สารบัญ
125 ความสัมพันธ์: ชีววิทยาชีววิทยาของเซลล์ชีวเคมีฟิสิกส์ฟิสิกส์เชิงคณิตศาสตร์พ.ศ. 2525พ.ศ. 2526พ.ศ. 2527พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พยาธิวิทยาพฤกษศาสตร์พันธุวิศวกรรมพันธุศาสตร์พิมพ์ใจ ใจเย็นพืชกรรมสวนมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒยอดหทัย เทพธรานนท์ยง ภู่วรวรรณ... ขยายดัชนี (75 มากกว่า) »
ชีววิทยา
ีววิทยา (Biology) เป็นแขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิต และสิ่งมีชีวิต ซึ่งรวมถึง โครงสร้าง การทำงาน การเจริญเติบโต ถิ่นกำเนิด วิวัฒนาการ การกระจายพันธุ์ และอนุกรมวิธาน โดยเป็นการศึกษาในทุก ๆ แง่มุมของสิ่งมีชีวิต โดยคำว่า ชีววิทยา (Biology) มาจากภาษากรีก คือคำว่า "bios" แปลว่า สิ่งมีชีวิต และ "logos" แปลว่า วิชา หรือการศึกษาอย่างมีเหตุผล.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและชีววิทยา
ชีววิทยาของเซลล์
Understanding cells in terms of their molecular components. ชีววิทยาของเซลล์ หรือ วิทยาเซลล์ (cell biology หรือ cytology) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ ทั้งในด้านคุณสมบัติทางสรีรวิทยา, โครงสร้าง, ออร์แกเนลล์ที่อยู่ภายใน, ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม, วัฎจักรเซลล์, การแบ่งเซลล์, และการตายของเซลล์ การศึกษาคุณสมบัติของเซลล์ดังกล่าวเป็นการศึกษาในระดับจุลทรรศน์และระดับโมเลกุล การวิจัยในทางชีววิทยาของเซลล์นั้นกว้างขวางและหลากหลายมากตั้งแต่ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวอย่างแบคทีเรียไปจนถึงเซลล์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมายในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่นในมนุษย์ ความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของเซลล์และการทำงานของเซลล์เป็นพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ชีวภาพทุกสาขา ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างเซลล์แต่ละชนิดมีความสำคัญในด้านชีววิทยาของเซลล์และอณูชีววิทยา การศึกษาชีววิทยาเซลล์นั้นมีความเกี่ยวข้องกับพันธุศาสตร์, ชีวเคมี, อณูชีววิทยา และชีววิทยาของการเจริญ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและชีววิทยาของเซลล์
ชีวเคมี
ชีวเคมี (biochemistry) หรือเรียกว่า เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เป็นวิชาที่ศึกษากระบวนการเคมีในสิ่งมีชีวิต ตลอดจนการควบคุมในระดับต่าง ๆ อย่างเช่นที่เกี่ยวกับการแปรรูปสารอาหารไปเป็นพลังงาน, การสร้างและเปลี่ยนแปลงสารชีวโมเลกุลภายในเซลล์ที่เรียกว่า กระบวนการ เมแทบอลิซึม การทำงานของเอนไซม์และโคเอนไซม์, ระบบของพลังงานในสิ่งมีชีวิต, การสลายและการสังเคราะห์สารชีวโมเลกุลต่าง ๆ ชื่อนี้มาจากภาษาเยอรมันว่า บิโอเคมี (Biochemie) ซึ่งแรกตั้งโดย ฮอปเปอ-ซีเลอร์ (Hoppe-Sieler) ในปี พ.ศ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและชีวเคมี
ฟิสิกส์
แสงเหนือแสงใต้ (Aurora Borealis) เหนือทะเลสาบแบร์ ใน อะแลสกา สหรัฐอเมริกา แสดงการแผ่รังสีของอนุภาคที่มีประจุ และ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ขณะเดินทางผ่านสนามแม่เหล็กโลก ฟิสิกส์ (Physics, φυσικός, "เป็นธรรมชาติ" และ φύσις, "ธรรมชาติ") เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับ สสาร และ พลังงาน ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสสารกับพลังงาน รวมทั้งเป็นความรู้พื้นฐานที่นำไปใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิต และเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่มนุษย์ ตัวอย่างเช่น การนำความรู้พื้นฐานทางด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ไปใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ (โทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ) อย่างแพร่หลาย หรือ การนำความรู้ทางอุณหพลศาสตร์ไปใช้ในการพัฒนาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ ยิ่งไปกว่านั้นความรู้ทางฟิสิกส์บางอย่างอาจนำไปสู่การสร้างเครื่องมือใหม่ที่ใช้ในวิทยาศาสตร์สาขาอื่น เช่น การนำความรู้เรื่องกลศาสตร์ควอนตัม ไปใช้ในการพัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่ใช้ในชีววิทยา เป็นต้น นักฟิสิกส์ศึกษาธรรมชาติ ตั้งแต่สิ่งที่เล็กมาก เช่น อะตอม และ อนุภาคย่อย ไปจนถึงสิ่งที่มีขนาดใหญ่มหาศาล เช่น จักรวาล จึงกล่าวได้ว่า ฟิสิกส์ คือ ปรัชญาธรรมชาติเลยทีเดียว ในบางครั้ง ฟิสิกส์ ถูกกล่าวว่าเป็น แก่นแท้ของวิทยาศาสตร์ (fundamental science) เนื่องจากสาขาอื่น ๆ ของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เช่น ชีววิทยา หรือ เคมี ต่างก็มองได้ว่าเป็น ระบบของวัตถุต่าง ๆ หลายชนิดที่เชื่อมโยงกัน โดยที่เราสามารถสามารถอธิบายและทำนายพฤติกรรมของระบบดังกล่าวได้ด้วยกฎต่าง ๆ ทางฟิสิกส์ ยกตัวอย่างเช่น คุณสมบัติของสารเคมีต่าง ๆ สามารถพิจารณาได้จากคุณสมบัติของโมเลกุลที่ประกอบเป็นสารเคมีนั้น ๆ โดยคุณสมบัติของโมเลกุลดังกล่าว สามารถอธิบายและทำนายได้อย่างแม่นยำ โดยใช้ความรู้ฟิสิกส์สาขาต่าง ๆ เช่น กลศาสตร์ควอนตัม, อุณหพลศาสตร์ หรือ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นต้น ในปัจจุบัน วิชาฟิสิกส์เป็นวิชาที่มีขอบเขตกว้างขวางและได้รับการพัฒนามาแล้วอย่างมาก งานวิจัยทางฟิสิกส์มักจะถูกแบ่งเป็นสาขาย่อย ๆ หลายสาขา เช่น ฟิสิกส์ของสสารควบแน่น ฟิสิกส์อนุภาค ฟิสิกส์อะตอม-โมเลกุล-และทัศนศาสตร์ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์พลศาสตร์ที่ไม่เป็นเชิงเส้น-และเคออส และ ฟิสิกส์ของไหล (สาขาย่อยฟิสิกส์พลาสมาสำหรับงานวิจัยฟิวชั่น) นอกจากนี้ยังอาจแบ่งการทำงานของนักฟิสิกส์ออกได้อีกสองทาง คือ นักฟิสิกส์ที่ทำงานด้านทฤษฎี และนักฟิสิกส์ที่ทำงานทางด้านการทดลอง โดยที่งานของนักฟิสิกส์ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาทฤษฎีใหม่ แก้ไขทฤษฎีเดิม หรืออธิบายการทดลองใหม่ ๆ ในขณะที่ งานการทดลองนั้นเกี่ยวข้องกับการทดสอบทฤษฎีที่นักฟิสิกส์ทฤษฎีสร้างขึ้น การตรวจทดสอบการทดลองที่เคยมีผู้ทดลองไว้ หรือแม้แต่ การพัฒนาการทดลองเพื่อหาสภาพทางกายภาพใหม่ ๆ ทั้งนี้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ภาคปฏิบัติ ขึ้นอยู่กับขีดจำกัดของการสังเกต และประสิทธิภาพของเครื่องมือวัด ถ้าเทคโนโลยีของเครื่องมือวัดพัฒนามากขึ้น ข้อมูลที่ได้จะมีความละเอียดและถูกต้องมากขึ้น ทำให้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ยิ่งขยายออกไป ข้อมูลที่ได้ใหม่ อาจไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ทฤษฎีและกฎที่มีอยู่เดิมทำนายไว้ ทำให้ต้องสร้างทฤษฏีใหม่ขึ้นมาเพื่อทำให้ความสามารถในการทำนายมีมากขึ้น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและฟิสิกส์
ฟิสิกส์เชิงคณิตศาสตร์
ฟิสิกส์เชิงคณิตศาสตร์ (mathematical physics) เป็นสาขาวิชาฟิสิกส์ที่ใช้หลักการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา โดยอาจแบ่งได้เป็น 2 ยุค คือยุคแรกหรือยุคคลาสสิก ฟิสิกส์เชิงคณิตศาสตร์คิดค้นเพื่อใช้แก้ปัญหาทางกลศาสตร์ ทฤษฎีไฟฟ้าแม่เหล็ก และอุณหพลศาสตร์เป็นต้น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและฟิสิกส์เชิงคณิตศาสตร์
พ.ศ. 2525
ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2525
พ.ศ. 2526
ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2526
พ.ศ. 2527
ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2527
พ.ศ. 2528
ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2528
พ.ศ. 2529
ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2529
พ.ศ. 2530
ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2530
พ.ศ. 2531
ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2531
พ.ศ. 2532
ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2532
พ.ศ. 2533
ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2533
พ.ศ. 2534
ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2534
พ.ศ. 2535
ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2535
พ.ศ. 2536
ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2536
พ.ศ. 2537
ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2537
พ.ศ. 2538
ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2539
พ.ศ. 2540
ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2540
พ.ศ. 2541
ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2541
พ.ศ. 2542
ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2542
พ.ศ. 2543
ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2543
พ.ศ. 2544
ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2544
พ.ศ. 2545
ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2545
พ.ศ. 2546
ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2546
พ.ศ. 2547
ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2547
พ.ศ. 2548
ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2550
พ.ศ. 2551
ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2551
พ.ศ. 2552
ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2552
พ.ศ. 2553
ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2553
พ.ศ. 2554
ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2554
พ.ศ. 2555
ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2555
พ.ศ. 2556
ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2556
พ.ศ. 2557
ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2557
พ.ศ. 2558
ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2559
พ.ศ. 2560
ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพ.ศ. 2560
พยาธิวิทยา
วิทยา เป็นการศึกษาและวินิจฉัยโรคจากการตรวจอวัยวะ, เนื้อเยื่อ, เซลล์, สารคัดหลั่ง, และจากทั้งร่างกายมนุษย์ (จากการชันสูตรพลิกศพ) พยาธิวิทยายังหมายถึงการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของการดำเนินโรค ซึ่งหมายถึงพยาธิวิทยาทั่วไป (General pathology) พยาธิวิทยาทางการแพทย์แบ่งออกเป็น 2 สาขาหลักๆ ได้แก่ พยาธิกายวิภาค (Anatomical pathology) และพยาธิวิทยาคลินิก (Clinical pathology) นอกจากการศึกษาในคนแล้ว ยังมีการศึกษาพยาธิวิทยาในสัตว์ (Veterinary pathology) และในพืช (Phytopathology) ด้วย วิชาพยาธิวิทยามักถูกเข้าใจผิดว่าเป็นการศึกษาเกี่ยวกับพยาธิหรือปรสิตเนื่องจากมีคำที่พ้องรูปกัน ซึ่งในความเป็นจริงวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพยาธิคือวิชาปรสิตวิทยา (Parasitology) ส่วนผู้ที่มีอาชีพทางด้านพยาธิวิทยาเรียกว่าพยาธิแพท.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพยาธิวิทยา
พฤกษศาสตร์
ผลจันทน์เทศ (''Myristica fragrans'') พฤกษศาสตร์ หรือ ชีววิทยาของพืช หรือ วิทยาการพืช,พืชศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของชีววิทยา ที่ศึกษาเกี่ยวกับพืชและการเจริญเติบโต พฤกษศาสตร์มีขอบเขตการศึกษาที่กว้างขวางครอบคลุมตั้งแต่พืช สาหร่าย และเห็ดรา ศึกษาทั้งในด้านโครงสร้าง การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ เมแทบอลิซึม โรค และคุณสมบัติทางเคมีและความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการระหว่างกลุ่มต่าง ๆ การศึกษาทางด้านพฤกษศาสตร์เริ่มต้นจากความรู้ที่สืบต่อกันมา จากการจำแนกพืชที่กินได้ พืชสมุนไพรและพืชมีพิษ เป็นศาสตร์ที่เก่าแก่สาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ จากความสนใจในเรื่องพืชของบรรพบุรษทำให้ปัจจุบันจำแนกสิ่งมีชีวิตในด้านพฤกษศาสตร์มากกว่า 550,000 ชนิดหรือสปีชี.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพฤกษศาสตร์
พันธุวิศวกรรม
ันธุวิศวกรรม หรือ วิศวกรรมพันธุศาสตร์ (Genetic engineering), หรือที่เรียกว่า "การดัดแปลงพันธุกรรม" (genetic modification) คือการยักย้ายถ่ายเทโดยตรงของจีโนมของสิ่งมีชีวิตโดยใช้เทคโนโลยีชีว.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพันธุวิศวกรรม
พันธุศาสตร์
ีเอ็นเอเป็นโมเลกุลพื้นฐานของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ดีเอ็นเอแต่ละสายประกอบขึ้นจากสายโซ่นิวคลีโอไทด์จับคู่กันรอบกึ่งกลางกลายเป็นโครงสร้างที่ดูเหมือนบันไดซึ่งบิดเป็นเกลียว พันธุศาสตร์ (genetics) เป็นอีกสาขาหนึ่งของชีววิทยา ศึกษาเกี่ยวกับยีน การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และความหลากหลายทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต พันธุศาสตร์ว่าด้วยโครงสร้างเชิงโมเลกุลและหน้าที่ของยีน พฤติกรรมของยีนในบริบทของเซลล์สิ่งมีชีวิต (เช่น ความเด่นและอีพิเจเนติกส์) แบบแผนของการถ่ายทอดลักษณะจากรุ่นสู่รุ่น การกระจายของยีน ความแตกต่างทางพันธุกรรมและการเปลี่ยนแปลงของพันธุกรรมในประชากรของสิ่งมีชีวิต (เช่นการศึกษาหาความสัมพันธ์ของยีนตลอดทั่วทั้งจีโนม) เมื่อถือว่ายีนเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด พันธุศาสตร์จึงเป็นวิชาที่นำไปใช้ได้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ทั้งไวรัส แบคทีเรีย พืช สัตว์ และมนุษย์ (เวชพันธุศาสตร์) ได้มีการสังเกตมาแต่โบราณแล้วว่าสิ่งมีชีวิตมีการถ่ายทอดลักษณะจากรุ่นสู่รุ่น ซึ่งเป็นความรู้ที่มนุษย์ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ด้วยวิธีการคัดเลือกพันธุ์ อย่างไรก็ดี ความรู้พันธุศาสตร์สมัยใหม่ที่ว่าด้วยการพยายามทำความเข้าใจกระบวนการการถ่ายทอดลักษณะเช่นนี้เพิ่งเริ่มต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเกรเกอร์ เมนเดล แม้เขาไม่สามารถศึกษาเจาะลึกไปถึงกระบวนการทางกายภาพของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม แต่ก็ค้นพบว่าลักษณะที่ถ่ายทอดนั้นมีแบบแผนจำเพาะ กำหนดได้ด้วยหน่วยพันธุกรรม ซึ่งต่อมาถูกเรียกว่า ยีน ยีนคือส่วนหนึ่งของสายดีเอ็นเอซึ่งเป็นโมเลกุลที่ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์สี่ชนิดเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว ลำดับนิวคลีโอไทด์สี่ชนิดนี้คือข้อมูลทางพันธุกรรมที่ถูกเก็บและมีการถ่ายทอดในสิ่งมีชีวิต ดีเอ็นเอตามธรรมชาติอยู่ในรูปเกลียวคู่ โดยนิวคลีโอไทด์บนแต่ละสายจะเป็นคู่สมซึ่งกันและกันกับนิวคลีโอไทด์บนสายดีเอ็นเออีกสายหนึ่ง แต่ละสายทำหน้าที่เป็นแม่แบบในการสร้างสายคู่ขึ้นมาได้ใหม่ นี่คือกระบวนการทางกายภาพที่ทำให้ยีนสามารถจำลองตัวเอง และถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้ ลำดับของนิวคลีโอไทด์ในยีนจะถูกแปลออกมาเป็นสายของกรดอะมิโน ประกอบกันเป็นโปรตีน ซึ่งลำดับของกรดอะมิโนที่มาประกอบกันเป็นโปรตีนนั้นถ่ายทอดออกมาจากลำดับของนิวคลีโอไทด์บนดีเอ็นเอ ความสัมพันธ์ระหว่างลำดับของนิวคลีโอไทด์และลำดับของกรดอะมิโนนี้เรียกว่ารหัสพันธุกรรม กรดอะมิโนแต่ละชนิดที่ประกอบขึ้นมาเป็นโปรตีนช่วยกำหนดว่าสายโซ่ของกรดอะมิโนนั้นจะพับม้วนเกิดเป็นโครงสร้างสามมิติอย่างไร โครงสร้างสามมิตินี้กำหนดหน้าที่ของโปรตีนนั้น ๆ ซึ่งโปรตีนมีหน้าที่ในกระบวนการเกือบทั้งหมดของเซลล์สิ่งมีชีวิต การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับดีเอ็นเอในยีนยีนหนึ่ง อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลำดับกรดอะมิโนในโปรตีน เปลี่ยนโครงสร้างโปรตีน เปลี่ยนการทำหน้าที่ของโปรตีน ซึ่งอาจส่งผลต่อเซลล์และสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ได้อย่างมาก แม้พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตจะมีบทบาทมากในการกำหนดลักษณะและพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต แต่ผลสุดท้ายแล้วตัวตนของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ๆ เป็นผลที่ได้จากการผสมผสานกันระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ประสบ ตัวอย่างเช่น ขนาดของสิ่งมีชีวิตไม่ได้ถูกกำหนดโดยยีนเพียงอย่างเดียว แต่ได้รับผลจากอาหารและสุขภาพของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ด้วย เป็นต้น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพันธุศาสตร์
พิมพ์ใจ ใจเย็น
.ดร. พิมพ์ใจ ใจเย็น ศาสตราจารย์ พิมพ์ใจ ใจเย็น (25 ธันวาคม 2513 -) เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ สาขาชีวเคมี ประจำปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพิมพ์ใจ ใจเย็น
พืชกรรมสวน
วนไม้ดอกในฝรั่งเศส พืชกรรมสวน หรือ วิชาพืชสวน (Horticulture) คือวิชาที่ครอบคลุมอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์แห่งการเพาะปลูกพืชผล นักพืชสวน หรือพืชกรสวน (hell) ทำงานและปฏิบัติงานค้นคว้าวิจัยในงานในสาขาการขยายพันธุ์พืช การเพาะปลูก การผลิตกรรมทางเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช งานวิศวกรรมพันธุศาสตร์ ชีวเคมีพืช และสรีรวิทยาพืช ขอบเขตของงานเกี่ยวข้องกับไม้ผล เบอรี่ (berries) นัท (nuts) ผัก ไม้ดอก ไม้ยืนต้น ไม้พุ่มและหญ้าสนาม พืชกรทำการปรับปรุงเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชผล คุณค่าทางอาหารของพืชผลและการต้านทานต่อโรค แมลงและสภาพเครียดทางสิ่งแวดล้อม.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและพืชกรรมสวน
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (Srinakharinwirot University; ชื่อย่อ: มศว - SWU) ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง" ซึ่งก่อตั้งเมื่อ..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ยอดหทัย เทพธรานนท์
ตราจารย์เกียรติคุณ ยอดหทัย เทพธรานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2486 ที่กรุงเทพมหานคร ประธานกรรมการบริหารบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (บวท.) เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาเคมี ประจำปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและยอดหทัย เทพธรานนท์
ยง ภู่วรวรรณ
ตราจารย์นายแพทย์ ยง ภู่วรวรรณ เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ราชบัณฑิตและหัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและยง ภู่วรวรรณ
ยงยุทธ ยุทธวงศ์
ตราจารย์ ยงยุทธ ยุทธวงศ์ (เกิด 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 ที่จังหวัดลพบุรี) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นสาขาเคมี อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาและอดีตรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นบุคคลหนึ่งที่มีบทบาทในการศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและประธานกรรมการในคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวิจั.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและยงยุทธ ยุทธวงศ์
ยงค์วิมล เลณบุรี
ตราจารย์ ยงค์วิมล เลณบุรี (23 สิงหาคม 2495 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานดีเด่นในสาขาคณิตศาสตร์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ 11 สังกัด คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการยกย่องให้เป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและยงค์วิมล เลณบุรี
รัชตะ รัชตะนาวิน
ตราจารย์ นายแพทย์ รัชตะ รัชตะนาวิน (13 สิงหาคม พ.ศ. 2493 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและประธานกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและรัชตะ รัชตะนาวิน
รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
รางวัลนักวิจัยรุ่นกลางดีเด่น สกว.-สกอ.
รางวัลนักวิจัยรุ่นกลางดีเด่น สกว.-สกอ. (TRF-CHE Outstanding Mid-Career Researcher Award) เป็นรางวัลเชิดชูเกียรติระดับชาติสำหรับนักวิจัย"รุ่นกลาง" ที่มีการมอบมาตั้งแต่ปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและรางวัลนักวิจัยรุ่นกลางดีเด่น สกว.-สกอ.
รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สกว.-สกอ.
“รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สกว.-สกอ." (TRF-CHE Outstanding New Researcher Award) “รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สกว.-สกอ." (TRF-CHE Outstanding New Researcher Award) เป็นรางวัลเชิดชูเกียรติระดับชาติสำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่ที่มีการมอบมาตั้งแต่ปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและรางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สกว.-สกอ.
รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ริเริ่มให้มี รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ มาตั้งแต่ปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น เป็นรางวัลเพื่อเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ไทยที่มีผลงานดีเด่น โดยจะประกาศรางวัลในต้นเดือนสิงหาคมของทุกปี และมอบรางวัลในวันที่ 18 สิงหาคม ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" โดยถือเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการว่ารางวัลนี้เป็นรางวัลสูงสุดของประเทศสำหรับนักวิทยาศาสตร์พื้นฐานและนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยมีรางวัลเป็นโล่พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และเงินรางวัล 200,000-400,000 บาท พระราชทานโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" ที่งานมหกรรมวิทยาศาสตร์แห่งชาติพร้อมกันกับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ รางวัลนี้สนับสนุนโดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ สวท.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย
รางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ เริ่มโครงการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2543 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรตินักเทคโนโลยีที่มีผลงานดีเด่น ไม่ว่าจะเป็นนักเทคโนโลยีของรัฐหรือภาคเอกชน เพื่อจูงใจให้มีนักวิชาการและนักพัฒนาเทคโนโลยีของไทยที่มีความสามารถสูงจำนวนมากขึ้น และหันมาช่วยกันพัฒนาเทคโนโลยีของไทยให้สามารถแข่งขันในเชิงอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์ในโลกได้โดยเร็ว และหวังจะก่อให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีไทยในอนาคตในอัตราที่สูงขึ้น ซึ่งจะทำให้ประเทศไทยมีความจำเป็นน้อยลงที่จะต้องพึ่งพาและซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศต่อไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้สร้างพระบรมรูปขณะทรงเรือใบซูเปอร์มดหล่อด้วยบรอนซ์ สำหรับมอบเป็นรางวัลแก่นักเทคโนโลยีดีเด่น และเหรียญรางวัลแก่นักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ในวันเทคโนโลยีแห่งชาติของทุกปี รางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่
รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ เริ่มโครงการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2543 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรตินักเทคโนโลยีที่มีผลงานดีเด่น ไม่ว่าจะเป็นนักเทคโนโลยีของรัฐหรือภาคเอกชน เพื่อจูงใจให้มีนักวิชาการและนักพัฒนาเทคโนโลยีของไทยที่มีความสามารถสูงจำนวนมากขึ้น และหันมาช่วยกันพัฒนาเทคโนโลยีของไทยให้สามารถแข่งขันในเชิงอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์ในโลกได้โดยเร็ว และหวังจะก่อให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีไทยในอนาคตในอัตราที่สูงขึ้น ซึ่งจะทำให้ประเทศไทยมีความจำเป็นน้อยลงที่จะต้องพึ่งพาและซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศต่อไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้สร้างพระบรมรูปขณะทรงเรือใบซูเปอร์มดหล่อด้วยบรอนซ์ สำหรับมอบเป็นรางวัลแก่นักเทคโนโลยีดีเด่น และเหรียญรางวัลแก่นักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ในวันเทคโนโลยีแห่งชาติของทุกปี รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น
วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์
ตราจารย์ นายแพทย์วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ (29 พฤษภาคมพ.ศ. 2512-) ผู้อำนวยการศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านเวชพันธุศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย,นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี ๒๕๕๕.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและวรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์
วัลลภ สุระกำพลธร
ตราจารย์ ดร. วัลลภ สุระกำพลธร ศาสตราจารย์ วัลลภ สุระกำพลธร (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 —) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิจัยชาวไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะกับงานวิจัยและการออกแบบระบบวงจรที่เหมาะสมกับการทำเป็นวงจรรวม ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดับ 11 ประจำภาควิชาอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้รับการประกาศยกย่องให้รับรางวัล นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและวัลลภ สุระกำพลธร
วิศวกรรมศาสตร์
การจะออกแบบสร้างกังหันลมในทะเลต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในหลายๆสาขาประกอบเข้าด้วยกัน วิศวกรรมอาจจะหมายถึงพระวิศวกรรม วิศวกรรมศาสตร์ เป็นสาขาความรู้และวิชาชีพเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ประยุกตวิทยา (เทคโนโลยี), วิทยาศาสตร์และความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์จากกฎทางธรรมชาติและทรัพยากรทางกายภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุด, เพื่อช่วยในการออกแบบและประยุกต์ใช้ วัสดุ, โครงสร้าง, เครื่องจักร, เครื่องมือ, ระบบ และ กระบวนการ เพื่อการตอบสนองต่อจุดประสงค์ที่ต้องการได้อย่างปลอดภัยและเชื่อถือได้ American Engineers' Council for Professional Development (ECPD, ซึ่งต่อมาคือ ABET) ได้ให้นิยามเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์เอาไว้ดังนี้.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและวิศวกรรมศาสตร์
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering) เป็นการบูรณาการของหลักการทางวิทยาศาสตร์และทางวิศวกรรมเพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ, เพื่อให้มีน้ำ, อากาศ, และที่ดินที่มีสุขภาพดีสำหรับการอยู่อาศัยของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ, และเพื่อทำความสะอาดสถานที่มลพิษ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
วิศวกรรมเคมี
วิศวกรเคมีออกแบบและควบคุมกระบวนการผลิตทางเคมี วิศวกรรมเคมี (chemical engineering) เป็นการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์, คณิตศาสตร์, ของไหล, การแลกเปลี่ยนความร้อน และเศรษฐศาสตร์ กับกระบวนการเปลี่ยนวัตถุดิบ หรือเคมีภัณฑ์ ให้อยู่ในรูปที่มีประโยชน์ วิศวกรรมเคมีเป็นวิชาที่ว่าด้วยการออกแบบและควบคุมการทำงานของกระบวนการทางเคมีในระดับมหภาพ วิศวกรเคมีที่ทำงานในด้านการควบคุมกระบวนการมักจะถูกเรียกว่าวิศวกรกระบวนการ (Process Engineer).
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและวิศวกรรมเคมี
วิศวกรรมเครื่องกล
วิศวกรรมเครื่องกลออกแบบและสร้างเครื่องจักร งานวิศวกรรมเครื่องกลรวมไปถึงยานพาหนะในทุกขนาด ระบบปรับอากาศเองก็เป็นหนึ่งในงานทางวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical engineering) เป็นวิชาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์และกฎทางฟิสิกส์เพื่อการประดิษฐ์ การผลิต และการดูแลรักษาระบบเชิงกล วิศวกรรมเครื่องกลเป็นหนึ่งในสาขาทางวิศวกรรมที่เก่าแก่ที่สุดและมีขอบข่ายกว้างขวางที่สุด การศึกษาวิศวกรรมเครื่องกลนั้นจำเป็นต้องมีความเข้าใจในหลักการพื้นฐานของหลักกลศาสตร์ พลศาสตร์ อุณหพลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหลและพลังงานเป็นอย่างดี วิศวกรเครื่องกลนั้นสามารถใช้หลักการณ์พื้นฐานได้ดีพอกับความรู้อื่น ๆ ในงานภาคสนามเพื่อการออกแบบและวิเคราะห์ยานยนต์ อากาศยาน ระบบทำความร้อนและความเย็น เรือ ระบบการผลิต จักรกลและอุปกรณ์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นต้น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและวิศวกรรมเครื่องกล
วิสุทธิ์ ใบไม้
ตราจารย์ วิสุทธิ์ ใบไม้ เกิด 1 เม.ย. 2485 ที่ตำบลกง อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีผลงานดีเด่นในสาขาชีววิทยา พันธุศาสตร์ และความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย เป็นผู้ก่อตั้งโครงการ BRT (Biodeversity Research and Training Program) หรือมีชื่อภาษาไทยว่า "โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย" อันเป็นโครงการที่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมกับ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ศช.) ให้ทุนสนับสนุนมาตั้งแต่ ปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและวิสุทธิ์ ใบไม้
วิทยาการระบาด
วิทยาการระบาด เป็นการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชากร และเป็นพื้นฐานและตรรกะที่ทำให้เกิดแนวคิดความสนใจในสาธารณสุขและเวชศาสตร์ป้องกัน สาขาวิชานี้วิธีที่สำคัญพื้นฐานของงานวิจัยด้านสาธารณสุข และเกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์อิงหลักฐาน (evidence-based medicine) ในการหาปัจจัยเสี่ยงของโรคและประเมินวิธีการรักษาที่เหมาะสมที่สุด งานของนักวิทยาการระบาดที่เกี่ยวข้องกับโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ มีขอบเขตตั้งแต่การสืบค้นการระบาดของโรค (outbreak investigation) ไปจนถึงการออกแบบการศึกษา การเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ รวมทั้งการพัฒนาแบบจำลองทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานและการเตรียมผลการวิจัยเพื่อเสนอผลการวิจัย นักวิทยาการระบาดอาจอาศัยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์หลายอย่างเช่นชีววิทยาในการทำความเข้าใจการดำเนินโรค และระเบียบวิธีทางสังคมศาสตร๋ เช่นสังคมศาสตร์และปรัชญาเพื่อช่วยในการทำความเข้าใจปัจจัยเสี่ยงใกล้เคียงและไกล.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและวิทยาการระบาด
วิทยาการคอมพิวเตอร์
วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer science) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และ เครือข่าย ซึ่งวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ระดับนามธรรม หรือความคิดเชิงทฤษฎี เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ไปจนถึงระดับรูปธรรม เช่น ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และ ทฤษฎีเครือข่าย ในแง่ของศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นั้น วิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นหนึ่งในห้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หรือ ระบบสารสนเทศทางธุรก.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและวิทยาการคอมพิวเตอร์
วิทยาภูมิคุ้มกัน
วิทยาภูมิคุ้มกัน หรือ วิทยาอิมมูน (immunology) เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ที่ครอบคลุมความรู้เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันในสิ่งมีชีวิต โดยมีเนื้อหาครอบคลุมกลไกการทำงานทางสรีรวิทยาของระบบภูมิคุ้มกันทั้งในสภาพร่างกายที่ปรกติและเมื่อเกิดพยาธิสภาพขึ้น พยาธิสภาพอาจจะเกิดจากสิ่งแปลกปลอมจากภายนอกเช่น เชื้อโรคหรือจากสารที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ (allergen) รวมทั้งโรคที่มีความผิดปรกติทางระบบภูมิคุ้มกันเช่น โรคภูมิคุ้มกันต่อต้านร่างกายตัวเอง (autoimmune) โรคภูมิคุ้มกันไวผิดปรกติ (hypersensitivity) โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (immunodeficiency) ภาวะการต่อต้านอวัยวะใหม่ (graft rejection) เป็นต้น นอกจากนี้วิชาภูมิคุ้มกันวิทยายังได้ศึกษาในเชิงลึกเกี่ยวกับหน้าที่และคุณสมบัติต่างๆ ของระบบภูมิคุ้มกันโดยเฉพาะการทำงานของแอนติบอดี ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญทางด้านวิทยาศาสตร์เช่น ในทางการแพทย์ใช้แอนตีบอดีในการวินิจฉัยจากปริมาณสารที่พบในโรคหรือสภาวะบางจากพลาสมาหรือเนื้อเยื่อ และทางการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้นำมาใช้ในการวัดปริมาณของโปรตีนในตัวอย่างทางชีวภาพต่างๆ หมวดหมู่:ชีววิทยา.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและวิทยาภูมิคุ้มกัน
วิทยาศาสตร์สุขภาพ
วิทยาศาสตร์สุขภาพ คือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่ศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ วิทยาศาสตร์สุขภาพสามารถแบ่งออกได้ 2 ส่วน ส่วนแรก คือ การศึกษา วิจัย และความรู้ที่เกี่ยวกับสุขภาพ ส่วนที่ 2 คือ การนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสุขภาพ, รักษาโรค และทำความเข้าใจการทำงานของร่างกายมนุษย์และสัตว์ งานวิจัยด้านนี้วางอยู่บนฐานของชีววิทยา, เคมี และฟิสิกส์ รวมไปถึงความรู้ด้านสังคมศาสตร์ เช่น สังคมวิทยาการแพท.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและวิทยาศาสตร์สุขภาพ
วิทยาศาสตร์ประยุกต์
วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (อังกฤษ: applied science) คือสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ที่นำความรู้จากวิทยาศาสตร์ธรรมชาติไปใช้กับปัญหาในทางปฏิบัติ สาขาวิชาต่างของวิศวกรรมศาสตร์เป็นตัวอย่างของวิทยาศาสตร์ประยุกต์ วิทยาศาสตร์ประยุกต์มีความสำคัญสำหรับการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ และในด้านอุตสาหกรรมเรียกวิทยาศาสตร์ประยุกต์ว่า การวิจัยและพัฒนา (research & development) มีนักวิทยาศาสตร์ดังนี้ 1.ทอมัส อัลวา เอดิสัน 2.ไมเคิล ฟาราเดย์ 3.หลุยส์ ปาสเตอร์ 4.พี่น้องตระกูลไรต์ 5.กาลิเลโอ กาลิเลอี.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ศกรณ์ มงคลสุข
ตราจารย์ ศกรณ์ มงคลสุข เกิดวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวน 4 คน ของ ศาสตราจารย์ ดร.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและศกรณ์ มงคลสุข
สกล พันธุ์ยิ้ม
ตราจารย์ สกล พันธุ์ยิ้ม (31 มีนาคม 2486 -) เกิดที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานวิจัยดีเด่นในสาขาชีวเคมี อณูชีววิทยา พันธุศาสตร์ และพันธุวิศวกรรม เป็นเจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย สาขาชีวเคมี ประจำปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและสกล พันธุ์ยิ้ม
สัตววิทยา
ัตววิทยา (Zoology, มาจากภาษากรีกโบราณ ζῷον (zoon) หมายถึง "สัตว์" และ λόγος หมายถึง "วิทยาการ หรือ ความรู้") จัดเป็นศาสตร์ด้านชีววิทยาสาขาหนึ่ง เกี่ยวข้องกับสมาชิกในอาณาจักรสัตว์ และชีวิตสัตว์โดยทั่วไป โดยเป็นการศึกษาเรื่องสัตว์ ตั้งแต่พวกสัตว์ชั้นต่ำพวก ฟองน้ำ แมงกะพรุน พยาธิตัวแบน พยาธิตัวกลม กลุ่มหนอนปล้อง สัตว์ที่มีข้อปล้อง กลุ่มสัตว์พวกหอย ปลาดาว จนถึง สัตว์มีกระดูกสันหลัง และ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตววิทยาศึกษาโดยรวมเกี่ยวกับร่างกายของสัตว์ ไม่ได้เน้นส่วนใดส่วนหนึ่ง และกระบวนการสำคัญในการดำรงชีพ แต่ศึกษาความสัมพันธ์ของสัตว์หรือกลุ่มสัตว์กับสภาพแวดล้อม เนื่องจากเป็นขอบเขตการศึกษาที่กว้าง จึงมักจะแบ่งย่อยเป็นสาขาอื่นๆ อีก เช่น วิทยาเซลล์, วิทยาตัวอ่อน, สัณฐานวิทยา, โบราณชีววิทยา, พันธุศาสตร์และวิวัฒนาการ, อนุกรมวิธาน, พฤติกรรมวิทยา, นิเวศวิทยา และสัตวภูมิศาสตร์ เป็นต้น สัตววิทยานั้นมีการศึกษามาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ และจักรวรรดิโรมัน จากงานของฮิปโปเครเตส, อะริสโตเติล, และพลินี นักธรรมชาตินิยมสมัยต่อมาเจริญรอยตามอริสโตเติล จนในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เมื่อมีการพิมพ์แพร่หลาย ความรู้เหล่านี้ก็กว้างขวางขึ้น มีการศึกษาและเผยแพร่มากขึ้น เช่น วิลเลียม ฮาร์วีย์ (การไหลเวียนของเลือด), คาโรลุส ลินเลียส (ระบบการตั้งชื่อทางวิทยาศาสตร์), ฌอร์ฌ-หลุยส์ เลอแกลร์ก กงต์เดอบูว์ฟง (ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ) และฌอร์ฌ กูว์วีเย (กายวิภาคเปรียบเทียบ) ซึ่งเป็นการศึกษาในขั้นลึกของสัตววิทยา จุดเปลี่ยนครั้งใหญ่ของการศึกษาสัตววิทยา ก็เมื่อชาลส์ ดาร์วิน ได้ตีพิมพ์หนังสือ กำเนิดพงศ์พันธุ์ (On the Origin of Species by Means of Natural Selection) ซึ่งได้อธิบายทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต นับแต่นั้นการศึกษาด้านพันธุศาสตร์เริ่มมีความจำเป็นในการศึกษาทางชีววิทยา และการศึกษาในแนวลึกเฉพาะด้านเริ่มมีมากขึ้น และยังมีการศึกษาคาบเกี่ยวกันในแต่ละสาขาวิชาด้วย สำหรับสถาบันที่เปิดสอนศาสตร์ด้านสัตววิทยานั้น ในประเทศไทย ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ต้องผ่านการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ที่มีหลักสูตร สาขาวิชาสัตววิทยา และสาขาวิชาชีววิทยา เช่น คณะวิทยาศาสตร์ คณะเกษตร คณะประมง เช่น คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น หลักสูตร 4 ปี สำเร็จการศึกษาได้วุฒิปริญญาตรี เป็นต้น และเมื่อศึกษาจบแล้ว สามารถเข้าทำงานในหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนได้ต่าง ๆ หลากหล.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและสัตววิทยา
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช. หรือ NSTDA) เป็นองค์การมหาชนในกำกับของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหน้าที่พัฒนาขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยดำเนินกิจกรรมด้านถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากร และการเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ก่อตั้งขึ้นตามมาตร 11 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาต..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
สุพจน์ หารหนองบัว
.สุพจน์ หารหนองบัว หรือ.ดร.สุพจน์ หารหนองบัว นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสภาการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการสื่อสาร และคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและสุพจน์ หารหนองบัว
สุทัศน์ ฟู่เจริญ
ตราจารย์ น.สุทัศน์ ฟู่เจริญ ศาสตราจารย์ระดับ 11 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นแห่งชาติ ปี 2545 ปฏิบัติราชการ ณ ศูนย์วิจัยธาลัสซีเมีย สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดลและกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและสุทัศน์ ฟู่เจริญ
สุทัศน์ ยกส้าน
ตราจารย์ สุทัศน์ ยกส้าน (เกิดเมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) นักวิทยาศาสตร์สาขา ฟิสิกส์ชาวไทย มีผลงานด้านฟิสิกส์ทฤษฎีอธิบายสมบัติพื้นฐานบางประการของสภาพนำยิ่งยวด ท่านได้รับรางวัลรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ปี พ.ศ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและสุทัศน์ ยกส้าน
สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล
ันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล มีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถาบันวิจัยที่มีความเป็นเลิศด้านการวิจัย ทางด้านชีววิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุล และสนับสนุนภารกิจหลักด้านการวิจัย การจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา การบริการวิชาการสู่สังคม ปัจจุบันจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตและมหาบัณฑิต.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและสถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล
สถิตย์ สิริสิงห
ตราจารย์เกียรติคุณ ทันตแพทย์ สถิตย์ สิริสิงห (9 มกราคม 2480 -) นักวิจัยผู้บุกเบิกสาขาอิมมิวโนวิทยาของประเทศไทยในยุคเริ่มแรก นับตั้งแต่ ปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและสถิตย์ สิริสิงห
หม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์
ตราจารย์ หม่อมราชวงศ์ ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ (25 กันยายน 2490 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาชีวเคมี และชีวเคมีศึกษา มีความสนใจเป็นพิเศษเกี่ยวกับโปรตีนและเอนไซม์ และเน้นการสอนและการวิจัยทางด้านนี้มาตลอดระยะเวลากว่า 35 ปี เป็นผู้ก่อตั้งชมรมวิจัยโปรตีนแห่งประเทศไทยขึ้น เมื่อ ปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและหม่อมราชวงศ์ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์
อภิวัฒน์ มุทิรางกูร
ตราจารย์ นายแพทย์ อภิวัฒน์ มุทิรางกูร (Apiwat Mutirangura) อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปี 2549 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย ประจำปี 2551 และเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและอภิวัฒน์ มุทิรางกูร
อมเรศ ภูมิรัตน
ตราจารย์ อมเรศ ภูมิรัตน (24 กรกฎาคม 2491 - ปัจจุบัน) เกิดที่อำเภอพระโขนง กรุงเทพมหานคร เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์และกรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ เชี่ยวชาญด้านการสอน การวิจัย รวมทั้งการประยุกต์และถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ภาคอุตสาหกรรม มาตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและอมเรศ ภูมิรัตน
จุลชีววิทยา
นอาหารวุ้นซึ่งมีเชื้อจุลินทรีย์เห็นเป็นริ้วลายเส้น จุลชีววิทยา (Microbiology) คือการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ซึ่งเรียกว่าจุลินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส เชื้อรา และ สาหร.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและจุลชีววิทยา
ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา
ตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการโรคทางสมอง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ผู้อำนวยการศูนย์โรคติดเชื้อ โรคอุบัติใหม่ สภากาชาดไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและธีระวัฒน์ เหมะจุฑา
ถาวร วัชราภัย
ตราจารย์ ถาวร วัชราภัย (2 เมษายน พ.ศ. 2477 -) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของประเทศไทยเมื่อ..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและถาวร วัชราภัย
ณัฐ ภมรประวัติ
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ณัฐ ภมรประวัติ (29 พฤศจิกายน 2471 – 16 กุมภาพันธ์ 2547) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล อดีตกรรมการมูลนิธิจุฬาภรณ์ ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นประจำปี พ.ศ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและณัฐ ภมรประวัติ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นหน่วยงานระดับคณะ ในสังกัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เริ่มเปิดทำการเรียนการสอนเมื่อปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แต่เดิมเป็นเพียง"ศูนย์ฝึกโทรคมนาคมนนทบุรี" ก่อนจะยกฐานะเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็น 1 ใน 7 คณะของสถาบัน มีทั้งสิ้น 13 ภาควิชา ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามสำนักหอสมุดกลาง และมีพื้นที่ติดกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือได้ว่าเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยมากที่สุดของประเทศ และเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการจัดอันดับสูงสุดในสาขาวิทยาศาสตร์ ทั้งด้านการเรียนการสอน และด้านการวิจัย จากการจัด อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อปี พ.ศ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Faculty of Science Ramkhamhaeng University) เป็นคณะหนึ่งในมหาวิทยาลัยรามคำแหงซึ่งเปิดสอนวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ในแขนงต่าง.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นหนึ่งในสามคณะแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เริ่มเปิดการเรียนการสอนวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับการสถาปนาเป็นคณะที่ 7 ของมหาวิทยาลัย โดยเปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาตรี โท และเอก นอกจากนี้ ยังเปิดสอนหลักสูตรเตรียมแพทย์ ให้กับวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า อีกด้ว.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติมากที่สุดของประเทศไทย และเป็นคณะวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่ง 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในขณะนั้นใช้ชื่อว่า "คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์" ปัจจุบันประกอบด้วย 14 ภาควิชา แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มวิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และกลุ่มเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยด้านตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างสระน้ำ การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติจาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 258 ของโลก และเป็นเพียงแห่งเดียวในประเทศที่ติดอันดั.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2537 โดยขยายตัวจากภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร สังกัดคณะทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้แก่นักเรียน และบุคลากรในภาคใต้ โดยได้ดำเนินการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี โทและเอกทางด้านอุตสาหกรรมเกษตร ดำเนินการวิจัยและให้บริการวิชาการ และคำปรึกษาทางวิชาการด้านอุตสาหกรรมเกษตรแก่โรงงานอุตสาหกรรมเกษตร หน่วยงานราชการในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ คณะอุตสาหกรรมเกษตรดำเนินการเรียนการสอนเกี่ยวกับการนำผลิตผลเกษตร ประมง ป่าไม้ มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารสัตว์และเครื่องอุปโภคโดยกระบวนการทางอุตสาหกรรมเกษตรและกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม ตลอดจนการสอนทางด้านเทคโนโลยีวัสดุและบรรจุภัณฑ์ นอกจากนี้นักศึกษาจะต้องเรียนรู้แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การประกันคุณภาพ การจัดการโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Medicine, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 6 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นคณะแพทยศาสตร์ลำดับที่ 5 ของประเทศไทย และเป็นลำดับที่ 2 ของส่วนภูมิภาค ต่อจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีสถานปฏิบัติการคือโรงพยาบาลศรีนครินทร์ รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 07.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนแพทย์แห่งที่สามของประเทศไทยต่อจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังเป็นเป็นโรงเรียนแพทย์ในส่วนภูมิภาคแห่งแรกของประเทศไทย สถานที่ตั้งปัจจุบันคือ เลขที่ 110 ถนนอินทวโรรส ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 276 ไร่ มุมทิศตะวันออกเฉียงใต้ จดประตูสวนดอก คณบดีคนปัจจุบันของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คือ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ บรรณกิจ โลจนาภิวัฒน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2508 โดยได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ทั้งในด้านทุนทรัพย์และบุคลากร และยังมีผู้เชี่ยวชาญไทยที่ผ่านการฝึกอบรมจากประเทศสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรอีกจำนวนหนึ่งด้วย ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รับนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี (เป็นนักศึกษาแพทย์ประมาณ 180 คน นักศึกษาพยาบาลอีก 150 คนและ นักศึกษาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ 30 คนต่อปี) ระดับหลังปริญญาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้องมีโครงการปริญญาเอก โครงการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ และสาขาย่อยเฉพาะทาง รวมทั้งการวิจัยด้วย เป้าหมายของคณะฯ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่างๆพยาบาล และบุคลากรอื่นทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ เน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้การดูแลรักษาแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมและสามารถทำงานในชุมชนได้.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะเกษตรแห่งแรกของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ในจัดการเรียนการสอนในด้านการเกษตร โดยแบ่งออกเป็น 2 แห่ง ได้แก่ คณะเกษตร บางเขน และ คณะเกษตร กำแพงแสน.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Agriculture, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นพร้อมกับคณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นคณะวิทยาศาสตร์) และคณะวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งได้ถือว่าเป็นคณะแรกตั้งของการสถาปนามหาวิทยาลัย ถือว่าเป็นสถาบันการศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์แห่งแรกในภูมิภาค รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 03.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
ณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งขึ้นเพื่อศึกษาโรคต่าง ๆ ในเขตร้อน เป็นคณะด้านนี้แห่งเดียวในประเทศไทย และเป็นคณะที่มีผลงานวิจัยจำนวนมากตีพิมพ์ในวารสารระดับโลก นอกจากนี้ คณะยังมีโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ที่เปิดให้การรักษาพยาบาลเฉพาะทางด้านโรคเขตร้อน อายุรกรรมทั่วไป และอายุรกรรมเฉพาะทางหลากหล.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นคณะเทคนิคการแพทย์คณะแรกของภาคเหนือและเป็นคณะที่สามของประเทศไทย รองจากมหาวิทยาลัยมหิดลและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตามลำดับ จัดตั้งขึ้นเพื่อตอบสนองต่อความต้องการบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสมในการให้บริการด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพแก่ประชาชนในท้องถิ่น โดยแรกเริ่มมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ วางโครงการจัดตั้งภาควิชาเทคนิคการแพทย์ขึ้น ในปี พ.ศ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณิตศาสตร์
ยูคลิด (กำลังถือคาลิเปอร์) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของราฟาเอลในชื่อ ''โรงเรียนแห่งเอเธนส์''No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและคณิตศาสตร์
ประพนธ์ วิไลรัตน์
ตราจารย์ ประพนธ์ วิไลรัตน์ เกิดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2487 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นแฝดผู้พี่ของรองศาสตราจารย์ ดร.ประพิณ วิไลรัตน์ และเป็นบุตรคนที่หนึ่ง ในจำนวน 4 คน ของนายนิพนธ์ และนางสดับพิณ วิไลรัตน์ ศาสตราจารย์ ดร.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและประพนธ์ วิไลรัตน์
ประเวศ วะสี
ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ประเวศ วะสี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดลกรรมการสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการ สภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ราษฎรอาวุโส เป็นนักวิชาการด้านสาธารณสุข และนักวิชาการเกี่ยวกับการศึกษา ทั้งเป็นผู้สนับสนุนงานค้นคว้าวิจัยต่างๆที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหาและพัฒนาชีวิต นายแพทย์ประเวศ วะสี เกิดเมื่อวันที่ ตำบลเกาะสำโรง บนฝั่งลำน้ำแควน้อย จังหวัดกาญจนบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ของนายคลายและนางกิม วะสี ศึกษาชั้นมูลฐานในวัยเยาว์ที่โรงเรียนวัดเหนือ ชั้นประถมศึกษาที่ โรงเรียนประชาบาลตำบลเกาะสำโรง ชั้นมัธยมที่โรงเรียนวิสุทธรังษี จนถึง..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและประเวศ วะสี
ประเสริฐ โศภน
ตราจารย์เกียรติคุณ ประเสริฐ โศภน (8 ธันวาคม 2486 -) เกิดที่จังหวัดสกลนคร เป็นบุตรคนที่ 6 ในจำนวน 10 คน ของ นายสุนทร และนางสว่างจิต โศภน เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานดีเด่นในสาขากายวิภาคศาสตร์และเซลล์ชีววิทยา เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น สาขาเซลล์ชีววิทยา ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและประเสริฐ โศภน
ปิยะสาร ประเสริฐธรรม
ตราจารย์ ดร.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและปิยะสาร ประเสริฐธรรม
นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ
นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ หมายถึง นักวิจัยที่ได้รับเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีการมอบรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ
นิพนธ์ ฉัตรทิพากร
ตราจารย์ นายแพทย์ นิพนธ์ ฉัตรทิพากร (Nipon Chattipakorn) อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประธานกรรมการบริหาร นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย ประจำปี 2555 และ เมธีวิจัยอาวุโส สกว.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและนิพนธ์ ฉัตรทิพากร
ไพรัช ธัชยพงษ์
ตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ศาสตราจารย์ ไพรัช ธัชยพงษ์ (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2487 —) เป็นนักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย ผู้บุกเบิกการจัดตั้งสถาบันวิจัยระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับผู้บุกเบิกท่านอื่นๆ และทำให้ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีแบบแผนเป็นระบบ ปัจจุบันยังเป็นกรรมการอิสระในธนาคารกสิกรไทยอีกด้ว.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและไพรัช ธัชยพงษ์
เกษตรกรรม
กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและเกษตรกรรม
เกตุ กรุดพันธ์
ตราจารย์ เกตุ กรุดพันธ์ เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2496 ที่จังหวัดนนทบุรี บิดาชื่อ นายศักดิ์ กรุดพันธ์ มารดาชื่อ นางอุบล กรุดพันธ์ สมรสกับ นางธนกร กรุดพันธ์ (นามสกุลเดิมเกษมกิจวัฒนา) มีธิดา 1 คน คือ นางสาวศุภรา กรุดพันธ์ ศาสตราจารย์ เกตุ กรุดพันธ์ หรือ ศาสตราจารย์ ดร.เกตุ กรุดพันธ์ เป็นศาสตราจารย์สาขาเคมีวิเคราะห์คนแรกของประเทศไทย ปัจจุบันทำงานที่ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นผู้ประสานงานห้องปฏิบัติการสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการในการพัฒนาเพื่อการลดขนาดในการวิเคราะห์โดยการไหล (กลุ่มวิจัย Flow-based Analysis Research Group)ศาสตราจารย์ ดร.เกตุ กรุดพันธ์ สนใจในวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาวิธีและเครื่องมือ ในการการวิเคราะห์ทางเคมีโดยเฉพาะเทคนิคที่อาศัยหลักการไหล ซึ่งจะมุ่งเป้าที่จะเป็นแบบราคาถูก งานวิจัยจะสัมพันธ์กับปัญหาของท้องถิ่นแต่มีผลกระทบในระดับนานาชาติอีกด้วย ไม่นานมานี้ได้ริเริ่มและผลักดันในการพัฒนาการวิเคราะห์ที่อาศัยหลักการไหลเพื่อการคัดกรองในการตรวจวินิจฉัยโรคบางชนิด (เช่น มะเร็ง, โรคตับ, โรคข้อ และกระดูก และโรคธาลัสซีเมีย เป็นต้น) การพัฒนาดังกล่าวจะเป็นพื้นฐานในการพัฒนาระบบแพทย์ทางไกลในพื้นที่ธุรกันดานในประเทศไทย และได้ริเริ่มผลักดันเกี่ยวกับการวิเคราะห์ทางเคมีแบบสะอาดโดยการใช้รีเอเจนต์ที่ได้จากธรรมชาติ การพัฒนาการวิจัยจะมีผลเชื่อมโยงกับการพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่อีกด้วย ศาสตราจารย์ ดร.เกตุ กรุดพันธ์ ได้บุกเบิกงานทาง flow injection analysis ที่เกี่ยวข้องกับกัมมันตรภาพรังสี การเตรียมตัวอย่างแบบในท่อที่ใช้ระบบการไหลผนวกเข้ากับเทคนิคทาง โครมาโทกราฟี การลดขนาดของการวิเคราะห์ทางเคมี เช่น “การดำเนินการวิเคราะห์บนชิพ (lab-on-Chip)” และ “การดำเนินการทดลองที่วาล์ว (Lab-at-Valve)” ซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งในการวิเคราะห์ทั้งระบบในระดับไมโคร (micro total analysis system).
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและเกตุ กรุดพันธ์
เวชพันธุศาสตร์
เวชพันธุศาสตร์ (medical genetics) เป็นการแพทย์เฉพาะทางอย่างหนึ่ง มุ่งวินิจฉัยและให้การดูแลโรคพันธุกรรม ต่างจาก มนุษยพันธุศาสตร์ (human genetics) ตรงที่ human genetics จะศึกษาพันธุศาสตร์เกี่ยวกับมนุษย์ทั้งหมดโดยอาจเกี่ยวหรือไม่เกี่ยวกับโรคก็ได้ หมวดหมู่:การแพทย์เฉพาะทาง.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและเวชพันธุศาสตร์
เทคโนโลยี
นาโนเทคโนโลยีเป็นที่สนใจในศตวรรษปัจจุบัน เทคโนโลยี หรือ เทคนิควิทยา มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึงธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและเทคโนโลยี
เทคโนโลยีชีวภาพ
รงสร้างของอินซูลิน เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) คือ การใช้ระบบและสิ่งที่มีชีวิตเพื่อพัฒนาหรือสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์, หรือ "การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใดๆ ที่ใช้ระบบชีวภาพ, สิ่งที่มีชีวิตหรืออนุพันธ์ของสิ่งที่มีชีวิตนั้น, เพื่อสร้างหรือปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการสำหรับการใช้งานเฉพาะอย่าง" (อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ, ศิลปะ.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีอาหาร
ตัวอย่างห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีอาหาร. เทคโนโลยีอาหาร (Food Technology) เป็นสาขาวิชาที่ประยุกต์มาจากวิทยาศาสตร์การอาหาร มีเนื้อหาเกี่ยวกับการถนอมอาหาร การแปรรูปอาหาร บรรจุภัณฑ์ การจัดจำหน่ายอาหาร และหลักโภชนาการของอาหาร นักวิทยาศาสตร์การอาหารและนักเทคโนโลยีอาหารเป็นจะศึกษาลักษณะทางกายภาพ ทางจุลชีววิทยา และทางเคมีของอาหาร ในบางสถานศึกษา เทคโนโลยีอาหารจะถูกบรรจุอยู่ในหลักสูตรการเรียนการสอนร่วมกับวิชาการปรุงอาหาร โภชนาการ และกระบวนการผลิตอาหาร.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและเทคโนโลยีอาหาร
เดวิด รูฟโฟโล
ตราจารย์พิเศษ ดร.เดวิด จอห์น รูฟโฟโล (David John Ruffolo (12 มีนาคม ค.ศ. 1968)) นักวิทยาศาสตร์เชื้อชาติอเมริกัน ผู้เชี่ยวชาญด้านกัมมันตรังสีรอบโลก ผู้ก่อตั้งสถานีตรวจวัดนิวตรอนสิรินธร ผู้ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำปี..
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและเดวิด รูฟโฟโล
เคมี
มี (chemistry) เป็นวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาในเรื่องของสสาร โดยไม่เพียงแต่ศึกษาเฉพาะในเรื่องของปฏิกิริยาเคมี แต่ยังรวมถึงองค์ประกอบ โครงสร้างและคุณสมบัติของสสารอีกด้วย การศึกษาทางด้านเคมีเน้นไปที่อะตอมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างอะตอมกับอะตอม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณสมบัติของพันธะเคมี บางครั้ง เคมีถูกเรียกว่าเป็นวิทยาศาสตร์ศูนย์กลาง เพราะเป็นวิชาช่วยที่เชื่อมโยงฟิสิกส์เข้ากับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติสาขาอื่น เช่น ธรณีวิทยาหรือชีววิทยา ถึงแม้ว่าเคมีจะถือเป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์กายภาพแต่ก็มีความแตกต่างจากวิชาฟิสิกส์ค่อนข้างมาก มีการถกเถียงกันอย่างมากมายถึงต้นกำเนิดของเคมี สันนิษฐานว่าเคมีน่าจะมีต้นกำเนิดมาจากการเล่นแร่แปรธาตุซึ่งเป็นที่นิยมกันมาอย่างยาวนานหลายสหัสวรรษในหลายส่วนของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตะวันออกกลาง.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและเคมี
เคมีวิเคราะห์
มีวิเคราะห์ (Analytical chemistry.) คือสาขาของวิชาเคมีที่ว่าด้วยการวิเคราะห์สารตัวอย่าง เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงองค์ประกอบ และโครงสร้างทางเคมีของวัสดุนั้น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและเคมีวิเคราะห์
เคมีอินทรีย์
มีอินทรีย์ (Organic chemistry) เป็นสาขาย่อยในวิชาเคมี ที่ว่าด้วยการศึกษาโครงสร้าง คุณสมบัติ องค์ประกอบ ปฏิกิริยา และการเตรียม (ด้วยการสังเคราะห์หรือด้วยวิธีการอื่น) สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็นหลัก ไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ของพวกมันอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ สารประกอบเหล่านี้อาจมีธาตุอื่นอีกจำนวนหนึ่งด้วยก็ได้ เช่น ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน แฮโลเจน เช่นเดียวกับฟอสฟอรัส ซิลิกอนและซัลเฟอร์ สารประกอบอินทรีย์เป็นพื้นฐานกระบวนการของสิ่งมีชีวิตบนโลกแทบทั้งสิ้น (โดยมีข้อยกเว้นเล็กน้อยมาก) สารประกอบเหล่านี้มีโครงสร้างหลากหลายมาก ลักษณะการนำไปใช้ของสารประกอบอินทรีย์ก็มีมากมาย โดยเป็นได้ทั้งพื้นฐานของ หรือเป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น พลาสติก ยา สารที่ได้จากน้ำมันปิโตรเคมี อาหาร วัตถุระเบิด และสี.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและเคมีอินทรีย์
18 สิงหาคม
วันที่ 18 สิงหาคม เป็นวันที่ 230 ของปี (วันที่ 231 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 135 วันในปีนั้น.
ดู รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและ18 สิงหาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย