โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เมืองไทยรายสัปดาห์

ดัชนี เมืองไทยรายสัปดาห์

ื้อเหลืองของ เมืองไทยรายสัปดาห์ รายการเมืองไทยรายสัปดาห์ เมื่อครั้งออกอากาศทางช่อง 9 เมืองไทยรายสัปดาห์ เป็นรายการวิเคราะห์ประเด็นข่าวรอบสัปดาห์ ดำเนินรายการโดยนายสนธิ ลิ้มทองกุล และนางสาวสโรชา พรอุดมศักดิ์ เริ่มออกอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2546 ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ทีวี ต่อมา กลางเดือนกันยายน พ.ศ. 2548 ได้ถูกระงับจากทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ด้วยเหตุผลที่ว่า ผู้ดำเนินรายการได้วิจารณ์รัฐบาล โดยโยงไปถึงสถาบันเบื้องสูง โดยผู้ผลิตได้เปลี่ยนชื่อรายการเป็น เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร และได้เปลี่ยนชื่อรายการอีกครั้ง เป็น เมืองไทยรายสัปดาห์ คอนเสิร์ตการเมือง ซึ่งเป็นการจัดรายการนอกสถานที่ มีการถ่ายทอดสดทางสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ASTV NEWS1 และผ่านทางอินเทอร์เน็ต.

33 ความสัมพันธ์: ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีบ้านเจ้าพระยาพ.ศ. 2546พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2551กรมประชาสัมพันธ์การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551การุณ ใสงามการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สวนลุมพินีสุรยุทธ์ จุลานนท์สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยสนธิ ลิ้มทองกุลสโรชา พรอุดมศักดิ์อสมทอัญชะลี ไพรีรักอินเทอร์เน็ตทักษิณ ชินวัตรคำนูณ สิทธิสมานคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขปานเทพ พัวพงษ์พันธ์นิวส์วัน (เอเอสทีวี)เสรี วงษ์มณฑาเอเอสทีวีเอเอสทีวีผู้จัดการเจิมศักดิ์ ปิ่นทองเครื่องรับวิทยุ23 พฤษภาคม4 กรกฎาคม4 เมษายน9 กันยายน

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

บ้านเจ้าพระยา

อาคารอนุรักษ์ บ้านเจ้าพระยา บ้านเจ้าพระยา หรือ วังพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าคำรบ ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ติดกับสวนสันติชัยปราการ เป็นอาคารเก่าแก่สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอาคารอนุรักษ์จากกรมศิลปากร.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และบ้านเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

กรมประชาสัมพันธ์

กรมประชาสัมพันธ์ เป็นหน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลไทย ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เสริมสร้างความเข้าใจ ระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน และระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกัน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่โน้มน้าวชักจูงประชาชน ให้ร่วมมือกับรัฐบาล และหน่วยงานราชการ.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และกรมประชาสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551

การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไต..

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การุณ ใสงาม

การุณ ใสงาม ขณะกำลังอภิปรายในที่ประชุมวุฒิสภา นายการุณ ใสงาม นักการเมืองอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดบุรีรัมย์ อดีต..

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และการุณ ใสงาม · ดูเพิ่มเติม »

การประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง

การประท้วงทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง เป็นเหตุการณ์ในประเทศไทยที่เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2547 ในช่วงปลายรัฐบาลทักษิณ 1 เมื่อมีการรวมตัวของกลุ่มคนในนาม กลุ่มประชาชนเพื่อชาติและราชบัลลังก์ และมีการชุมนุมปราศรัยเพื่อขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และการประท้วงขับทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่ง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สวนลุมพินี

วนลุมพินี หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า สวนลุม เป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และสวนลุมพินี · ดูเพิ่มเติม »

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และสุรยุทธ์ จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย

นีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: เอ็นบีที; อังกฤษ: The National Broadcasting Services of Thailand) เป็นหน่วยงานสถานีวิทยุโทรทัศน์ของรัฐบาล มีสถานะเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติของประเทศไทย สังกัดกรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือ กอบศักดิ์ ภูตระกูล) และปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือ นางพัชราภรณ์ อินทรียงค์) เป็นผู้กำกับดูแล โดยมีการเปลี่ยนชื่อ พร้อมปรับปรุงระบบการบริหารงาน และรูปแบบของสถานีฯ เพื่อให้สมเจตนารมณ์ของการก่อตั้งสถานีฯ ตั้งแต่วันอังคารที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2551 เวลา 06.00 น. เป็นต้นไปในวันที่ใช้ชื่อเอ็นบีที และได้เปลี่ยนอัตลักษณ์ใหม่ของสถานีฯ ที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ ลิ้มทองกุล

นธิ ลิ้มทองกุล (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 —) เป็น ประธานที่ปรึกษาสำนักพิมพ์บ้านพระอาทิตย์ นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน ผู้ก่อตั้งและเจ้าของหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ ผู้ดำเนินรายการกลางแจ้ง เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ที่ปรึกษาสำนักพิมพ์ซุปเปอร์บันเทิง อดีตผู้ดำเนินรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ ทางช่อง 9 อสมท. และอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ เดิมเขาเคยเป็นผู้สนับสนุนอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร อย่างแข็งขัน แต่ต่อมาเป็นผู้นำขบวนการต่อต้านทักษิณ ช่วงต้น..

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และสนธิ ลิ้มทองกุล · ดูเพิ่มเติม »

สโรชา พรอุดมศักดิ์

ณะจัดรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ที่สวนลุมพินี สโรชา พรอุดมศักดิ์ มีชื่อเล่นว่า "แอ้ม" ผู้ประกาศข่าว และ พิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และสโรชา พรอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อสมท

ริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) (MCOT Public Company Limited; ชื่อย่อ: บมจ.อสมท, MCOT PCL.) เป็นรัฐวิสาหกิจในรูปบริษัทมหาชนจำกัด และเป็นกิจการสื่อสารมวลชน ภายใต้การกำกับของรัฐบาลไทย โดยสำนักนายกรัฐมนตรี ประกอบธุรกิจสื่อสารมวลชน อันประกอบด้วย กิจการวิทยุโทรทัศน์ แพร่ภาพออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง จากสถานีแม่ข่ายในกรุงเทพมหานคร ไปยังสถานีเครือข่ายในภูมิภาค 53 สถานี มีพื้นที่ให้บริการครอบคลุมเกือบทั่วประเทศไทย กิจการวิทยุกระจายเสียง ส่งกระจายเสียงด้วยระบบเอฟเอ็ม ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค จำนวน 53 สถานี และในระบบเอเอ็ม ในส่วนกลาง 2 สถานี สำนักข่าวไทย ดำเนินการผลิต รวบรวม จัดเก็บ และวิเคราะห์ข่าวสาร ทั้งทางสื่อโทรทัศน์ และวิทยุกระจายเสียง รวมไปถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยที่ทำการส่วนกลางในปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 63/1 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และอสมท · ดูเพิ่มเติม »

อัญชะลี ไพรีรัก

อัญชะลี ไพรีรัก อัญชะลี ไพรีรัก เดิมชื่อ อัญชลี ไพรีรัก ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตัวเป็น "อัญชะลี" เมื่อ..

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และอัญชะลี ไพรีรัก · ดูเพิ่มเติม »

อินเทอร์เน็ต

วิถีการจัดเส้นทางผ่านส่วนหนึ่งของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลาย ๆ ทาง อาทิ อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และอินเทอร์เน็ต · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

คำนูณ สิทธิสมาน

ำนูณ สิทธิสมาน คำนูณ สิทธิสมาน (เกิด 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2498) สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยในระหว่างที่เรียนมีบทบาทเป็นเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (ศนท.) ในปี..

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และคำนูณ สิทธิสมาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คป. เป็นคณะบุคคล อันประกอบด้วย กลุ่มทหาร ตำรวจ และ พลเรือน ซึ่งมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลินเป็นหัวหน้า ได้เข้ายึดอำนาจการปกครองราชอาณาจักรไทยไว้ได้ เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 มีที่ตั้ง ณ กองบัญชาการกองทัพบก ถนนราชดำเนินนอก เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข · ดูเพิ่มเติม »

ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ผู้จัดรายการ "ยามเฝ้าแผ่นดิน" และคอลัมนิสต์ หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ เกิดวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2513 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ นายเจริญ และนางสุจิตรา พัวพงษ์พันธ์ บิดาเป็นคนไทยเชื้อสายจีนไหหลำ และมารดาเป็นคนไทยเชื้อสายจีนแต้จิ๋ว นามสกุล "พัวพงษ์พันธ์" ตั้งให้สอดคล้องกับแซ่ "พัว" ของตระกูลนั่นเอง นายปานเทพเป็นศิษย์เก่าโรงเรียนอัสสัมชัญ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และระดับปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขา การเงินการจัดการ จากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา และเป็นสมาชิกเครือข่ายสันติอโศกโดยมีถูกวางบทบาทในด้านสุขภาพ การเมือง และอื่นๆ เมื่อกลับมาเมืองไทยได้เข้าทำงานกับองค์กรภาคเอกชน โดยเข้าไปเป็นผู้บริหารดูด้านการเงิน และการก่อสร้างอยู่ช่วงหนึ่ง ก่อนที่ประเทศไทยจะประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจ เมื่อปี พ.ศ. 2540 ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ เข้าสู่วงการเมือง โดยมีผู้แนะนำให้รู้จักกับ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ในปี พ.ศ. 2541 โดยเข้าไปช่วยงานในพรรคความหวังใหม่ ขณะที่มีอายุ 28 ปี กระทั่งได้เป็นกรรมการบริหารพรรค เคยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น..บัญชีรายชื่อของพรรคความหวังใหม่ และมีตำแหน่งสุดท้ายเป็นรองโฆษกพรรคความหวังใหม่ ในปี พ.ศ. 2544 ก่อนที่จะไปดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการองค์การฟอกหนัง ด้วยวัย 31 ปี ซึ่งถือว่าเป็นผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ ที่อายุน้อยที่สุดในประเทศไทย เมื่อ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรี พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ได้ยุบพรรคความหวังใหม่ รวมกับพรรคไทยรักไทย นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ได้เป็นทีมที่ปรึกษาเศรษฐกิจในช่วง รัฐบาลทักษิณ 1 โดยเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจภาคใต้ ก่อนที่จะถอนตัวในเวลาต่อมาด้วยความเห็นที่ไม่ตรงกัน และหลังจากนั้นยืนอยู่ฝั่งตรงข้ามกับรัฐบาลทักษิณมาโดยตลอด โดยชื่อของ ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ โด่งดังอีกครั้ง เมื่อออกหนังสือชื่อ "บันทึกลับ ๒๕๔o" โดยมีเนื้อหาชี้แจงถึงปัญหาเศรษฐกิจในช่วงที่ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นนายกรัฐมนตรี ที่ถูกโจมตีว่าเป็นผู้ก่อให้เกิดวิกฤต ปานเทพ พัวพงษ์พันธุ์ ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรัฐบาลมาโดยตลอด เช่น การเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์สยามรัฐชื่อ " วิสัยทัศน์เศรษฐกิจ " รวมทั้งถึงเคยจัดรายการโทรทัศน์ทาง UBC ช่อง 7 ร่วมกับดุสิต ศิริวรรณ ด้วยอยู่ช่วงหนึ่ง ในชื่อรายการ " โต๊ะข่าวเช้านี้ " ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2548 ปานเทพ ก็ได้เข้าไปทำงานในเครือผู้จัดการ ของสนธิ ลิ้มทองกุล และได้ทำรายการใน ASTV คือ "ยามเฝ้าแผ่นดิน" ในช่วงเวลา 20:30น.-21:30น.ทุกวันจันทร์ ถึง ศุกร์ และเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์ผู้จัดการด้วย ซึ่งยังทำมาจนปัจจุบัน ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2549 ปานเทพ พัวพงษ์พันธุ์ ทำหน้าที่เป็นโฆษกบนเวที และในการขับไล่ รัฐบาลสมชาย วงศ์สวั..

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

นิวส์วัน (เอเอสทีวี)

นิวส์วัน (ชื่อเดิม เอเอสทีวี) เป็นสถานีข่าว 24 ชั่วโมงแห่งที่สองของประเทศไทย (แห่งแรกของประเทศไทยคือ เนชั่น แชนแนล) เดิมมีชื่อว่า 11NEWS1 ดำเนินการโดย บริษัท ไทยเดย์ดอตคอม จำกัด โดยเดิมออกอากาศทางยูบีซี 9 ปัจจุบันแพร่ภาพออกอากาศทางดาวเทียม เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมที่มีบริษัท เอเชียไทม์ออนไลน์ จำกัด เขตปกครองพิเศษฮ่องกง เป็นเจ้าของ บริษัท ผู้จัดการ 360 จำกัด ประเทศไท.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และนิวส์วัน (เอเอสทีวี) · ดูเพิ่มเติม »

เสรี วงษ์มณฑา

รองศาสตราจารย์ เสรี วงษ์มณฑา (เกิด: 14 มีนาคม พ.ศ. 2492 ที่: อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก) เป็นนักวิชาการด้านสื่อสารมวลชนและการตลาด เป็นหนึ่งในกลุ่มนักวิชาการที่ต่อต้าน.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร และเข้าร่วมขับไล่ออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และเป็นผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์รายการ เกาที่คัน ร่วมกับ รณชาติ บุตรแสนคม ทุกวันศุกร์ 21:00–22:00 น. และ รายการคลายปม ร่วมกับ ร. ดร.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และเสรี วงษ์มณฑา · ดูเพิ่มเติม »

เอเอสทีวี

อเอสทีวี (Asia Sattelite TV) เริ่มต้นเมื่อปลายปี..

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และเอเอสทีวี · ดูเพิ่มเติม »

เอเอสทีวีผู้จัดการ

ผู้จัดการ 360° เป็นหนังสือพิมพ์ธุรกิจรายวันภาษาไทย ในเครือผู้จัดการ วางแผง(วันจันทร์-วันเสาร์)โดยฉบับ(วันเสาร์จะควบวันอาทิตย์) วางจำหน่ายฉบับปฐมฤกษ์ (ในชื่อเอเอสทีวีผู้จัดการ) เมื่อวันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และเอเอสทีวีผู้จัดการ · ดูเพิ่มเติม »

เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง

รองศาสตราจารย์ เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง อาจารย์พิเศษประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, นักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน์ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาต.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องรับวิทยุ

รื่องรับวิทยุรุ่นเก่า เครื่องรับวิทยุ เป็นเครื่องมือสื่อสารทางเดียวชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่รับและเลือกคลื่นวิทยุจากสายอากาศ แล้วนำไปสู่ภาคขยายต่อไป โดยมีช่วงความถี่ของคลื่นที่กว้าง แล้วแต่ประเภทของการใช้งาน โดยทั่วไป คำว่า "เครื่องวิทยุ" มักจะใช้เรียกเครื่องรับสัญญาณความถี่กระจายเสียง เพื่อส่งข่าวสาร และความบันเทิง โดยมีย่านความถี่หลักๆ คือ คลื่นสั้น คลื่นกลาง และคลื่นยาว.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และเครื่องรับวิทยุ · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤษภาคม

วันที่ 23 พฤษภาคม เป็นวันที่ 143 ของปี (วันที่ 144 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 222 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และ23 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และ4 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กันยายน

วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เมืองไทยรายสัปดาห์และ9 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายการเมืองไทยรายสัปดาห์เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »