โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยุคเอะโดะ

ดัชนี ยุคเอะโดะ

อะโดะ หรือยุคที่เรียกว่า ยุคโทะกุงะวะ (徳川時代 Tokugawa-jidai) ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1868 คือยุคที่มีไดเมียวตระกูลโทะกุงะวะเป็นโชกุน เริ่มเมื่อโทะกุงะวะ อิเอะยะซุ ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน..

32 ความสัมพันธ์: บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ชินโตพ.ศ. 2146พ.ศ. 2411พ.ศ. 2414การฟื้นฟูเมจิยุทธการที่เซะกิงะฮะระระบบเจ้าขุนมูลนายรัฐบาลเอโดะศาสนาพุทธฮาเซคุระ สึเนนากะฮิระโดะดะเตะ มะซะมุเนะตระกูลมินะโมะโตะตระกูลโทกูงาวะซะโกะกุซามูไรโชกุนโรนินโอซากะโทกูงาวะ สึนาโยชิโทกูงาวะ อิเอมิตสึโทกูงาวะ อิเอยาซุโทกูงาวะ อิเอสึนะโทกูงาวะ ฮิเดตาดะโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิโตเกียวไดเมียวเกาะคีวชูเกียวโต (นคร)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เคียวโตะ

บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์

อู่ต่อเรือบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ในกรุงอัมสเตอร์ดัม ค.ศ. 1726 วาดโดยโจเซฟ มัลเดอร์ ฟลอริน อาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ บริเวณสีเขียวอ่อนคือดินแดนในปกครองของบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ สหบริษัทอินเดียตะวันออก (Vereenigde Oostindische Compagnie) หรือที่ชาวอังกฤษเรียกว่า บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ (Dutch East India Company) มีชื่อย่อว่า เฟโอเซ (VOC) ได้รับก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1602 โดยในช่วงแรกรัฐสภาเนเธอร์แลนด์มอบสิทธิ์ขาดในการค้าเครื่องเทศแก่บริษัทเป็นเวลา 21 ปี บ่อยครั้งบริษัทนี้ได้รับการพิจารณาว่าเป็นบริษัทข้ามชาติบริษัทแรกในโลก และเป็นบริษัทแรกที่ออกหุ้น สหบริษัทอินเดียตะวันออกเป็นบริษัทที่มีอำนาจสูงเกือบเทียบเท่ารัฐบาล โดยมีความสามารถที่จะเข้าร่วมสงคราม สั่งจำคุกและประหารชีวิตนักโทษ เจรจาสนธิสัญญา ผลิตเหรียญกระษาปณ์เป็นของตนเอง และจัดตั้งอาณานิคม.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ชินโต

ทะริอิ ที่ ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ สัญลักษณ์ที่สำคัญของชินโต ชินโต เป็นลัทธิตามความเชื่อเดิมของชาวญี่ปุ่น คำว่า ชินโต มาจากตัวอักษรจีน หรือคันจิ 2 ตัวรวมกัน คือ ชิน หมายถึงเทพเจ้า (ภาษาจีน: 神, พินอิน: shén, เสิน) และ โต หมายถึงวิถีทางหรือศาสตร์วิชา (ภาษาจีน: 道, พินอิน: dào, เต้า) หรือ เต๋า ในลัทธิเต๋านั่นเอง เมื่อรวมกันแล้ว จะหมายถึงศาสตร์แห่งเทพเจ้า หรือวิถีแห่งเทพเจ้า นั่นเอง ชินโตของญี่ปุ่นมีตำนานความเชื่อว่า เทพเจ้ามีมากมายนับไม่ถ้วน ทั้งในป่า บนภูเขา ทะเล แม่น้ำ ลำธาร ในสายลม แม้แต่ในบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นาในธรรมชาติที่ที่มีความบริสุทธิ์ล้วนเป็นที่สถิตของเทพเจ้าได้ทั้งสิ้น จึงมีคำที่ว่า "เทพแปดล้านองค์" เป็นการรวมคำเพื่อแสดงว่ามีทวยเทพอยู่มากมาย ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถือให้เป็นลัทธิความเชื่อพื้นเมืองประจำประเทศญี่ปุ่น พิธีกรรมของลัทธิชินโตนี้มาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและธรรมเนียมปฏิบัติต่าง ๆ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ได้ถือเป็นพิธีกรรมอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งศาสนาพุทธ และ ลัทธิขงจื๊อ กับ ลัทธิเต๋า รวมทั้งภายหลัง ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ได้เริ่มให้เข้ามาในดินแดนญี่ปุ่น ตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 พิธีกรรมของลัทธิชินโตได้ถูกบันทึกและบัญญัติเป็นครั้งแรกในคัมภีร์โคะจิคิ และจดหมายเหตุนิฮงโชะกิ ในศตวรรษที่ 8 เพื่อตอบโต้ศาสนาที่มีระดับความพัฒนามากกว่าจากแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ตาม งานเขียนในยุคแรกๆก็ยังมิได้บ่งบอกว่าเป็น ลัทธิชินโต แต่งานเขียนในสมัยต่อมาก็ได้บ่งชี้อย่างชัดเจน พร้อมขนบธรรมเนียบของสังคมเกษตรกรรมและเทศกาลประจำปีเข้าไปด้วย รวมไปถึงความเชื่อเรื่องเทพปกรณัมและการกำเนิดโลกต่าง ๆ ซึ่งเล่าถึงต้นกำเนิดของชนชาติญี่ปุ่น ส่วนใหญ่จะหมายถึงเชื้อสายยะมะโตะ และอิสึโมะ ในสมัยนั้น พุทธศาสนาได้แพร่จากจีนเข้าสู่ญี่ปุ่น และมีผสมผสานความเชื่อดั้งเดิม อย่างเช่น ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าในลัทธิชินโตและความเชื่อเรื่องพระโพธิสัตว์ในศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถูกจัดให้เป็นลัทธิบูชาเทพเจ้าหลายองค์ หรือ พหุเทวนิยม และลัทธิบูชาภูตผีวิญญาณ ที่เน้นความบริสุทธิ์ของพิธีกรรมเป็นอย่างมาก รวมถึงยกย่องเกียรติและความมีตัวตนของเทพเจ้า ซึ่งมีทั้งเทพเจ้าที่มีมาจากการยกบุคคลให้เป็นเทพ หรือการบูชาธรรมชาติ และเทพเจ้ายังสามารถมีลูกได้ด้วย ลัทธิชินโตเป็นลัทธิที่ให้ความสำคัญกับพิธีกรรมทางศาสนาเป็นอันดับหนึ่ง เนื่องจากเป็นวิธีที่จะทำให้ศาสนิกชนเข้าถึงและเป็นหนึ่งเดียวกับเทพเจ้าได้มากที่สุด ลัทธิชินโตยุคใหม่ไม่มีสถาบันที่ที่ยกตัวเป็นผู้ควบคุมส่วนกลาง มีเพียงแต่กลุ่มคนที่พยายามรักษาวิถีปฏิบัติของลัทธิชินโตมาตั้งแต่สมัยบรรพกาลจนถึงปัจจุบัน ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ชินโตได้ถูกยกเลิกจากการเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งในปัจจุบันชินโตเริ่มลดหายไปจากวัฒนธรรมญี่ปุ่น โดยที่ยังเห็นได้ในปัจจุบันได้แก่ โอมิคุจิ (การดึงฉลากเสี่ยงโชคในศาลเจ้าชินโต) และการเฉลิมฉลอง งานปีใหม่ญี่ปุ่น ที่มีจัดขึ้นตามศาลเจ้าชินโต.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและชินโต · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2146

ทธศักราช 2146 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและพ.ศ. 2146 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2414

ทธศักราช 2414 ตรงกั.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและพ.ศ. 2414 · ดูเพิ่มเติม »

การฟื้นฟูเมจิ

การฟื้นฟูพระราชอำนาจสมัยเมจิ (Meiji Restoration) หรือ การปฏิวัติเมจิ (Meiji Revolution) การปฏิรูปเมจิ (Meiji Reform) หรือ การปรับปรุงเมจิ (Meiji Renewal) เป็นเหตุการณ์การปฏิรูปประเทศญี่ปุ่นในปี..

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและการฟื้นฟูเมจิ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เซะกิงะฮะระ

ทธการเซะกิงะฮะระ เป็นยุทธการแตกหักเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและยุทธการที่เซะกิงะฮะระ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบเจ้าขุนมูลนาย

ระบบเจ้าขุนมูลนาย, ระบบฟิวดัลหรือระบบเจ้าครองนคร (feudalism) เป็นระบอบการปกครองในอดีต สยามเรียกว่า ระบบศักดิน.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและระบบเจ้าขุนมูลนาย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเอโดะ

รัฐบาลเอโดะ หรือ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เป็นฝ่ายบริหารของประเทศญี่ปุ่นซึ่งใช้ระบอบศักดินา สถาปนาโดยโทกูงาวะ อิเอะยะสุ (徳川家康 Tokugawa Ieyasu) มีผู้ปกครองสูงสุดเป็นโชกุน (将軍 shōgun) ซึ่งต้องมาจากตระกูลโทกูงาวะ (徳川氏 Tokugawa-shi) เท่านั้น ในสมัยที่ประเทศญี่ปุ่นถูกปกครองโดยรัฐบาลโชกุนนั้น จะเรียกว่ายุคเอโดะ (江戸時代 edo-jidai) ตามชื่อเมืองเอโดะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนสถาปนาให้เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ ปัจจุบัน คือกรุงโตเกียว (東京 Tōkyō) มีปราสาทเอโดะ (江戸城 Edo-jō) เป็นศูนย์กลางการปกครองตั้งแต่ ค.ศ. 1603 - 1868 จนกระทั่งถูกสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ (明治天皇 Meiji-tennō) ล้มล้างไปในการปฏิรูปสมัยเมจิ (明治維新 Meiji Ishin) หลังจากยุคเซงโงะกุ (戦国時代 Sengoku-jidai) หรือยุคไฟสงคราม โอดะ โนะบุนะงะ (織田 信長 Oda Nobunaga) และโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ (豊臣 秀吉 Toyotomi Hideyoshi) ได้ร่วมกันรวมอำนาจสู่ศูนย์กลาง และตั้งเป็นรัฐบาลกลางขึ้นอีกครั้งในยุคอะซึจิ-โมะโมะยะมะ (あづちももやまじだい Azuchi momoyama jidai) ซึ่งเป็นยุคสั้นๆ ก่อนยุคเอโดะ ต่อมา หลังจากยุทธการเซะกิงะฮะระ (関ヶ原の戦い Sekigahara no Tatakai) ซึ่งเป็นการรบครั้งใหญ่ในค.ศ. 1600 การปกครองและอำนาจทั้งหมด ได้ตกอยู่ในมือของโทกูงาวะ อิเอะยะสุโดยเบ็ดเสร็จ และสถาปนาตนเองเป็นโชกุนในปี ค.ศ. 1603 ซึ่งเป็นไปตามประเพณีโบราณ ที่ผู้เป็นโชกุนจะต้องสืบเชื้อสายจากต้นตระกูลมินะโมะโตะ (源 Minamoto) ในยุคของโทกูงาวะ ต่างจากยุคโชกุนก่อนๆ คือมีการนำระบบชนชั้นที่เริ่มใช้โดยโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ มาใช้อีกครั้งอย่างเข้มงวด โดยชนชั้นนักรบ หรือซามูไร (侍 Samurai) อยู่บนสุด ตามด้วยชาวนา ช่างฝีมือ และพ่อค้า การใช้ระบบชนชั้นอย่างเข้มงวดและไม่ยืดหยุ่นได้ทำให้เกิดจลาจลมาตลอดสมัย ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นชาวนานั้น อยู่ในอัตราคงที่โดยไม่คำนึงถึงอัตราเงินเฟ้อหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นๆของค่าเงิน ส่งผลให้รายได้ภาษีที่เรียกเก็บจากชนชั้นซามูไร ผู้เป็นเจ้าของที่ดินมีมูลค่าลดลงเรื่อยๆตลอดยุค ซึ่งสาเหตุนี้ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างซามูไรผู้ทรงเกียรติแต่ฐานะทางการเงินต่ำลงเรื่อยๆจากการจ่ายภาษี กับชาวนาผู้มีอันจะกิน เกิดเป็นการปะทะกันหลายต่อหลายครั้งที่เริ่มจากเหตุการณ์เล็กๆรุกลามเป็นเหตุการณ์วุ่นวาย อย่างไรก็ตาม ไม่มีสิ่งใดเปลี่ยนแปลงระบบสังคมยุคเอโดะได้ ตราบจนการเข้ามาของชาวตะวันตก เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 กลุ่มไดเมียวผู้มีอำนาจ เช่น ตระกูลชิมะสึ (島津氏 Shimazu-shi) ได้ร่วมมือกับสมเด็จพระจักรพรรดิและพระบรมวงศานุวงศ์ ซึ่งในสมัยเอโดะเคยทรงเพียงศักดิ์แต่ไร้อำนาจ เพื่อโค่นล้มระบอบโชกุนในโดยสงครามโบะชิน (戊辰戦争 Boshin Sensō) ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปเมจิโดยจักรพรรดิเมจิ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะถูกล้มล้างโดยสมบูรณ์ในค.ศ. 1868 โดยมีโทกูงาวะ โยชิโนบุ (徳川 慶喜 Tokugawa Yoshinobu) เป็นโชกุนคนที่ 15 และเป็นโชกุนคนสุดท้ายของญี่ปุ่น จากนั้น ญี่ปุ่นก็เข้าสู่ยุคเมจิ (明治時代 Meiji-jidai)อันมีการฟื้นฟูราชวงศ์มายังเมืองเอโดะ และเปลี่ยนชื่อเป็นกรุงโตเกียวดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและรัฐบาลเอโดะ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาเซคุระ สึเนนากะ

ระยะทางและเวลาการเดินทางของฮาเซคุระ สึเนนากะ ฮาเซคุระ โรคุเอม่อน สึเนนากะ (หรือ ฟรานซิสโก ฟิลิป ฟาซิคูล่า เป็นชื่อที่ได้รับในพิธีศีลจุ่ม ณ ประเทศสเปน)(1571–1622) (Japanese: 支倉六右衛門常長) เป็นซามูไรญี่ปุ่นเป็นข้ารับใช้ของดะเตะ มะซะมุเนะ (ไดเมียวแห่งแคว้นเซนได) ปี.ศ 1613 ถูกส่งไปเจริญสัมพันธไมตรีกับชาติต่างๆในทวีปยุโรป ในปี.ศ 1613-1620,ฮาเซคุระ ถูกส่งไปตามพระราชกิจของนครรัฐวาติกัน ณ กรุงโรม ให้เดินทางไปยัง เขตอุปราชแห่งนิวสเปน(ปัจจุบันเป็นอาณาเขตของประเทศแม็กซิโก) และเยี่ยมชมท่าเรือของชาวยุโรป ซึ่งพระราชกิจที่ได้รับมอบหมายนี้ถูกเรียกโดยชาวญี่ปุ่นว่าคณะทูตปีเคโจ หรือถูกเรียกว่าคณะทูตเทนโช ในการเดินทางกลับญี่ปุ่น ฮาเซคุระได้ล่องเรือจากอากาปุลโกไปยังมะนิลา และไปถึงยังบริเวณตอนเหนือของญี่ปุ่น นับได้ว่าฮาเซคุระ สึเนนากะเป็นเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นคนแรกที่ไปเยือนทวีปอเมริกาและยุโรป หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2114 น หมวดหมู่::คริสต์ศตวรรษที่ 17 หมวดหมู่::บุคคลในยุคเอะโดะ หมวดหมู่::คริสเตียนในญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและฮาเซคุระ สึเนนากะ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิระโดะ

ระโดะ เป็นเมืองในจังหวัดนะงะซะกิ ประเทศญี่ปุ่น มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 235.63 ตารางกิโลเมตร เดิมตัวเมืองตั้งอยู่บนเกาะฮิระโดะ แต่ภายหลังการควบรวมกับหมู่บ้านข้างเคียง ทำให้อาณาเขตของเมืองฮิระโดะขยายขว้างขึ้น ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของเกาะคิวชู โดยมีสะพานฮิระโดะเชื่อมระหว่างกัน ฮิระโดะในอดีตเป็นเมืองท่าการค้าที่สำคัญระหว่างญี่ปุ่นกับจีนแผ่นดินใหญ่ และเกาหลี นอกจากนี้ยังเคยเป็นสถานีการค้าของบริษัทอินเดียตะวันออกของดัตช์ในญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและฮิระโดะ · ดูเพิ่มเติม »

ดะเตะ มะซะมุเนะ

ตะ มะซะมุเนะ ดะเตะ มะซะมุเนะ เป็นไดเมียว ที่สำคัญของญี่ปุ่นใน ยุคเซงโงะกุ และอยู่จนถึงยุคเอโดะ มีฉายาว่า มังกรตาเดียว มะซะมุเนะนั้นมีความสนใจต่อการทูตและเทคโนโลยีของชาติตะวันตก โดยในปี..

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและดะเตะ มะซะมุเนะ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลมินะโมะโตะ

ตระกูลมินะโมะโตะ เป็นตระกูลซะมุไรที่ทรงอำนาจและอิทธิพลที่สุดตระกูลหนึ่งในญี่ปุ่นยุคเฮอัง เนื่องจากตระกูลนี้ได้ครองตำแหน่งโชกุน เป็นตระกูลแรกของญี่ปุ่น ตระกูลมินะโมะโตะสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิซะงะ ซึ่งครองราชย์ระหว่างปี..

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและตระกูลมินะโมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลโทกูงาวะ

ตระกูลโทกูงาวะ เป็นตระกูลไดเมียวที่ทรงอำนาจของญี่ปุ่นในอดีต เป็นเชื้อสายของ จักรพรรดิเซวะ ผ่านราชสกุลฟุจิวะระและราชสกุลมินะโมโต..

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและตระกูลโทกูงาวะ · ดูเพิ่มเติม »

ซะโกะกุ

ซะโกะกุ (Sakoku; 鎖国) เป็นนโยบายต่างประเทศของญี่ปุ่นซึ่งห้ามคนต่างด้าวเข้าและชาวญี่ปุ่นออกประเทศ โดยมีโทษประหารชีวิต รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะสมัยโทะกุงะวะ อิเอะมิสึกำหนดขึ้นผ่านกฤษฎีกาและนโยบายต่าง ๆ ระหว่าง..

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและซะโกะกุ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร

ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและซามูไร · ดูเพิ่มเติม »

โชกุน

กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและโชกุน · ดูเพิ่มเติม »

โรนิน

รนิน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและโรนิน · ดูเพิ่มเติม »

โอซากะ

อซากะ เป็นเมืองที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสามนครเคฮันชิง ตั้งอยู่ในภาคคันไซบนเกาะฮนชู ในเขตจังหวัดโอซากะ เป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองที่มีสถานะเป็นนครโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น นครโอซากะมีประชากรทั้งหมดประมาณ 2.7 ล้านคน แต่ในช่วงเวลาทำงานจะเพิ่มขึ้นเป็น 3.7 ล้านคน ซึ่งเป็นรองเพียงแต่โตเกียวเท่านั้น อัตราส่วนประชากรกลางวันต่อกลางคืนเท่ากับ 141 เปอร์เซ็นต์ นครตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำโยะโดะ อ่าวโอซากะ และทะเลเซะโตะ โอซากะเป็นเป็นเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ ทั้งการค้าและวัฒนธรรมเมืองหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น มีสมญาว่า ครัวของชาติ เพราะเป็นศูนย์กลางการค้าข้าวของญี่ปุ่นตั้งแต่สมัยเอะโดะ และปัจจุบันเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ สึนาโยชิ

ทะกุงะวะ สึนะโยะชิ เป็น โชกุน คนที่ 5 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ (ช่วงสมัย: พฤษภาคม ค.ศ. 1680 - 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1709) โทะกุงะวะ สึนะโยะชิ เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและโทกูงาวะ สึนาโยชิ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอมิตสึ

ทะกุงะวะ อิเอะมิสึ เป็น โชกุน คนที่ 3 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ โดยท่านเกิดเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1604 เป็นบุตรชายคนโตของโชกุนคนที่ 2 โทะกุงะวะ ฮิเดะทะดะ และเป็นหลานปู่ของโชกุนคนแรกของตระกูล โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ โดยท่านเป็นสมาชิกของตระกูลคนแรกที่เกิดในสมัย ที่ผู้เป็นปู่ได้เป็นโชกุนต่อมาเมื่อผู้เป็นบิดาได้ลงจากอำนาจในปี ค.ศ. 1623 ท่านก็ได้ขึ้นเป็นโชกุนคนใหม่ขณะอายุได้เพียง 19 ปีแต่อำนาจและอิทธิพลก็ยังคงอยู่ที่อดีตโชกุนฮิเดะทะดะผู้เป็นพ่อจนถึงปี ค.ศ. 1632 เมื่ออดีตโชกุนถึงแก่อสัญกรรม.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและโทกูงาวะ อิเอมิตสึ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอยาซุ

ทกูงาวะ อิเอยาซุ คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมืองเอะโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็นโชกุนคนแรกจากตระกูลโทกูงาวะที่ปกครองประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่สิ้นสุด ศึกเซะกิงะฮะระและเริ่มต้นยุคเอะโดะ เมื่อปี..

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและโทกูงาวะ อิเอยาซุ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอสึนะ

ทะกุงะวะ อิเอะสึนะ เป็น โชกุน คนที่ 4 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ ในยุคสมัยของเขานี้เอง..

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและโทกูงาวะ อิเอสึนะ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ

ทะกุงะวะ ฮิเดะตะดะ เป็นโชกุนคนที่ 2 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ โดยท่านเป็นบุตรชายคนที่ 3 ของ โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1579 หลังจากผู้เป็นบิดาได้ลงจากตำแหน่งโชกุนในปี ค.ศ. 1605 ท่านจึงขึ้นดำรงตำแหน่งสืบต่อมาขณะอายุได้เพียง 26 ปี ในสมัยของท่านตระกูลโทะกุงะวะสามารถขยายอำนาจออกไปได้อย่างกว้างขวาง และลงจากอำนาจในปี ค.ศ. 1623 ขณะอายุได้ 44 ปีแต่ก็ยังทรงอิทธิพลอยู่ก่อนจะที่จะเสียชีวิตลงในวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ. 1632 ขณะอายุได้ 53 ปี.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและโทกูงาวะ ฮิเดตาดะ · ดูเพิ่มเติม »

โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

ไดเมียว

ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและไดเมียว · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคีวชู

ีวชู เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีเนื้อที่ 35,640 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 14,779,000 คน (ปี 2003) ชื่อคีวชูหมายถึง เก้าแคว้น.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและเกาะคีวชู · ดูเพิ่มเติม »

เกียวโต (นคร)

แผนที่ ไดไดริ (แบบจำลอง) ของนครเฮอังเกียว เกียวโต, 1891 นักท่องเที่ยวที่วัดคิโยะมิซุ นครเกียวโต (ออกเสียง: เคียวโตะ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดว่าเป็นศูนย์กลางของเกาะฮนชู นอกจากนี้ นครเกียวโตยังเป็นหนึ่งในสมาชิกของ กลุ่มเมืองใหญ่ "เคฮันชิง" และนครเกียวโต ยังจัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 ของโลก ในปี..

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและเกียวโต (นคร) · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เคียวโตะ

ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ยุคเอะโดะและเคียวโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Edo eraEdo periodยุคเอโดะสมัยเอะโดะสมัยเอโดะ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »