สารบัญ
7 ความสัมพันธ์: การทุจริตทางการเมืองสินบนอคติผู้บริหารจริยธรรมนักการเมืองแพทย์
- การทุจริตทางการเมือง
- ปรัชญาวิทยาศาสตร์
การทุจริตทางการเมือง
การทุจริตทางการเมือง (political corruption, ภาษาปากในภาษาไทยเรียกทับศัพท์ว่า "คอร์รัปชัน") คือการใช้ตำแหน่งหรืออำนาจทางราชการและการเมือง หรือในองค์กรของเอกชน เพื่อให้ได้มาซึ่งรายได้ หรือการฉ้อโกงเอาเงินสาธารณะมาเป็นของตนและพรรคพวก หรือหาประโยชน์อื่นๆ ซึ่งการทุจริตนี้อาจมิใช่เป็นตัวเงิน วิธีการที่ใช้อาจจะผิดกฎหมายหรือไม่ผิดก็ได้ แต่เป็นพฤติกรรมซึ่งสาธารณชนจะไม่พอใจหรือผิดจากจารีตประเพณีนิยม เนื่องจากเป็นการกระทำที่ขัดกับความคาดหวังของสาธารณชน เรื่องมาตรฐานจริยธรรมและพฤติกรรมที่ดีของบุคคลสาธารณะ (ข้าราชการและนักการเมืองหรือองค์กรเอกชน) คำจำกัดความส่วนหลังนี้ เขียนไว้เพื่อเปิดช่องให้มีการตีความพฤติกรรมการทุจริตที่อาจจะแตกต่างกันในแต่ละสังคม หรือแม้แต่ในสังคมเดียวกัน.
ดู การขัดกันแห่งผลประโยชน์และการทุจริตทางการเมือง
สินบน
นบน สามารถหมายถึง.
ดู การขัดกันแห่งผลประโยชน์และสินบน
อคติ
อคติ แปลว่า ไม่ควรถึง หมายถึงไม่ควรประพฤติ ในศาสนาพุทธที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดาใช้ในความหมายว่าลำเอียง มี 4 คือ ฉันทาคติ โทสาคติ ภยาคติ โมหาคติ เป็นธรรมของผู้เป็นผู้ใหญ่ควรยึดถือ ส่วนผู้ปฏิบัติธรรมสามารถใช้ในการพิจารณาสรรพสิ่ง ว่าเราเห็นผิดวิปลาสจากความเป็นจริงของสิ่งทั้งปวง เป็นเพราะอคติทั้ง 4 ต่อสิ่งทั้งปวง หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ หมวดหมู่:อคติ.
ดู การขัดกันแห่งผลประโยชน์และอคติ
ผู้บริหาร
ผู้บริหาร (executive) มี 3 แบบด้วยกันคือ ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง และผู้บริหารระดับล่าง.
ดู การขัดกันแห่งผลประโยชน์และผู้บริหาร
จริยธรรม
ริยธรรม หรือ จริยศาสตร์ เป็นหนึ่งในวิชาหลักของวิชาปรัชญา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความดีงามทางสังคมมนุษย์ จำแนกแยกแยะว่าสิ่งไหนถูกและสิ่งไหนผิด หากจะอธิบายอย่างง่ายๆ แล้ว จริยธรรม หมายถึง การแยกสิ่งถูกจากผิด ดีจากเลว มาจากคำ 2 คำคือ จริย กับธรรม ซึ่งแปลตามศัพท์ คือ จริยะ แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ คำว่า ธรรม แปลว่า คุณความดี คำสั่งสอนในศาสนา หลักปฏิบัติในทางศาสนา ความจริง ความยุติธรรม ความถูกต้อง กฎเกณฑ์ เมื่อเอาคำ จริยะ มาต่อกับคำว่า ธรรม เป็นจริยธรรม แปลเอาความหมายว่า กฎเกณฑ์แห่งความประพฤติ หรือหลักความจริงที่เป็นแนวทางแห่งความประพฤติปฏิบัติ ความหมายตามพจนานุกรมในภาษาไทย จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติ ศีลธรรมอันดี ตามธรรมเนียมยุโรป อาจเรียก จริยธรรมว่า Moral philosophy (หลักจริยธรรม) จริยธรรม น.
ดู การขัดกันแห่งผลประโยชน์และจริยธรรม
นักการเมือง
นักการเมือง, ผู้นำทางการเมืองหรือบุคคลทางการเมือง (อังกฤษ: politician มาจากภาษากรีกโบราณ polis ที่แปลว่า "เมือง") เป็นบุคคลผู้เกี่ยวข้องกับการมีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะและการวินิจฉัยสั่งการ ซึ่งรวมผู้ดำรงตำแหน่งวินิจฉัยสั่งการในรัฐบาล และผู้ที่มุ่งดำรงตำแหน่งเหล่านั้น ไม่ว่าด้วยวิธีการเลือกตั้ง การสืบทอด รัฐประหาร การแต่งตั้ง การพิชิต หรือวิธีอื่น การเมืองไม่ใช่จำกัดอยู่เพียงวิธีการปกครองผ่านตำแหน่งสาธารณะเท่านั้น ตำแหน่งทางการเมืองอาจถืออยู่ในบรรษัทก็ได้.
ดู การขัดกันแห่งผลประโยชน์และนักการเมือง
แพทย์
แพทย์ (physician, doctor) หรือภาษาพูดว่า "หมอ" ในบางพื้นที่ตามชนบท อาจเรียกแพทย์ว่า "หมอใหญ่" เพื่อกันสับสนกับพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่อื่นในทางด้านสาธารณสุข แพทย์มีหน้าที่ ซักถามประวัติ ตรวจร่างกาย และส่งตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม เพื่อสั่งการรักษาหรือให้การรักษาโรค ส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพ ให้แก่ผู้ป่วย ร่วมกับบุคลากรด้านสุขภาพอื่น.
ดู การขัดกันแห่งผลประโยชน์และแพทย์
ดูเพิ่มเติม
การทุจริตทางการเมือง
- การขัดกันแห่งผลประโยชน์
- การทุจริต
- การทุจริตทางการเมือง
- ซูฮาร์โต
- ภาระรับผิดชอบ
- สำนักงานกรรมการกลาง 39 แห่งพรรคแรงงานเกาหลี
- โจราธิปไตย
ปรัชญาวิทยาศาสตร์
- การขัดกันแห่งผลประโยชน์
- การลองผิดลองถูก
- การสังเกต
- ความสามารถในการทำซ้ำ
- ความเห็นพ้องทางวิทยาศาสตร์
- ชุมชนนักวิทยาศาสตร์
- ทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบเบย์
- นิรันดร
- มีม
- ระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์
- วิศวกรรมศาสตร์
- สมมติฐาน
- หลักฐานโดยเรื่องเล่า
- อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
- เหตุภาพ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Conflict of interestการขัดกันของผลประโยชน์ผลประโยชน์ทับซ้อนผลประโยชน์ขัดกัน