชุมนุม จำนวน 20,000 คน เคลื่อนขบวนจากท้องสนามหลวง ไปปิดล้อมบริเวณหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ บ้านพักรับรองสำหรับผู้บัญชาการระดับสูงของกองทัพบกไทย ซึ่ง พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ ใช้พักอาศัยในกรุงเทพมหานคร เพื่อกดดันให้ลาออกจากตำแหน่งประธานองคมนตรี เนื่องจากกลุ่มผู้ชุมนุมเชื่อว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการรัฐประหารในประเทศไทย เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ระหว่างเส้นทางการเคลื่อนขบวน มีเจ้าหน้าที่ตำรวจตั้งด่านสกัดในหลายจุด โดยใช้แผงเหล็กวางกั้น และจอดรถบรรทุกของกรุงเทพมหานครขวางถนน แต่กลุ่มผู้ชุมนุมก็ฝ่าผ่านไปได้ เมื่อขบวนเคลื่อนไปถึงหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ แกนนำ นปก.ใช้เครื่องขยายเสียงขนาดใหญ่บนรถบรรทุก ปราศรัยโจมตีผู้เกี่ยวข้องกับการทำรัฐประหารทั้งหมด ในขณะที่ผู้ชุมนุมกำลังอยู่ระหว่างพักรับประทานอาหาร เจ้าหน้าที่ตำรวจพยายามฝ่าฝูงชนเข้าไปจับตัวแกนนำ แต่ไม่สำเร็จ และถูกกลุ่มผู้ชุมนุมผลักดัน จนต้องล่าถอยออกไป สักครู่ใหญ่ เจ้าหน้าที่ตำรวจกลับมาอีกครั้ง พร้อมสเปรย์พริกไทย เพื่อเปิดทางเข้าไปจับตัวแกนนำบนรถปราศรัย แต่ก็ถูกผู้ชุมนุมผลักดันออกไปได้อีกครั้ง ซึ่งเจ้าหน้าที่ตำรวจล่าถอยไปได้ไม่นาน ก็กลับมาพร้อมกับการยิงแก๊สน้ำตา จนทำให้กลุ่มผู้ชุมนุมแตกฮือ แต่ถึงกระนั้นก็ยังไม่สามารถสลายกลุ่มผู้ชุมนุมได้ จนเจ้าหน้าที่ตำรวจต้องล่าถอยออกไปอีก และกลับมาระดมยิงแก๊สน้ำตาอีกชุดใหญ่ พร้อมกับเสริมกำลังเข้ามามากขึ้น ทำให้สถานการณ์ตึงเครียด เพราะมีการตอบโต้จากฝ่ายผู้ชุมนุม หลายคนหยิบฉวยอะไรได้ ก็นำขึ้นมาใช้ตอบโต้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจ ไม่ว่าจะเป็นท่อนไม้ คันธง ขวดน้ำ อิฐตัวหนอนปูถนน แผงเหล็กกั้น และอุปกรณ์อื่นๆ รวมถึงการขับรถพุ่งเข้าชนโดยภายหลังจับกุมตัวได้ ทราบชื่อคือนายนพรุจ วรชิตวุฒิกุล แกนนำกลุ่มพิราบขาว 2006 เมื่อไม่สามารถต้านทานกำลังของเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ระดมกันมาได้ แกนนำจึงพากลุ่มผู้ชุมนุมถอยออกจากหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ เพื่อกลับไปยังท้องสนามหลวงตามเดิม ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนี้ ทำให้มีผู้บาดเจ็บ ทั้งในส่วนของผู้ชุมนุม และเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงแม้จะไม่มีผู้สูญเสียชีวิตหรืออวัยวะจากการสลายการชุมนุม แต่เหตุการณ์ดังกล่าว ก็ได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินต่างๆ ในบริเวณโดยรอบที่ชุมนุม อาทิ ป้อมยามตำรวจ, ร้านค้าสมาคมแม่บ้านทหารบก และมูลนิธิพระดาบส ที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง ต่อมาในวันรุ่งขึ้น (23 กรกฎาคม) เจ้าหน้าที่ตำรวจได้ตั้งข้อหาซ่องสุมเกินกว่า 10 คน ต่อแกนนำ นปก.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และเหตุการณ์ชุมนุมหน้าบ้านสี่เสาเทเวศร์ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

เอเอสทีวีผู้จัดการ

ผู้จัดการ 360° เป็นหนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันภาษาไทย ในเครือผู้จัดการ วางแผง(วันจันทร์-วันเสาร์)โดยฉบับ(วันเสาร์จะควบวันอาทิตย์) วางจำหน่ายฉบับปฐมฤกษ์ (ในชื่อเอเอสทีวีผู้จัดการ) เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และเอเอสทีวีผู้จัดการ · ดูเพิ่มเติม »

เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง

รองศาสตราจารย์ เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง อาจารย์พิเศษประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, นักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน์ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาต.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง · ดูเพิ่มเติม »

เทมาเส็กโฮลดิงส์

ริษัทเทมาเส็กโฮลดิงส์ (Temasek Holdings) เป็นกองทุนเพื่อการลงทุนของรัฐบาลสิงคโปร์ ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1975 มีกระทรวงพาณิชย์ของสิงคโปร์เป็นผู้ถือหุ้นรายเดียว บริษัททำการลงทุนในกิจการจำนวนมากของสิงคโปร์ เริ่มแรกในกิจการต่อเรือและการผลิต ปัจจุบันเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในบริษัทใหญ่อย่าง ธนาคารดีบีเอส สิงคโปร์ สิงคโปร์ เทเลคอมมูนิเคชั่นส์ (สิงค์เทล) และกิจการอื่น ๆ อีกมาก ทั้งในสิงคโปร์และต่างประเทศ รวมถึงถือหุ้นในบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) รัฐบาลสิงคโปร์มีบริษัทลงทุนอีกแห่ง คือ Government of Singapore Investment Corporation (GIC) ซึ่งทำการลงทุนเงินสำรองระหว่างประเทศเป็นหลัก.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และเทมาเส็กโฮลดิงส์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตธนบุรี

ตธนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และเขตธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

เซ็นทรัลเวิลด์

ซ็นทรัลเวิลด์ เดิมชื่อ เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ เป็นโครงการศูนย์การค้า โรงแรม และอาคารสำนักงาน ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกราชประสงค์ ถนนราชดำริ ตัดกับถนนพระรามที่ 1 และถนนเพลินจิต เป็นศูนย์การค้าครบวงจรที่มีพื้นที่รวมใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในประเทศไทย รองจากศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต จังหวัดนนทบุรี และมีพื้นที่ขายมากเป็นอันดับสามของโลก นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ชั้น 1 มากเป็นอันดับสามของโลก รองจากท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ และหอคอยอบราจ อัล เบท ประเทศซาอุดีอาระเบี.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และเซ็นทรัลเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และเปรม ติณสูลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เนวิน ชิดชอบ

นวิน ชิดชอบ ปัจจุบันเป็นประธานบริหารสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด อดีตเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐมนตรีหลายสมัย และเคยเป็นหนึ่งในบุคคลใกล้ชิดคนสำคัญของอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเป็นบุคคลสำคัญ ที่ทำให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี..

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และเนวิน ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และ10 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

2 เมษายน

วันที่ 2 เมษายน เป็นวันที่ 92 ของปี (วันที่ 93 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 273 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และ2 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

24 กุมภาพันธ์

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 55 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 310 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553และ24 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Thailand political crisis 2005-2006วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2549วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2550วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2551วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2552วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2553วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2554วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2554วิกฤตการเมือง พ.ศ. 2548-2549

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »