สารบัญ
97 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระมหาธรรมราชาที่ 1พระมะเหลเถไถพระมาลัยคำหลวงพระยาตรังพระราชพิธีสิบสองเดือนพระสุนทรโวหาร (ภู่)พระอภัยมณีพระไชยสุริยาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์พิกุลทองกฤษณาสอนน้องคำฉันท์กาพย์มหาชาติกาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวานและงานนักขัตฤกษ์กากีกลอนสุภาพมหาชาติคำหลวงมหาเวสสันดรชาดกมัทนะพาธามณีพิชัยยุขันราชาธิราชรามเกียรติ์รำพันพิลาปลักษณวงศ์ลิลิตพระลอลิลิตยวนพ่ายลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตนิทราชาคริตลิลิตโองการแช่งน้ำวรรณกรรมวรรณคดีวิวาห์พระสมุทรศรีปราชญ์สมบัติอมรินทร์คำกลอนสมุทรโฆษคำฉันท์สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมสวัสดิรักษาสังข์ทองสามก๊กสามัคคีเภทคำฉันท์... ขยายดัชนี (47 มากกว่า) »
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระมหาธรรมราชาที่ 1
ระมหาธรรมราชาที่ 1 หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาราชาธิราช, พระบาทกมรเตงอัญฦๅไทยราช, พระยาลือไทย หรือ พระยาลิไทย (ครองราชย์ พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมะเหลเถไถ
ระมะเหลเถไถ เป็นกลอนบทละครที่ประพันธ์โดยคุณสุวรรณ ที่ประพันธ์ขึ้นตามจินตนาการและแต่งขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 มีความแปลกที่แต่งขึ้นเป็นภาษาบ้าง ไม่เป็นภาษาบ้างปะปนกันไปแต่ต้นจนปลาย แต่ใครอ่านก็เข้าใจความได้ตลอดเรื่อง ถูกกล่าวหาในสมัยนั้นว่าแต่งเมื่อ “เสียจริต” หรือ “มีสติฟุ้งซ่านผิดปกติ” เป็นเรื่องแปลกในวงการกวียุคนั้น ส่วนใหญ่วางถ้อยคำที่ไม่เป็นภาษาไว้ใน 3 คำท้ายวรรคทุกวรรค กระบวนการแต่งกลอนบทละครก็ดำเนินไปตามธรรมเนียมการแต่งตามแบบฉบับของบทละคร มีการระบุชื่อเพลงที่ใช้ในการขับร้อง ขึ้นกลอนด้วยคำว่า “เมื่อนั้น” “บัดนั้น” “มาจะกล่าวบทไป” มีบทสระสรงแต่งองค์ทรงเครื่องของตัวละคร มีบทพรรณนาธรรมชาติ มีบทเกี้ยวพาราสี บทชมนาง เป็นต้น เนื้อเรื่องกล่าวถึง พระมะเหลเถไถ โอรส ท้าวโปลากะปาหงัน และ นางตาลากะปาลัน แห่งเมืองกะโปลา เมื่อพระมเหลเถไถประพาสป่าพระอินทร์อุ้มสมจนได้นางตะแลงแกง พระธิดา ท้าวมะไล เป็นชายา ขณะที่เดินทางกลับ เกิดรบชิงนางกับเจ้ายักษ์มาลาก๋อย ผลงานนี้สร้างชื่อเสียงแก่คุณสุวรรณเป็นอย่างมาก จนทำให้เป็นที่รู้จักทั้งในหมู่หญิงชาววังและชนชั้นสูงทั่วไป โดยบทละครทั้งพระมะเหลเถไถและอุณรุทร้อยเรื่อง ได้รับการตีพิมพ์ในสมุดที่เรียกว่า เรื่องพระมะเหลเถไถเรื่อง 1 กับอุณรุทร้อยเรื่อง บทละครเรื่องนี้ยังเป็นวรรณกรรมที่วิพากษ์งานวรรณกรรมด้วยกันด้วย โดยล้อเลียนวรรณคดีแบบฉบับโดยเฉพาะบทละครใน เป็นที่สังเกตว่า คุณสุวรรณเลือกใช้คำที่ไม่มีความหมายในภาษาไทยมาใส่ในบทละครเป็นจำนวนมาก แต่ผู้อ่านยังสามารถเข้าใจเนื้อเรื่องจากบริบทแวดล้อมได้ การวิพากษ์ในส่วนนี้ คือ การใช้ภาษาชวามลายูในบทพระราชนิพนธ์เรื่องอิเหนา เนื่องจากบทประพันธ์เรื่องนี้ รัชกาลที่ 2 ทรงสรรคำและปรับคำจากภาษาชวามลายูมาใช้ในบทละครเป็นจำนวนมาก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ นิราชพระมเหลเถไถ เพื่อล้อบทละครเรื่องนี้.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระมะเหลเถไถ
พระมาลัยคำหลวง
พระมาลัยคำหลวง เป็นวรรณคดีที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา ทรงพระนิพนธ์โดยเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ เมื่อปี พ.ศ. 2280 ทำนองเช่นเดียวกับกาพย์มหาชาติ กล่าว คือ แต่งด้วยร่ายสุภาพ บางแห่งมีลักษณะคล้ายกาพย์ยานีปนอยู่บ้าง แต่เดิมนั้นพระมาลัยคำหลวงใช้สวดในงานมงคลสมรส ต่อมาเปลี่ยนไปใช้สวดเฉพาะงานศพหรือสวดหน้าศพ หมวดหมู่:วรรณคดีไทย หมวดหมู่:วรรณกรรมศาสนาพุทธ หมวดหมู่:วรรณกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระมาลัยคำหลวง
พระยาตรัง
ระยาตรัง หรือ พระยาตรังคภูมาภิบาล เป็นเจ้าเมืองตรัง และเป็นกวีเอกคนหนึ่งในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยมีผลงานที่โดดเด่นด้านคำประพันธ์ประเภทโคลง มีผลงานเป็นที่ยกย่องแต่อดีตจนปัจจุบัน ทว่าประวัติชีวิตของท่านไม่ใคร่จะเป็นที่รู้จักมากนัก พระยาตรังเป็นชาวเมืองนครศรีธรรมราช เป็นบุตรของ 'ออกพระศรีราชสงครามราชภักดี (เยาว์) ' มารดาคือ 'หม่อมแจ่ม' ธิดาเจ้าพระยานคร (พัฒน์) ประวัติอื่นๆ เท่าที่ทราบ ก็คือ ท่านมีภรรยา 4 คน ชื่อ 'เขียว' (มีบุตรหนึ่งคน ชื่อ พิม), ชื่อ'คง ' (มีบุตรชื่อ อบ), ชื่อ 'แดง' (มีบุตรชื่อนายภู่และนายหนู) และชื่อ 'ฉิม' (มีบุตรชื่อเจิม) ในวัยเยาว์ท่านคงจะบวชและเรียนหนังสือที่วัดท่ามอญ (ปัจจุบัน คือ วัดศรีทวี ในเขตอำเภอเมือง นครศรีธรรมราช) ท่านได้เป็นเจ้าเมืองตรังในสมัยใดไม่ปรากฏ แต่ไม่น่าจะช้ากว่าสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี และเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงปราบดาภิเษก เมื่อ พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระยาตรัง
พระราชพิธีสิบสองเดือน
ระราชพิธีสิบสองเดือน เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เพื่อพิมพ์แจกสมาชิกหนังสือวชิรญาณ ของหอพระสมุดวชิรญาณ เมื่อ พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระราชพิธีสิบสองเดือน
พระสุนทรโวหาร (ภู่)
ระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 - พ.ศ. 2398) เป็นอาลักษณ์ชาวไทยที่มีชื่อเสียงเชิงกวี ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย เกิดหลังจากตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ 4 ปี และได้เข้ารับราชการเป็นอาลักษณ์ราชสำนักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อสิ้นรัชกาลได้ออกบวชเป็นเวลาร่วม 20 ปี ก่อนจะกลับเข้ารับราชการอีกครั้งในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเป็นอาลักษณ์ในสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น พระสุนทรโวหาร เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิต สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชำนาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบการประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่จนกลายเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางสืบเนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่มีมากมายหลายเรื่อง เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ เพลงยาวถวายโอวาท กาพย์พระไชยสุริยา และ พระอภัยมณี เป็นต้น โดยเฉพาะเรื่อง พระอภัยมณี ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของวรรณคดีประเภทกลอนนิทาน และเป็นผลงานที่แสดงถึงทักษะ ความรู้ และทัศนะของสุนทรภู่อย่างมากที่สุด งานประพันธ์หลายชิ้นของสุนทรภู่ได้รับเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนนับแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน เช่น กาพย์พระไชยสุริยา นิราศพระบาท และอีกหลาย ๆ เรื่อง ปี..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระสุนทรโวหาร (ภู่)
พระอภัยมณี
ระอภัยมณี เป็นวรรณคดีชิ้นเยี่ยมเรื่องหนึ่งของไทย ผลงานชิ้นเอกของพระสุนทรโวหาร หรือสุนทรภู่ กวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประพันธ์ขึ้นเป็นนิทานคำกลอนที่มีความยาวมากถึง 94 เล่มสมุดไทย เมื่อพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ จะมีความยาวกว่าหนึ่งพันสองร้อยหน้า ระยะเวลาในการประพันธ์ไม่มีการระบุไว้อย่างแน่ชัด แต่คาดว่าสุนทรภู่เริ่มประพันธ์ราวปี..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระอภัยมณี
พระไชยสุริยา
ระไชยสุริยา เป็นวรรณคดีที่ประพันธ์โดย สุนทรภู่ เป็นนิทานสำหรับสอนการเขียนอ่าน โดยมีบทอ่านเรียงลำดับการสะกดคำตั้งแต่ แม่ ก กา ตามด้วย แม่กน แม่กง แม่กก แม่กด แม่กบ แม่กม จนถึงแม่เกย ตามลำดับ ลักษณะการประพันธ์แบบกาพย์ประเภทต่างๆ คือ กาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง 16 และกาพย์สุรางคนางค์ 28 เชื่อว่าสุนทรภู่ประพันธ์ขึ้นในราวปี..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระไชยสุริยา
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์
ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชายทินกร เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 35 และพระองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กับเจ้าจอมมารดาศิลา (ราชินิกุล ณ บางช้าง) ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 7 ขึ้น 12 ค่ำ ตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 24 พฤษภาคม ปีระกา ตรีศก..1213..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์
พิกุลทอง
รื่องนางพิกุลทอง นี้เป็น ละครนอก หนึ่งใน 14 เรื่อง ที่นิยมนำมาเล่นกันมากเรื่องหนึ่งตั้งแต่ครั้ง สมัยอยุธยา ปัจจุบันยังพบว่ามีต้นฉบับหนังสือตัวเขียนที่เหลือรอดจากการถูกพม่าทำลายคราวเสียกรุง เก็บรักษาไว้อยู่ที่ หอสมุดแห่งชาติ เป็นสมุดข่อยสีขาว ตัวหมึกดำ ลายมือกึ่งบรรจงแกมหวัด ตัวอักษรไม่สม่ำเสมอและมีบันทึกว่า หมู่กลอนบทละคร ชื่อ พิกุลทอง เล่ม 1 (สำนวนเก่า) เลขที่ 20 ตู้ที่ 114 ชั้น 2/1 มัด 39 ประวัติ สมบัติเดิมของหอพระสมุดวชิรญาณ ซึ่งมีเนื้อความเริ่มตั้งแต่นางพิกุลทองสรงน้ำ จนจบตอนท้ายคือปราบนางยักษ์กาขาวและยังไม่ได้รับตรวจสอบชำระฉบับที่เหลืออื่นๆ หรือตีพิมพ์จากกรมศิลปากร ส่วนเรื่องนางพิกุลทองต่อจากสำนวนเดิมที่เป็นการผจญภัยยืดยาวถึงรุ่นลูกนั้น มาจากกลอนอ่านสำนวนของ นายบุศย์ รจนา จัดพิมพ์โดยโรงพิมพ์วัดเกาะราวปี พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและพิกุลทอง
กฤษณาสอนน้องคำฉันท์
กฤษณาสอนน้องคำฉันท์ เป็นวรรณกรรมประเภทคำฉันท์ ส่วนใหญ่เป็นกาพย์ฉบังและกาพย์สุรางคนางค์ สันนิษฐานว่าพระยาราชสุภาวดีและพระภิกษุอินท์แต่งกฤษณาสอนน้องคำฉันท์ระหว่างที่พระยาราชสุภาวดีไปรับราชการที่เมืองนครศรีธรรมราช พราะยาราชสุภาวดีแต่งก่อนในตอนต้นแล้วอาราธนาพระภิกษุอินท์แต่งต่อตอนท้าย กฤษณาสอนน้องคำฉันท์มีจุดมุ่งหมายเพื่อสอนกุลสตรีในสมัยนั้น มีเค้าโครงเรื่องมาจากมหาภารตะของอินเดีย เป็นเรื่องที่แต่งมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาแล้ว แต่ต้นฉบับคงจะสูญหายไป พระยาราชสุภาวดี และพระภิกษุอินท์จึงแต่งขึ้นใหม่ ดังกล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า แม่คิงต๋.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและกฤษณาสอนน้องคำฉันท์
กาพย์มหาชาติ
กาพย์มหาชาติ เป็นวรรณคดีเก่าแก่เล่มหนึ่ง ที่แต่งขึ้นเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง และประวัติการแต่งก็ไม่ปรากฏแน่ชัด แต่ถือว่ามีคุณค่าทั้งทางวรรณคดีและทางพุทธศาสน.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและกาพย์มหาชาติ
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ เป็นคำประพันธ์ประเภทหนึ่ง แต่งไว้สำหรับขับร้องเห่ในกระบวนเรือ โดยมีทำนองเห่ที่สอดคล้องกับจังหวะการพายของฝีพาย ว่าช้า หรือเร็ว มักจะมีพนักงานขับเห่หนึ่งคนเป็นต้นเสียง และฝีพายคอยร้องขับตามจังหวะ พร้อมกับการให้จังหวะจากพนักงานประจำเรือแต่ละลำ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวานและงานนักขัตฤกษ์
กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวานและงานนักขัตฤกษ์ เป็นกาพย์เห่เรือที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ ซึ่งพรรณนาเกี่ยวกับอาหารคาวหวานในวัง โดยใช้การบรรยายเนื้อหาเยี่ยงนิราศ คือการรำพึงรำพันถึงสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี โดยนำเอาชื่ออาหาร ลักษณะ ส่วนประกอบ หรือความสัมพันธ์มาเชื่อมโยงเข้ากับการรำพึงรำพันนั้น นอกจากนี้ กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ยังเป็นวรรณคดีที่มุ่งเน้นความงดงามไพเราะของวรรณคดีเหนือสิ่งอื่นใด มีการใช้โวหารและภาษาที่สละสลวย ตลอดจนการอุปมาเพื่อสื่อถึงรสชาติและฝีมือในการปรุงอาหารของนางอันเป็นที่รัก และการนำชื่ออาหารซึ่งสื่อถึงความในพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยในความสุขจากการใกล้ชิดหรือโศกเศร้าจากการพรากจากนางอันเป็นที่รักได้อย่างกลมกลืน ชื่ออาหารหลายชนิดในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน เป็นอาหารโบราณที่หารับประทานได้ยาก เนื่องจากมีวิธีการปรุงที่ยาก และต้องใช้ความประณีตในการทำเป็นอย่างมาก เช่นหรุ่ม ล่าเตียง เป็นต้น ซึ่งจากวรรณคดีเรื่องนี้ก็ทำให้มีผู้นำอาหารโบราณหลายชนิดมารื้อฟื้นฝึกปรุงใหม่กันอีกด้วย หมวดหมู่:กาพย์เห่เรือ หมวดหมู่:พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 หมวดหมู่:บทอาขยาน.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวานและงานนักขัตฤกษ์
กากีกลอนสุภาพ
กากีกลอนสุภาพ เป็นวรรณคดีไทยประพันธ์ด้วยกลอนสุภาพ เล่าเรื่องเกี่ยวกับตำนานโบราณของนางกากี ฉบับที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี ไพเราะ เป็นสำนวนของเจ้าพระยาพระคลัง (หน) มีบทเด่นที่จัดว่าเป็นวรรคทองของเรื่องนี้ก็คือ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและกากีกลอนสุภาพ
มหาชาติคำหลวง
มหาชาติคำหลวง ก็คือเรื่องเวสสันดรชาดก สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดเกล้าฯ ให้ประชุมนักปราชญ์ราชบัณฑิตแปลแต่งที่เมืองพิษณุโลก เมื่อพ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและมหาชาติคำหลวง
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก เป็นชีวประวัติเรื่องหนึ่งในทศชาติชาดก กล่าวถึงพระชาติสุดท้ายของพระโพธิสัตว์ในการบำเพ็ญทานบารมี ก่อนจะทรงอุบัติเป็นสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า "มหาชาติชาดก" ในการเทศนา เรียกว่า "เทศน์มหาชาติ".
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและมหาเวสสันดรชาดก
มัทนะพาธา
มัทนะพาธา เป็นบทละครพูดคำฉันท์ 5 องก์ โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นทั้งหมดด้วยพระองค์เองโดยไม่ได้อิงเนื้อหามาจากที่อื่น ทรงพระราชนิพนธ์ทั้งเริ่มและจบลงในปี พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและมัทนะพาธา
มณีพิชัย
มณีพิชัย เป็นที่รู้จักกันในชื่อเรื่องว่า "ยอพระกลิ่น" เข้าใจกันว่าเป็นบทพระราชนิพนธ์ในล้นเกล้า รัชกาลที่ ๒ โดยทรงพระราชนิพนธ์เป็นกลอนสำหรับใช้เป็นบทละครนอก ซึ่งความจริงร.๒ แต่เฉพาะตอนที่ยอพระกลิ่น ปลอมตัวเป็นพราหมณ์มาขอพระมณีพิไชยไปเป็นทาส ส่วนเนื้อเรื่องตามต้นเรื่องและบทท้ายนั้น จากหนังสือ "รวมพระราชนิพนธ์บทละครนอก ๖ เรื่อง" ไม่ได้ระบุว่าใครเป็นผู้แต่ง ซึ่งทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดย บริษัท สามเศียร จำกัด และ บริษัท ดาราวิดีโอ จำกัดเคยนำมาสร้างเป็นละครพื้นบ้านแนวจักรๆวงศ์ๆในชื่อ ยอพระกลิ่น โดยผู้รับบท มณีพิชัย คือ ชาตรี พิณโณ และผู้รับบทยอพระกลิ่นคือ กบ สุวนันท์ ปุณณกันต์ โดยละครเรื่องนี้ออกอากาศเมื่อ ปี 2535 บทโทรทัศน์ โดย ภาวิต ต่อมาเมื่อปี 2546 สามเศียร ได้นำมาทำใหม่อีกครั้ง โดยนำแสดงโดย รติพงษ์ ภู่มาลี และ ฐานมาศ ขวัญหวาน บทโทรทัศน์โดย พิกุลแก้ว ต่อมาเมื่อปี 2557 นำกลับสร้างอีกครั้งของ สามเศียร นำแสดงโดย ภัทชา งามพิสุทธิ์ รับบท ยอพระกลิ่น นพรัตน์ ประเสริฐสุข รับบท มณีพิชัย บทโทรทัศน์ โดย เกล้าเกศ หมวดหมู่:วรรณคดีไทย.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและมณีพิชัย
ยุขัน
ัน เป็นบทละครนอกที่แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทกลอนบทละคร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าแต่งเมื่อใดและผู้แต่งเป็นใคร สันนิษฐานว่าน่าจะได้รับอิทธิพลมาจากนิทานสุภาษิตเปอร์เซียเรื่องอิหร่านราชธรรม หรือที่เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า สิบสองเหลี่ยม เนื่องจากปรากฏข้อความบนทะเบียนเก่าของหอสมุดวชิรญาณ.
ราชาธิราช
ราชาธิราช หรือชื่อในภาษาพม่า ยาซาดะริต อเยดอว์บอง (ရာဇာဓိရာဇ် အရေးတော်ပုံ) เป็นชื่อของพงศาวดารพม่า ซึ่งมีเนื้อหาว่าด้วยประวัติศาสตร์ของอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญตั้งแต่ พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและราชาธิราช
รามเกียรติ์
ตัวละครหลักที่ปรากฏในเรื่อง มีดังนี้ ฝ่ายพระราม.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและรามเกียรติ์
รำพันพิลาป
รำพันพิลาป เป็นผลงานกวีนิพนธ์แบบกลอนประพันธ์โดยสุนทรภู่ เป็นนิราศเชิงกำสรวลที่พรรณนาถึงชีวิตของตัวเอง สุนทรภู่ระบุไว้ในงานประพันธ์ว่าได้เขียนงานชิ้นนี้ขึ้นในปี พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและรำพันพิลาป
ลักษณวงศ์
ลักษณวงศ์ เป็นนิทานคำกลอน เรื่องจักร ๆ วงศ์ ๆ ประพันธ์โดย สุนทรภู่ สันนิษฐานว่ามีสำนวนของผู้อื่นแต่งเติม สำนวนกลอนบางตอนคล้ายกับดัดแปลงมาจากเรื่อง โคบุตร.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและลักษณวงศ์
ลิลิตพระลอ
ลิลิตพระลอ เป็นลิลิตโศกนาฏกรรมความรัก ที่แต่งขึ้นอย่างประณีตงดงาม มีความไพเราะของถ้อยคำ และเต็มไปด้วยสุนทรียศาสตร์ พรรณนาเรื่องด้วยอารมณ์ที่หลากหลาย ใช้กวีโวหารอย่างยอดเยี่ยม ในการบรรยายเนื้อเรื่อง ที่มีฉากอย่างมากมาย หลากหลายอารมณ์ โดยมีแก่นเรื่องแบบรักโศก หรือโศกนาฏกรรม และแฝงแง่คิดถึงสัจธรรมของชีวิต ลิลิตพระลอนี้เคยถูกวิจารณ์อย่างเผ็ดร้อนจากนักวรรณคดีบางกลุ่ม เนื่องจากเชื่อว่าเป็นวรรณกรรมที่มอมเมาทางโลกีย์ ลิลิตพระลอที่ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสร เมื่อ..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและลิลิตพระลอ
ลิลิตยวนพ่าย
ลิลิตยวนพ่าย เป็นวรรณคดีประเภทสดุดีวีรกรรมของพระมหากษัตริย์ จัดเป็นวรรณคดีประวัติศาสตร์ ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง แต่สันนิษฐานว่าแต่งขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ คำว่า "ลิลิต" หมายถึง คำประพันธ์ประเภทร้อยกรองแบบหนึ่งซึ่งใช้โคลงและร่ายต่อสัมผัสกันเป็นเรื่องยาว ส่วน "ยวน" หมายถึง ไทยวน ชาติพันธ์หลักในอาณาจักรล้านนา เพี้ยนมาจาก โยน หรือ โยนก ดังนั้น ลิลิตยวนพ่ายจึงมีเนื้อหากล่าวถึงสงครามที่กรุงศรีอยุธยามีชัยเหนือล้านนานั่นเอง ลิลิตยวนพ่ายแต่งเป็นลิลิตดั้น กล่าวคือ เป็นร่ายดั้น 2 ตอนและโคลงดั้นบาทกุญชร 365 บท ภาษาที่ใช้เป็นภาษาไทยโบราณ เขมร สันสกฤต และบาลี จึงอ่านเข้าใจได้ยาก ใช้ภาษาที่ประณีตงดงาม ศัพท์สูงส่งวิจิตร เต็มไปด้วยชั้นเชิงสูงด้านการใช้ภาษา และเป็นแบบอย่างในการแต่งลิลิตตะเลงพ่ายของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนร.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและลิลิตยวนพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย เป็นบทประพันธ์ประเภทลิลิต ประพันธ์ขึ้นโดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์ เพื่อสดุดีวีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในวาระงานพระราชพิธีฉลองตึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามในรัชกาลที่ 3 โดยตะเลงในที่นี้หมายถึง พม่า ที่มาของเรื่อง 1.พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 2.วรรณคดีเก่าเรื่อง ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตพระลอ 3.จินตนาการของผู้แต่ง คือ ช่วงบทนิราศ จุดมุ่งหมายในการแต่ง 1.เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 2.ฉลองตึกวัดพระเชนตุพนฯ สมัย รัชกาลที่ 3 3.สร้างสมบารมีของผู้แต่ง (เพราะผู้แต่งขอไว้ว่าถ้าแต่งเสร็จขอให้สำเร็จสู่พระนิพพาน).
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตนิทราชาคริต
ลิลิตนิทราชาคริต เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นในปี พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและลิลิตนิทราชาคริต
ลิลิตโองการแช่งน้ำ
ลิลิตโองการแช่งน้ำ หรือ ประกาศแช่งน้ำโคลงห้า เป็นวรรณคดีเก่าแก่มากที่สุดเรื่องหนึ่งของไทย มีความสำคัญทั้งด้านวรรณคดี นิรุกติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และสังคมของไทย เป็นวรรณคดีที่มีความยาวเพียงไม่กี่หน้า แต่ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์มากที่สุดเรื่องหนึ่งเป็นโองการสำหรับใช้อ่านเมื่อมีพิธีถือน้ำกระทำสัตย์สาบานต่อพระมหากษัตร.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและลิลิตโองการแช่งน้ำ
วรรณกรรม
วรรณกรรมนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและวรรณกรรม
วรรณคดี
วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรืองานเขียนที่ยกย่องกันว่าดี มีสาระ และมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ การใช้คำว่าวรรณคดีเพื่อประเมินค่าของวรรณกรรมเกิดขึ้นในพระราชกฤษฎีกาตั้งวรรณคดีสโมสรในสมัยรัชกาลที่ 6 (พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว) วรรณคดีเป็นวรรณกรรมที่ถูกยกย่องว่าเขียนดี มีคุณค่า สามารถทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจ มีความคิดเป็นแบบแผน ใช้ภาษาที่ไพเราะ เหมาะแก่การให้ประชาชนได้รับรู้ เพราะสามารถยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น รู้ว่าอะไรควรหรือไม่ควร.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและวรรณคดี
วิวาห์พระสมุทร
วิวาห์พระสมุทร เป็นบทละครพูดสลับลำ มีทั้งบทร้องและบทเจรจา เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ เมื่อ พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและวิวาห์พระสมุทร
ศรีปราชญ์
รีปราชญ์ เป็นบุคคลซึ่งเอกสารพม่าและมอญที่เขียนจากคำบอกเล่าระบุว่า เป็นข้าราชสำนักสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสือ) แห่งกรุงศรีอยุธยา ถูกเนรเทศไปนครศรีธรรมราชและถูกเจ้าเมืองประหาร ก่อนตายแช่งเจ้าเมืองให้ตายด้วยดาบเดียวกัน และภายหลังก็เป็นไปตามนั้น เรื่องราวของเขาได้รับการดัดแปลงและขยายความอย่างมากในเวลาต่อมา โดยระบุว่า เป็นข้าราชสำนักสมเด็จพระนารายณ์ เป็นบุตรชายของพระโหราธิบดี มีความสามารถทางร้อยกรอง และไปเสียชีวิตที่นครศรีธรรมราชเหมือนในเอกสารเดิม เขายังได้รับการนำเสนอว่า เป็นกวีเอกและบุคคลสำคัญของชาติไทย อย่างไรก็ดี นักประวัติศาสตร์เห็นว่า เขาไม่มีตัวตนจริง เพราะปราศจากการบันทึกทางประวัติศาสตร์ที่เชื่อถือได้ เขายังน่าจะเป็นเพียงตัวละครเอกในเรื่องเล่าขานของชาวบ้าน ทำนองเดียวกับศรีธนญชัย โดยทั้งศรีปราชญ์และศรีธนญชัยน่าจะรับมาจากนิทานอินโดนีเซียหรือเปอร์เซีย ศรีปราชญ์เป็นตัวแทนความซื่อตรง ศรีธนญชัยเป็นตัวแทนความคดโกง อนึ่ง เดิมเชื่อว่า เขาเป็นผู้ประพันธ์ร้อยกรองเรื่อง กำสรวลศรีปราชญ์ นอกเหนือไปจากเรื่องอื่น ๆ แต่ปัจจุบันมีข้อเสนอว่า เป็นพระนิพนธ์ของพระบรมราชาที่ 3 พระโอรสของสมเด็จพระบรมไตรโลกน.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและศรีปราชญ์
สมบัติอมรินทร์คำกลอน
มบัติอมรินทร์คำกลอนเป็นวรรณกรรมชิ้นเอกชิ้นหนึ่ง ของเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เป็นนิทานคำกลอน มีความยาวเพียง 370 คำกลอนเท่านั้น ได้รับการยกย่องว่าเป็น "แบบนิทานคำกลอนเล่มแรกในวงวรรณคดี" นักวิจารณ์วรรณคดีบางท่านระบุว่า 80 คำกลอนท่อนหลังอาจมีผู้อื่นแต่งเติมในภายหลัง สำหรับปีที่แต่งนั้นไม่ปรากฏหลักฐาน แต่บันทึกสืบต่อกันมา ว่าแต่งในสมัยรัตนโกสินทร์เป็นแน่ เพราะท่านแต่งหนังสือในสมัยกรุงธนบุรีเพียงสองเรื่อง คือ ลิลิตเพชรมงกุฎ และ อิเหนาคำฉันท์ ระยะเวลานั้น อาจระบุถึงกว้างมาก คือ ตั้งแต..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสมบัติอมรินทร์คำกลอน
สมุทรโฆษคำฉันท์
มุทรโฆษคำฉันท์ เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องจาก วรรณคดีสโมสร ในสมัยรัชกาลที่ 6 ว่าเป็นเรื่องที่แต่งดีเป็นเยี่ยมในกระบวนคำฉันท์ เป็นวรรณกรรมขนาดย่อม มีความยาว ของเนื้อเรื่อง 2,218 บท (นับรวมแถลงท้ายเรื่อง 21 บท) กับโคลงท้ายเรื่องอีก 4 บท สมุทรโฆษคำฉันท์นับเป็นหนึ่งในวรรณคดีไทย ที่มีประวัติอันยาวนาน สืบเนื่องมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา จวบจนถึงช่วงต้นแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีเนื้อหาแบบนิยายไทยทั่วไป ที่มีความรักและการพลัดพราก กวีได้สอดแทรกขนบการแต่งเรื่องไว้อย่างสมบูรณ์ ขณะเดียวกัน นักประวัติศาสตร์ยังใช้วรรณคดีเล่มนี้สำหรับการอ้างอิงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ด้านขนบธรรมเนียม และวัฒนธรรมด้ว.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสมุทรโฆษคำฉันท์
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 7 แห่งอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) และเป็นพระราชวงศ์พระองค์แรกที่ทรงได้รับสถาปนาให้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช นอกจากนี้ยังเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์แรกที่ประสูติในสมัยรัตนโกสินทร์อีกด้วย ทรงสถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรงสมณศักดิ์เมื่อปี..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร
มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชายมั่ง พระโอรสใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดานิ่มซึ่งเป็นธิดาของเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ประสูติเมื่อวันเสาร์ ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 7 ปีฉลู ตรงกับวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
มเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หรือ พระมหาธรรมราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
มเด็จพระเจ้าทรงธรรม หรือ สมเด็จพระบรมราชาที่ 1 หรือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงธรรม หรือ สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงธรรมอันมหาประเสริฐ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 21 แห่งกรุงศรีอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์สุโขทัย หลังจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สำเร็จโทษพระมหากษัตริย์องค์ก่อนแล้ว พระศรีศิลป์หรือพระพิมลธรรม หรือพระเจ้าทรงธรรมก็เสด็จปราบดาภิเษกขึ้นครองราชสมบัต.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
สวัสดิรักษา
ษิตเรื่อง สวิสดิรักษา สุนทรภู่แต่งถวายสมเด็จเจ้าฟ้าอาภรณ์พระเจ้าลูกยาเธอ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมอบพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์นี้ ให้เป็นศิษย์ศึกษาอักษรสมัยในสำนักสุนทรภู่ สันนิษฐานว่า แต่งขึ้นเมื่อปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ในระหว่างปี..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสวัสดิรักษา
สังข์ทอง
สังข์ทอง เดิมทีนั้นเป็นบทเล่นอุทัยเทวี (2560) หมวดหมู่:วรรณคดีไทย หมวดหมู่:วรรณคดีประเภทกลอน หมวดหมู่:พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 หมวดหมู่:บทละคร หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ไทยที่ออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสังข์ทอง
สามก๊ก
มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..
สามัคคีเภทคำฉันท์
มัคคีเภทคำฉันท์ เป็นนิยายคำฉันท์ขนาดสั้นไม่กี่สิบหน้ากระดาษเท่านั้น แต่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี มีความงดงามทางวรรณศิลป์ ทั้งยังได้รับการคัดเลือกเป็นหนังสือประกอบการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทยด้วย หนังสือ สามัคคีเภทคำฉันท์ (ฉบับกระทรวงศึกษาธิการจัดพิมพ์ เขียนเว้นวรรค เป็น "สามัคคีเภท คำฉันท์") นี้ นายชิต บุรทัต ได้แต่งขึ้นเมื่อ พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสามัคคีเภทคำฉันท์
สาวิตรี
วิตรี (Sāvitrī) มีความหมายว่า ผู้ยังให้เกิดแสงสว่าง ผู้ยังให้เกิดชีวิตใหม่ หรือผู้ขับเคลื่อน และอาจหมายถึง; วัฒนธรรมฮินดู.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสาวิตรี
สิงหไตรภพ
สิงหไตรภพ เป็นกลอนนิทานเรื่องหนึ่ง ผลงานประพันธ์ของ สุนทรภู่ มักนิยมเรียกกันในชั้นหลังว่า สิงหไกรภพ เชื่อว่าสุนทรภู่แต่งขึ้นเพื่อถวายเจ้าฟ้าอาภรณ์เมื่อครั้งถวายพระอักษร และในภายหลังได้แต่งต่อเพื่อถวายกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ เนื้อเรื่องของสิงหไกรภพ เกี่ยวกับตัวละครเอก ชื่อ สิงหไตรภพ ที่พลัดบ้านเมืองแต่เล็ก ถูกลักพาตัวไปและเลี้ยงดูเติบโตขึ้นมาในบ้านพราหมณ์จินดา สิงหไตรภพเรียกพราหมณ์ว่าพี่ชาย เนื้อเรื่องส่วนใหญ่เป็นการผจญภัยของสองพี่น้องนี้ และมีมนตร์วิเศษน่าตื่นตาตื่นใจ เหมาะแก่การเป็นวรรณกรรมสำหรับเด็ก จึงเป็นกลอนนิทานที่ดัดแปลงเป็นละครหลายครั้ง และมักใช้ชื่อเรื่องว่า "สิงหไกรภพ" หมวดหมู่:นิทาน หมวดหมู่:วรรณคดีประเภทกลอน หมวดหมู่:กวีนิพนธ์ของสุนทรภู่.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสิงหไตรภพ
สุภาษิตสอนหญิง
ษิตสอนหญิง เป็นผลงานกวีนิพนธ์แบบกลอน ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าประพันธ์เรื่องนี้ขึ้นเมื่อใด เนื้อหาเป็นการสอนสตรีในด้านต่างๆ เช่น การวางตัว การเจรจา การเลือกคู่ เป็นต้น นักวิชาการบางส่วนเห็นว่า วรรณกรรมเรื่องนี้ไม่น่าจะเป็นผลงานของสุนทรภู่ แต่น่าจะเป็นของนายภู่ จุลละภมร ผู้เป็นศิษย์ อย่างไรก็ดีนักวิชาการส่วนใหญ่ยังถือว่าวรรณกรรมเรื่องนี้เป็นผลงานของสุนทรภู่อยู่ ทั้งนี้แนวคิดหลายประการที่ปรากฏอยู่ในวรรณกรรม แสดงให้เห็นว่าผู้ประพันธ์ค่อนข้างมีความคิดทันสมัย และเห็นความสำคัญของเศรษฐกิจการเรือนที่อยู่ในมือของผู้หญิง วรรคทองจากวรรณกรรมเรื่องนี้มีอยู่มากมาย ตัวอย่างเช่น.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสุภาษิตสอนหญิง
สุวรรณหงส์
หมวดหมู่:วรรณคดีไท.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและสุวรรณหงส์
หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร)
หม่อมราโชทัย นามเดิม หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร (12 มิถุนายน พ.ศ. 2363 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2410) เป็นบุตรของพระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชอุ่ม กรมหมื่นเทวานุรักษ์ เป็นนัดดาของสมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเกศ กรมขุนอิศรานุรักษ์ และสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีในรัชกาลที่ 2 เป็นปนัดดาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ ซึ่งเป็นพระพี่นางในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร เกิดตอนปลายสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อเจริญวัย บิดาได้นำไปถวายตัวอยู่กับพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งขณะนั้นยังดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าฟ้ามงกุฎ สมมุติเทวาวงศ์ พงศาอิศวรกระษัตริย์ ขัตติยราชกุมาร เมื่อเจ้าฟ้ามงกุฎผนวช หม่อมราชวงศ์กระต่ายก็ได้ตามเสด็จไปรับใช้ ต่อมาเมื่อเจ้าฟ้ามงกุฎทรงสนพระราชหฤทัยในภาษาอังกฤษ หม่อมราชวงศ์กระต่ายก็ได้ศึกษาตามพระราชนิยม โดยมีมิชชันนารีที่เข้ามาสอนศาสนาเป็นผู้สอน จนได้ชื่อว่าเป็นผู้มีความรู้ภาษาอังกฤษดี จนเจ้าฟ้ามงกุฎทรงใช้ให้เป็นตัวแทนเชิญกระแสรับสั่งไปพูดจากับชาวต่างชาติได้เป็นอย่างดี ครั้นเมื่อเจ้าฟ้ามงกุฎเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติขึ้นเป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมราชวงศ์กระต่ายก็ติดตามสมัครเข้ารับราชการ ความสามารถของหม่อมราชวงศ์กระต่ายที่ช่วยราชกิจได้ดี จึงได้รับพระราชทานเลื่อนอิสริยยศเป็น "หม่อมราโชทัย" และด้วยความรู้ในภาษาอังกฤษดี พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและหม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร)
อิลราชคำฉันท์
อิลราชคำฉันท์ เป็น วรรณคดี คำฉันท์ที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี มีความไพเราะ และนิยมใช้เป็นแบบอย่างในการแต่งคำฉันท์มาช้านาน แม้จะมีความยาวเพียง 329 บท ตีพิมพ์เป็นหนังสือเล่มเล็กเพียง 36 หน้ากระดาษเท่านั้น นับเป็นคำฉันท์อีกเรื่องหนึ่งที่นักศึกษาวรรณคดีเอ่ยถึงเสมอ ผู้ประพันธ์อิลราชคำฉันท์คือ มหาเสวกตรี พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ) แต่งเมื่อครั้งยังมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวง ที่ หลวงสารประเสร.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและอิลราชคำฉันท์
อิเหนา
ละครของกรมศิลปากร เรื่อง “อิเหนา” ตอนส่งดอกลำเจียกให้นางค่อม แสดงเมื่อประมาณ พ.ศ. 2483 อิเหนาเป็น วรรณคดีเก่าแก่เรื่องหนึ่งของไทย เป็นที่รู้จักกันมานาน เข้าใจว่าน่าจะเป็นช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยได้ผ่านมาจากหญิงเชลยปัตตานี ที่เป็นข้าหลวงรับใช้พระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (ครองราชย์ พ.ศ.
อุณรุทร้อยเรื่อง
อุณรุทร้อยเรื่อง เป็นวรรณคดีขนาดสั้น แต่งในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประพันธ์โดย คุณสุวรรณ เป็นวรรณคดีนิทานจักร ๆ วงศ์ ๆ ที่นำตัวละคร และเรื่องราวจากวรรณคดีเรื่องต่าง ๆ มาประมวลไว้ด้วยกันมากกว่าร้อยชื่อ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและอุณรุทร้อยเรื่อง
อนิรุทธ์คำฉันท์
อนิรุทธคำฉันท์ เป็นบทประพันธ์ไม่ปรากฏผู้แต่ง เพื่อแสดงความสามารถในการแต่งฉันท์เป็นเรื่องยาวให้สมบูรณ์ ลักษณะการแต่ง เป็นฉันท์ มีกาพย์และร่ายสุภาพปนอยู่ หมวดหมู่:คำฉันท์ หมวดหมู่:วรรณกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและอนิรุทธ์คำฉันท์
จันทโครพ
ันทโครพ เป็นตัวเอกในนิทานเรื่องจันโครพ มีฐานะเป็นเจ้าชาย ถูกโจรป่าทำร้ายระหว่างการเดินทางกลับเมือง เหตุเพราะไม่เชื่อฟังคำสั่งของอาจาร.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและจันทโครพ
จินดามณี
นดามณี อาจหมายถึง.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและจินดามณี
ขุนช้างขุนแผน
รื่องขุนช้างขุนแผน เป็นนิทานมหากาพย์พื้นบ้านของไทย เค้าเรื่องขุนช้างขุนแผนนี้สันนิษฐานว่าเคยเกิดขึ้นจริงในสมัยกรุงศรีอยุธยา แล้วมีผู้จดจำเล่าสืบต่อกันมา เนื่องจากเรื่องราวของขุนช้างขุนแผนมีปรากฏในหนังสือคำให้การชาวกรุงเก่า แต่มีการดัดแปลงเพิ่มเติมจนมีลักษณะคล้ายนิทานเพื่อให้เนื้อเรื่องสนุกสนานชวนติดตามยิ่งขึ้น รายละเอียดในการดำเนินเรื่องยังสะท้อนภาพการดำเนินชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชาวสยามในครั้งอดีตได้อย่างชัดเจนยิ่ง จนนักภาษาศาสตร์วิลเลียม เกดนีย์ กล่าวว่า "ข้าพเจ้ามักคิดบ่อยๆว่า หากความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยเกิดสูญหายไปหมด ทุกอย่างอาจจะถูกสร้างขึ้นมาได้ใหม่ จากข้อเขียนที่อัศจรรย์นี้" เรื่องขุนช้างขุนแผนนี้ ถูกสันนิษฐานว่าเป็นการแต่งขึ้นร้องแบบมุขปาถะ (ปากต่อปาก) เพื่อความบันเทิง ในลักษณะเดียวกับมหากาพย์ของยุโรป อย่างเช่นของโฮเมอร์ โดยคงจะเริ่มแต่งตั้งแต่ราวอยุธยาตอนกลาง (ราว พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและขุนช้างขุนแผน
ดาหลัง
หน้าปกหนังสือดาหลัง พิมพ์พระราชทานในงานถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระพันวัสสาอัยิกาเจ้า ดาหลัง เป็นวรรณคดีสำคัญเรื่องหนึ่งของไทยจัดอยู่ในประเภทบทละครใน ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 4 เรื่องคือ รามเกียรติ์ อุณรุท ดาหลัง และ อิเหนา โดย ดาหลัง และ อิเหนา นั้นมีต้นเค้ามาจากนิทานปันหยีของทางชวาเหมือนกัน แต่ความนิยมในดาหลังนั้นมีน้อยมาก อันจะสังเกตได้ว่าแทบไม่มีผู้ใดคิดจะหยิบมาอ่านหรือนำมาศึกษาอย่างจริงจังอาจเพราะด้วยเนื้อหานั้นค่อนข้างรุนแรงกว่าอิเหนา ภาษานั้นไม่ไพเราะลื่นไหลน่าอ่านเท่ากับอิเหนาฉบับรัชกาลที่ 2 และเนื้อเรื่องที่ได้ตีพิมพ์ออกมานั้นไม่จบตอน ขาดในส่วนของตอนจบไป จึงไม่มีใครทราบว่าเรื่องดาหลังนั้นแท้จริงแล้วจบอย่างไร จากสาเหตุข้างต้นจึงน่าจะเป็นเหตุให้วรรณคดีเรื่องนี้ถูกมองข้ามไปโดยปร.
นันโทปนันทสูตรคำหลวง
นันโทปนันทสูตรคำหลวง เป็นวรรณคดีพุทธศาสนา ในสมัยอยุธยา เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร (เจ้าฟ้ากุ้ง)ทรงพระนิพนธ์ขึ้น โดยมีลักษณะคำประพันธ์เป็นร่ายยาว นำด้วยภาษาบาลี แล้วขยายเป็นร่าย สลับกันเรื่อยไปจนจบ มีจุดมุ่งหมายเพื่อเผยแผ่คำสั่งสอนทางพระพุทธศาสนา และก่อให้เกิดศรัทธาในพุทธศาสนา โดยทรงนำเนื้อเรื่องมาจากคัมภีร์ทีฆนิกาย ชื่อ นันโทปนันทสูตร.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนันโทปนันทสูตรคำหลวง
นายนรินทรธิเบศร์ (อิน)
นายนรินทรธิเบศร์ เดิมชื่อ อิน ได้รับราชการเป็น มหาดเล็ก ฝ่ายพระราชวังบวร (วังหน้า) ในสมัยรัชกาลที่ 2 ได้รับพระราชทานยศเป็นหุ้มแพร มีบรรดาศักดิ์ที่ นายนรินทรธิเบศร์ จึงมักเรียกกันว่า นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) คือใส่ชื่อเดิมเข้าไปด้วย นายนรินทรธิเบศร์เป็นผู้แต่งนิราศคำโคลง ที่เรียกกันว่านิราศนรินทร์ตามชื่อผู้แต่ง ทว่าประวัติของนายนรินทรธิเบศร์ไม่ปรากฏรายละเอียดมากนัก ทราบแต่ว่ารับราชการในสมัยรัชกาลที่ 2 เท่านั้น ในชั้นหลังเราได้ทราบประวัติของท่านจากหนังสือนิราศนรินทร์ที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงพระนิพนธ์ไว้ โดยทรงเล่าเพิ่มเติมว่า “...นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ไม่ใคร่จะได้แต่งหนังสือไว้มากนัก และแต่งไว้บ้างก็ล้วนแต่เป็นโคลง ที่ปรากฏว่าเป็นกลอนนั้นน้อยเต็มที โคลงยอพระเกียรติตอนท้ายหนังสือปฐมมาลา ก็เป็นฝีปากของนายนรินทร์ (อิน) จึงสันนิษฐานว่านายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ชอบโคลงมากกว่าคำประพันธ์อื่นๆ” ผลงานการประพันธ์ของนายนรินทรธิเบศร์นั้นไม่ปรากฏแพร่หลาย แต่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงกล่าวไว้ว่า “..ส่วนที่แต่งไว้ในที่อื่นๆ นั้น ไม่มีที่ใดจะเปรียบกับโคลงนิราศนี้ได้” แต่ทรงมิได้ระบุว่านายนรินทร์ได้แต่งเรื่องอื่นใดไว้นอกจากที่กล่าวมาข้างต้น อย่างไรก็ตาม ยังมีเพลงยาวอีกเรื่องหนึ่งที่กล่าวว่าเป็นของนายนรินทรธิเบศร์ นั่นคือเพลงยาวของนายนรินทร์ มีเนื้อความดังนี้ หมวดหมู่:นักเขียนชาวไทย หมวดหมู่:มหาดเล็ก หมวดหมู่:กวีชาวไทย.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนายนรินทรธิเบศร์ (อิน)
นิราศพระบาท
นิราศพระบาท เป็นนิราศคำกลอนของ สุนทรภู่ มีความยาวถึง 462 คำกลอน นับเป็นนิราศที่ยาวมากเรื่องหนึ่งของสุนทรภู่ โดยมีเนื้อหาบรรยายการเดินทางขณะโดยเสด็จพระองค์เจ้าปฐมวงศ์ไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี (ในจังหวัดสระบุรี ปัจจุบัน)เมื่อวันขึ้น 12 ค่ำ เดือน 3 ปีเถาะ พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนิราศพระบาท
นิราศพระประธม
นิราศพระประธม เป็นผลงานกวีนิพนธ์แบบกลอนประพันธ์โดยสุนทรภู่ สันนิษฐานว่าประพันธ์ในสมัยรัชกาลที่ 3 หลังจากลาสิกขาบทแล้วและอยู่ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ สุนทรภู่น่าจะเดินทางในช่วงฤดูหนาว ปี พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนิราศพระประธม
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง เป็นนิราศที่สุนทรภู่ประพันธ์ในปี..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนิราศภูเขาทอง
นิราศลอนดอน
นิราศลอนดอน เป็นนิราศที่แต่งโดย หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร).
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนิราศลอนดอน
นิราศวัดเจ้าฟ้า
นิราศวัดเจ้าฟ้า เป็นนิราศคำกลอนที่มีรู้จักกันดีเรื่องหนึ่ง เนื้อเรื่องกล่าวว่า เณรหนูพัด (บุตรคนโตของสุนทรภู่) เป็นผู้แต่ง แต่เชื่อกันว่าที่จริงแต่งโดยสุนทรภู่นั่นเอง เนื่องจากขณะนั้นสุนทรภู่อยู่ในสมณเพศ จึงต้องระมัดระวังตัวมาก การแต่งในนามของเณรหนูพัดทำให้สามารถออกกระบวนกลอนและแสดงความคิดเห็นได้รสชาติมากกว่า วัดเจ้าฟ้า ในบทกลอนมีชื่อเต็มว่า วัดเจ้าฟ้าอากาศนาถนรินทร์ ไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าเป็นวัดใดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในปัจจุบัน เส้นการเดินทางตามบทนิราศเมื่อไปถึงอยุธยา สุนทรภู่และคณะแวะนมัสการหลวงพ่อโต วัดพนัญเชิง แล้วเลยไปวัดใหญ่ชัยมงคลเพื่อค้นหาพระปรอท ก่อนจะออกเดินเท้าไปยังวัดเจ้าฟ้าอากาศนาถนรินทร.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนิราศวัดเจ้าฟ้า
นิราศสุพรรณ
นิราศสุพรรณ เป็นผลงานกวีนิพนธ์แบบโคลงประพันธ์โดยสุนทรภู่ เป็นนิราศเรื่องแรกและเรื่องเดียวของสุนทรภู่ที่ประพันธ์ด้วยฉันทลักษณ์โคลงสี่สุภาพ เข้าใจว่าต้องการลบคำสบประมาทว่าตนแต่งได้แต่เพียงกลอน เชื่อว่าสุนทรภู่แต่งนิราศสุพรรณในปี พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนิราศสุพรรณ
นิราศอิเหนา
นิราศอิเหนา เป็นผลงานกวีนิพนธ์แบบกลอนประพันธ์โดยสุนทรภู่ สันนิษฐานจากสำนวนกลอนคาดว่าน่าจะประพันธ์ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 เมื่อครั้งที่สุนทรภู่อยู่ในอุปการะของพระองค์เจ้าลักขณานุคุณ จึงน่าจะแต่งถวาย เนื้อหาของกลอนนิราศนำมาจากส่วนหนึ่งของวรรณคดีเรื่อง อิเหนา โดยจับใจความตอนที่อิเหนากลับจากไปแก้สงสัยที่เมืองดาหา แล้วพบว่านางบุษบาที่ตนลักตัวมาซ่อนไว้ที่ถ้ำทอง ถูกลมพายุพัดหายไปเสียแล้ว เนื้อหาของกลอนนิราศเป็นการเดินทางติดตามค้นหานางบุษบาของอิเหนา ระหว่างทางก็พร่ำรำพันถึงนางผู้เป็นที่รัก อิเหนาตามหานางบุษบาอยู่เจ็ดเดือนก็หาไม่พบ เนื้อเรื่องจบลงที่อิเหนาและไพร่พลออกบวชอุทิศกุศลให้นางบุษบา ซึ่งอิเหนาคิดว่าคงจะตายไปแล้ว.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนิราศอิเหนา
นิราศนรินทร์
๑. ๏ ศรีสิทธิ์พิศาลภพ เลอหล้าลบล่มสวรรค์ จรรโลงโลกกว่ากว้าง แผนแผ่นผ้างเมืองเมรุ ศรีอยุธเยนทร์แย้มฟ้า แจกแสงจ้าเจิดจันทร์ เพียงรพิพรรณผ่องด้าว ขุนหาญห้าวแหนบาท สระทุกข์ราษฎร์รอนเสี้ยน ส่ายเศิกเหลี้ยนล่งหล้า ราญราบหน้าเภริน เข็ญข่าวยินยอบตัว ควบค้อมหัวไหว้ละล้าว ทุกไทน้าวมาลย์น้อม ขอออกอ้อมมาอ่อน ผ่อนแผ่นดินให้ผาย ขยายแผ่นฟ้าให้แผ้ว เลี้ยงทแกล้วให้กล้า พระยศไท้เทิศฟ้า เฟื่องฟุ้งทศธรรม ท่านแฮ ๚ะ (กรุงศรีอยุธยาแตกไปแล้ว แต่กลับลอยลงมาจากสวรรค์อีกหรืออย่างไร มีปราสาทพระราชวังอันงดงามตระการตา ด้วยบุญบารมีของพระมหากษัตริย์ช่วยทะนุบำรุงพระศาสนาให้รุ่งเรือง ปัดเป่าทุกข์ให้แก่ไพร่ฟ้าชาวประชา) นักวรรณคดีมักเปรียบเทียบโคลงบทนี้ กับโคลงดั้นจากโคลงกำสรวล ซึ่งขึ้นบาทแรกด้วยสำนวนคล้ายกัน ดังต่อไปนี้ ซึ่งเป็นบทชมพระนครเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ผู้แต่งอาจชื่นชมโคลงจากโคลงกำสรวล ซึ่งชื่นชมพระนครเมื่อครั้งยังรุ่งเรือง นอกจากนี้ในโคลงหมายเล.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนิราศนรินทร์
นิราศนครวัด
นิราศนครวัด เป็นนิราศร้อยแก้วเพียงเรื่องเดียวในบรรดาวรรณคดีของไทยทั้งหมด เป็นพระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ นักปราชญ์คนสำคัญของเมืองไทย นับเป็นหนังสือเล่าเรื่องเชิงประวัติศาสตร์และโบราณคดีเล่มแรกๆ ของไท.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนิราศนครวัด
นิราศเมืองแกลง
นิราศเมืองแกลง เป็นผลงานกวีนิพนธ์แบบกลอนประพันธ์โดยสุนทรภู่ เป็นนิราศเรื่องแรกของเขาที่ได้แต่งขึ้นในปี..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนิราศเมืองแกลง
นิราศเมืองเพชร
นิราศเมืองเพชร เป็นผลงานกวีนิพนธ์แบบกลอนประพันธ์โดยสุนทรภู่ ไม่ปรากฏว่าแต่งเรื่องนี้ขึ้นเมื่อใด แต่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า น่าจะแต่งเมื่อครั้งกลับเข้ารับราชการอยู่ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ และน่าจะเดินทางไปในราชการอย่างใดอย่างหนึ่ง ประมาณปี พ.ศ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนิราศเมืองเพชร
นิราศเดือน
นิราศเดือน เป็นกวีนิพนธ์เชิงนิราศ เขียนโดย นายมี หรือหมื่นพรหมสมพัตสร (พรม-สม-พัด-สอน) เกิดในสมัยรัชกาลที่ 1 เป็นศิษย์คนหนึ่งของสุนทรภู่ ที่ได้รับยกย่องว่าแต่งกลอนได้ดีเด่นใกล้เคียงกับสุนทรภู่มากที่สุด ผลงานร้อยกรองเรื่อง อื่น ๆ ของนายมี เช่น นิราศถลาง กลอนเพลงยาวสรรเสริญพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว นิราศพระแท่นดงรัง นิราศสุพรรณ เป็นต้น.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและนิราศเดือน
แก้วหน้าม้า
แก้วหน้าม้า เป็นวรรณคดีไทย พระนิพนธ์ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ ประพันธ์ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2 นอกจากพระนิพนธ์เรื่องนี้แล้ว ยังทรงมีผลงานพระนิพนธ์อื่น ๆ เช่น บทละครนอกเรื่องยอพระกลิ่น โคลงนิราศฉะเชิงเทรา บทละครนอกโม่งป่า และเพลงยาวสังวาสอีกหลายสำนวน.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและแก้วหน้าม้า
โคบุตร
โคบุตร เป็นนิทานกลอนเรื่องแรกของสุนทรภู่ แต่งขึ้นเพื่อถวายเจ้านายในพระราชวังหลังพระองค์หนึ่ง เป็นเรื่องเกี่ยวกับ โคบุตรซึ่งเป็นลูกของพระอาทิตย์และนางอัปสร โดยฝากเลี้ยงไว้กับพญาราชสีห์ และนางไกรสร เมื่อเจริญชันษาโคบุตรซึ่งได้รับของวิเศษจากพระอาทิตย์ คือ แหวน และสังวาล และได้รับมอบใบยาวิเศษที่สามารถชุบชีวิตคนตายให้มีชีวิตได้จากราชสีห์ ต่อจากนั้นจึงเป็นเรื่องราวการผจญภัยของโคบุตร ดังที่จะคัดมาตอนหนึ่งในตอนท้ายที่โคบุตรมีพระมเหสีสองคน คือ นางอำพันมาลา และนางมณีสาคร นางอำพันมาลาเห็นโคบุตรรักนางมณีสาครมากกว่าตน จึงทำเสน่ห์ให้โคบุตรหลงรัก แต่อรุณกุมารได้แก้ไขเสน่ห์ โคบุตรโกรธมากถึงกับสั่งประหาร แต่อรุณกุมารขอร้อง โคบุตรจึงขับไล่นางอำพันมาลาออกจากวัง ดังต่อไปนี้ หมวดหมู่:นิทาน หมวดหมู่:วรรณคดีประเภทกลอน หมวดหมู่:กวีนิพนธ์ของสุนทรภู่.
โคลงทวาทศมาส
ลงทวาทศมาส เป็นนิราศที่มีความพิเศษกว่านิราศเรื่องออื่นๆ เพราะในตัวนิราศโคลงทวาทศมาสเอง มีการหยิบยกเอาการดำเนินชีวิตของประชาชนในอดีตมาประกอบเป็นเนื้อเรื่องด้วย ซึ่งการแต่งในลักษณะดังกล่าว ถือเป็นการพัฒนาที่ดีขึ้นของวรรณคดีไทย มีลักษณะเป็นนิราศ แต่ที่เรียกโคลงทวาทศมาสเพราะว่า ใช้โคลงดั้นในการแต่ง.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและโคลงทวาทศมาส
โคลงนิราศพระยาตรัง
ลงนิราศพระยาตรัง หรือ โคลงนิราศถลาง เป็นนิราศคำโคลง แต่งโดยพระยาตรังคภูมาภิบาล (พระยาตรัง) ซึ่งเป็นเจ้าเมืองตรังในสมัยกรุงธนบุรีและช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ นิราศเรื่องนี้ไม่ปรากฏชื่อเรื่อง แต่เรียกกันโดยทั่วไปว่า นิราศพระยาตรัง โคลงนิราศพระยาตรัง นิราศตรัง หรือโคลงนิราศถลาง โคลงนิราศพระยาตรังนับเป็นโคลงนิราศเรื่องหนึ่งที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี โดยมีอายุร่วมสมัยกัยโคลงนิราศของนายนรินทรธิเบศร์ (นิราศนรินทร์) ซึ่งจะว่าเป็นยอดของโคลงนิราศเช่นกัน.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและโคลงนิราศพระยาตรัง
โคลงโลกนิติ
ลงโลกนิติ เป็นวรรณกรรมประเภทคำสอน ในลักษณะของโคลงสุภาษิต คำว่า โลกนิติ (อ่านว่า โลก-กะ-นิด) แปลว่า ระเบียบแบบแผนแห่งโลก เนื้อหาในโคลงโลกนิติจึงมุ่งแสดงความจริงของโลกและสัจธรรมของชีวิต เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เท่าทันต่อโลก และเข้าใจในความเป็นไปของชีวิต พร้อมเป็นแม่แบบเพื่อให้ผู้อ่านได้ดำเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้องดีงามสืบไป โคลงโลกนิติมีความไพเราะเหมาะสมทั้งด้านรูปแบบและเนื้อหาปรัชญาสาระ ครบคุณค่าทางวรรณกรรม ทำให้เป็นที่แพร่หลายในหมู่คนทั่วไป บางท่านกล่าวยกย่องโคลงโลกนิติว่าเป็น อมตะวรรณกรรมคำสอน หรือ ยอดสุภาษิตอมตะ, ได้รับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นบทอ่านในหนังสือแบบเรียนสำหรับนักเรียนนักศึกษาอยู่ทุกยุคสมัย และได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและโคลงโลกนิติ
ไชยทัต
ทัต เป็นวรรณคดีนิทานเรื่องหนึ่งในจำนวน ๑๔ เรื่องที่เป็นที่นิยมกันมากในสมัยอยุธยาตอนปลาย โดยมากมักจะนำมาเล่นเป็นละครนอก, ละครหุ่นหลวง หรือแม้กระทั่งนำมาเป็นกลอนสวด เพื่อสวดอ่านตามวัดต่างๆ ของภาคกลางในสมัยก่อน รวมทั้งยังนำมาเป็นการแสดงในงานมหรสพสมโภชต่าง ๆ เช่น งานสมโภชพระพุทธบาท ดังมีหลักฐานปรากฏในวรรณคดีสมัยอยุธยา เรื่องปุณโณวาทคำฉันท์ของพระมหานาค วัดท่าทราย ที่ได้พรรณนาถึงการแสดงละครหุ่นหลวงไว้ดังนี้ ตอนที่นิยมนำมาเล่นกันมากในการแสดงละครนอกและละครหุ่นหลวงคือ ตอนไชยทัตต้องคุณ นอกจากนี้ เรื่องไชยทัตก็ยังได้รับความนิยมมาจนถึงสมัยกรุงธนบุรีและสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น.
ไชยเชษฐ์
250px ไชยเชษฐ์ เป็น นิทานพื้นบ้าน สมัย กรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี มีผู้นำนิทานเรื่องนี้มาเล่นเป็นละครเพราะเป็นเรื่องสนุก ต่อมา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ทรงนำนิทาน เรื่องไชยเชษฐ์มาพระราชนิพนธ์เป็นบทละครนอก เดิมละครนอกเป็นละครที่ราษฎรเล่นกัน ให้ผู้ชายแสดงเป็นตัวละครทั้งหมด พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องไชยเชษฐ์ เพื่อให้เป็นบทละครนอกของหลวง และทรงให้ผู้หญิงที่เป็นละครหลวงแสดงอย่างละครนอก.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและไชยเชษฐ์
ไกรทอง
การต่อสู้ระหว่างไกรทอง กับชาละวันในร่างมนุษย์ ที่วัดอัมพวันเจติยาราม ไกรทอง เป็นนิทานพื้นบ้านภาคกลางของไทย ที่มีตัวเอกชื่อ ไกรทอง เล่าไว้หลายสำนวนด้วยกัน ภายหลังในสมัยรัชกาลที่ 2 ได้ทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทละครสำหรับละครนอก และได้รับความนิยม ยกย่องเป็นฉบับมาตรฐานฉบับหนึ่ง ซึ่งเป็นเรื่องราวความรักเกี่ยวกับคนและจระเข้.
ไตรภูมิพระร่วง
ปกหนังสือเก่าที่พิมพ์แจกในงานพระเมรุ เมื่อ พ.ศ. 2456 ไตรภูมิพระร่วง มีหลายชื่อเรียกได้แก่ "ไตรภูมิพระร่วง" "เตภูมิกถา" "ไตรภูมิกถา" "ไตรภูมิโลกวินิจฉัย" และ "เตภูมิโลกวินิจฉัย" เป็นวรรณกรรมศาสนาพุทธที่แต่งในสมัยสุโขทัยประมาณ..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและไตรภูมิพระร่วง
เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา
ลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา เป็นบทร้อยกรองประเภทเพลงยาว มีเนื้อหาเกี่ยวกับการทำนายสถานการณ์ของกรุงศรีอยุธยาในอนาคตว่าจะประสบวิบัติภัยนานา โดยคาดว่าประพันธ์ขึ้นราวสมัยรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ส่วนผู้ประพันธ์ยังไม่อาจระบุตัวได้แน่ชั.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและเพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา
เพลงยาวถวายโอวาท
ลงยาวถวายโอวาท เป็นผลงานกวีนิพนธ์แบบกลอนประพันธ์โดยสุนทรภู่ ขณะเมื่อเป็นพระอาจารย์ถวายอักษรแด่เจ้าฟ้ากลางและเจ้าฟ้าปิ๋ว พระโอรสในเจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี เชื่อว่าประพันธ์ขึ้นราวปี..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและเพลงยาวถวายโอวาท
เพลงยาวของพระยามหานุภาพ
ระยามหานุภาพแต่งเพลงยาว ๓ บท ขณะมีศักดิ์เป็นพระยามหานุภาพ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช หอสมุดแห่งชาติได้รวบรวมและจัดพิมพ์เพลงยาวนี้ในหนังสือ "ชุมนุมเพลงยาวสมัยโบราณ".
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและเพลงยาวของพระยามหานุภาพ
เวนิสวาณิช
''ปอร์เชีย'' ภาพวาดของ เฮนรี่ วู้ด เวนิสวาณิช (The Merchant of Venice) เป็นบทละครของวิลเลียม เชกสเปียร์ ซึ่งเชื่อว่าแต่งขึ้นในราวปี..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและเวนิสวาณิช
เสือโคคำฉันท์
ือโคคำฉันท์ เป็นวรรณคดีไทย ประเภทฉันท์เรื่องแรก และเป็นแบบฉบับของการแต่งฉันท์ในสมัยต่อมา ซึ่งพระมหาราชครู ภิกษุชาวเชียงใหม่ เป็นผู้แต่ง มีเค้าเรื่องอยู่ในปัญญาสชาดก.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและเสือโคคำฉันท์
เห่เรื่องพระอภัยมณี
ห่เรื่องพระอภัยมณี เป็นบทเห่กล่อมพระบรรทมที่ประพันธ์โดย สุนทรภู่ มีทั้งสิ้น ๘ ช่วง แต่ละช่วงนำมาจากเรื่องราวบางตอนของเรื่องพระอภัยมณี ได้แก.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและเห่เรื่องพระอภัยมณี
เห่เรื่องกากี
ห่เรื่องกากี เป็นบทเห่กล่อมพระบรรทมที่ประพันธ์โดย สุนทรภู่ โดยนำเนื้อหามาจากวรรณคดีไทยเรื่อง กากี เชื่อว่าสุนทรภู่ประพันธ์บทเห่กล่อมสำหรับใช้ขับกล่อมหม่อมเจ้าในพระองค์เจ้าลักขณานุคุณ กับพระเจ้าลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เห่เรื่องกากี จับใจความตอนที่พญาครุฑพาตัวนางกากีไปยังวิมานฉิมพลี ชมความงามของทะเลสีทันดรและขุนเขาน้อยใหญ.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและเห่เรื่องกากี
เห่เรื่องโคบุตร
เห่เรื่องโคบุตร เป็นบทเห่กล่อมพระบรรทมที่ประพันธ์โดย สุนทรภู่ โดยนำเนื้อหามาจากกลอนนิทานของสุนทรภู่เรื่อง โคบุตร เชื่อว่าสุนทรภู่ประพันธ์บทเห่กล่อมสำหรับใช้ขับกล่อมหม่อมเจ้าในพระองค์เจ้าลักขณานุคุณ กับพระเจ้าลูกยาเธอในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เห่เรื่องโคบุตร จับใจความตอนที่โคบุตรส่งสารรักไปถึงนางอำพันมาลา หมวดหมู่:บทเห่กล่อม หมวดหมู่:กวีนิพนธ์ของสุนทรภู่.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและเห่เรื่องโคบุตร
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งมีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ หรือพระนามที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า เจ้าฟ้ากุ้ง เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและกรมหลวงอภัยนุชิต พระองค์มีพระปรีชาสามารถหลายด้าน โดยเฉพาะด้านวรรณกรรมนั้น ทรงพระนิพนธ์วรรณกรรมไว้หลายเรื่อง เช่น กาพย์เห่เรือ นันโทปนันทสูตรคำหลวง พระมาลัยคำหลวง เนื่องจากพระองค์ลักลอบเป็นชู้กับพระสนมของพระราชบิดาจึงต้องพระอาญาให้เฆี่ยน เป็นเหตุให้พระองค์เสด็จสวรรคตในที.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและเจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์
เจ้าพระยาพระคลัง (หน)
้าพระยาพระคลัง (หน) เป็นขุนนางและ กวี เอกคนหนึ่งในสมัยต้น กรุงรัตนโกสินทร์ มีนามเดิมว่า หน เกิดเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด น่าจะอยู่ในช่วงปลายสมัย กรุงศรีอยุธยา และถึงแก่ อสัญกรรม ในสมัยรัชกาลที่ 1..
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและเจ้าพระยาพระคลัง (หน)
เงาะป่า
งาะป่า อาจหมายถึง.
ดู รายชื่อวรรณคดีไทยและเงาะป่า