สารบัญ
32 ความสัมพันธ์: บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ชินโตพ.ศ. 2146พ.ศ. 2411พ.ศ. 2414การฟื้นฟูเมจิยุทธการที่เซะกิงะฮะระระบบเจ้าขุนมูลนายรัฐบาลเอโดะศาสนาพุทธฮาเซคุระ สึเนนากะฮิระโดะดะเตะ มะซะมุเนะตระกูลมินะโมะโตะตระกูลโทกูงาวะซะโกะกุซามูไรโชกุนโรนินโอซากะโทกูงาวะ สึนาโยชิโทกูงาวะ อิเอมิตสึโทกูงาวะ อิเอยาซุโทกูงาวะ อิเอสึนะโทกูงาวะ ฮิเดตาดะโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิโตเกียวไดเมียวเกาะคีวชูเกียวโต (นคร)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เคียวโตะ
- ประเทศญี่ปุ่นสมัยเจ้าขุนมูลนาย
- ประเทศญี่ปุ่นในคริสต์ศตวรรษที่ 17
- ประเทศญี่ปุ่นในคริสต์ศตวรรษที่ 18
- ยุคเอโดะ
- ศักราชญี่ปุ่น
บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์
อู่ต่อเรือบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ในกรุงอัมสเตอร์ดัม ค.ศ. 1726 วาดโดยโจเซฟ มัลเดอร์ ฟลอริน อาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ บริเวณสีเขียวอ่อนคือดินแดนในปกครองของบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ สหบริษัทอินเดียตะวันออก (Vereenigde Oostindische Compagnie) หรือที่ชาวอังกฤษเรียกว่า บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ (Dutch East India Company) มีชื่อย่อว่า เฟโอเซ (VOC) ได้รับก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.
ดู ยุคเอะโดะและบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์
ชินโต
ทะริอิ ที่ ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ สัญลักษณ์ที่สำคัญของชินโต ชินโต เป็นลัทธิตามความเชื่อเดิมของชาวญี่ปุ่น คำว่า ชินโต มาจากตัวอักษรจีน หรือคันจิ 2 ตัวรวมกัน คือ ชิน หมายถึงเทพเจ้า (ภาษาจีน: 神, พินอิน: shén, เสิน) และ โต หมายถึงวิถีทางหรือศาสตร์วิชา (ภาษาจีน: 道, พินอิน: dào, เต้า) หรือ เต๋า ในลัทธิเต๋านั่นเอง เมื่อรวมกันแล้ว จะหมายถึงศาสตร์แห่งเทพเจ้า หรือวิถีแห่งเทพเจ้า นั่นเอง ชินโตของญี่ปุ่นมีตำนานความเชื่อว่า เทพเจ้ามีมากมายนับไม่ถ้วน ทั้งในป่า บนภูเขา ทะเล แม่น้ำ ลำธาร ในสายลม แม้แต่ในบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นาในธรรมชาติที่ที่มีความบริสุทธิ์ล้วนเป็นที่สถิตของเทพเจ้าได้ทั้งสิ้น จึงมีคำที่ว่า "เทพแปดล้านองค์" เป็นการรวมคำเพื่อแสดงว่ามีทวยเทพอยู่มากมาย ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถือให้เป็นลัทธิความเชื่อพื้นเมืองประจำประเทศญี่ปุ่น พิธีกรรมของลัทธิชินโตนี้มาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและธรรมเนียมปฏิบัติต่าง ๆ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ได้ถือเป็นพิธีกรรมอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งศาสนาพุทธ และ ลัทธิขงจื๊อ กับ ลัทธิเต๋า รวมทั้งภายหลัง ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ได้เริ่มให้เข้ามาในดินแดนญี่ปุ่น ตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 พิธีกรรมของลัทธิชินโตได้ถูกบันทึกและบัญญัติเป็นครั้งแรกในคัมภีร์โคะจิคิ และจดหมายเหตุนิฮงโชะกิ ในศตวรรษที่ 8 เพื่อตอบโต้ศาสนาที่มีระดับความพัฒนามากกว่าจากแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ตาม งานเขียนในยุคแรกๆก็ยังมิได้บ่งบอกว่าเป็น ลัทธิชินโต แต่งานเขียนในสมัยต่อมาก็ได้บ่งชี้อย่างชัดเจน พร้อมขนบธรรมเนียบของสังคมเกษตรกรรมและเทศกาลประจำปีเข้าไปด้วย รวมไปถึงความเชื่อเรื่องเทพปกรณัมและการกำเนิดโลกต่าง ๆ ซึ่งเล่าถึงต้นกำเนิดของชนชาติญี่ปุ่น ส่วนใหญ่จะหมายถึงเชื้อสายยะมะโตะ และอิสึโมะ ในสมัยนั้น พุทธศาสนาได้แพร่จากจีนเข้าสู่ญี่ปุ่น และมีผสมผสานความเชื่อดั้งเดิม อย่างเช่น ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าในลัทธิชินโตและความเชื่อเรื่องพระโพธิสัตว์ในศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถูกจัดให้เป็นลัทธิบูชาเทพเจ้าหลายองค์ หรือ พหุเทวนิยม และลัทธิบูชาภูตผีวิญญาณ ที่เน้นความบริสุทธิ์ของพิธีกรรมเป็นอย่างมาก รวมถึงยกย่องเกียรติและความมีตัวตนของเทพเจ้า ซึ่งมีทั้งเทพเจ้าที่มีมาจากการยกบุคคลให้เป็นเทพ หรือการบูชาธรรมชาติ และเทพเจ้ายังสามารถมีลูกได้ด้วย ลัทธิชินโตเป็นลัทธิที่ให้ความสำคัญกับพิธีกรรมทางศาสนาเป็นอันดับหนึ่ง เนื่องจากเป็นวิธีที่จะทำให้ศาสนิกชนเข้าถึงและเป็นหนึ่งเดียวกับเทพเจ้าได้มากที่สุด ลัทธิชินโตยุคใหม่ไม่มีสถาบันที่ที่ยกตัวเป็นผู้ควบคุมส่วนกลาง มีเพียงแต่กลุ่มคนที่พยายามรักษาวิถีปฏิบัติของลัทธิชินโตมาตั้งแต่สมัยบรรพกาลจนถึงปัจจุบัน ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ชินโตได้ถูกยกเลิกจากการเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งในปัจจุบันชินโตเริ่มลดหายไปจากวัฒนธรรมญี่ปุ่น โดยที่ยังเห็นได้ในปัจจุบันได้แก่ โอมิคุจิ (การดึงฉลากเสี่ยงโชคในศาลเจ้าชินโต) และการเฉลิมฉลอง งานปีใหม่ญี่ปุ่น ที่มีจัดขึ้นตามศาลเจ้าชินโต.
พ.ศ. 2146
ทธศักราช 2146 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 2411
ทธศักราช 2411 ตรงกั.
พ.ศ. 2414
ทธศักราช 2414 ตรงกั.
การฟื้นฟูเมจิ
การฟื้นฟูพระราชอำนาจสมัยเมจิ (Meiji Restoration) หรือ การปฏิวัติเมจิ (Meiji Revolution) การปฏิรูปเมจิ (Meiji Reform) หรือ การปรับปรุงเมจิ (Meiji Renewal) เป็นเหตุการณ์การปฏิรูปประเทศญี่ปุ่นในปี..
ยุทธการที่เซะกิงะฮะระ
ทธการเซะกิงะฮะระ เป็นยุทธการแตกหักเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..
ดู ยุคเอะโดะและยุทธการที่เซะกิงะฮะระ
ระบบเจ้าขุนมูลนาย
ระบบเจ้าขุนมูลนาย, ระบบฟิวดัลหรือระบบเจ้าครองนคร (feudalism) เป็นระบอบการปกครองในอดีต สยามเรียกว่า ระบบศักดิน.
ดู ยุคเอะโดะและระบบเจ้าขุนมูลนาย
รัฐบาลเอโดะ
รัฐบาลเอโดะ หรือ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เป็นฝ่ายบริหารของประเทศญี่ปุ่นซึ่งใช้ระบอบศักดินา สถาปนาโดยโทกูงาวะ อิเอะยะสุ (徳川家康 Tokugawa Ieyasu) มีผู้ปกครองสูงสุดเป็นโชกุน (将軍 shōgun) ซึ่งต้องมาจากตระกูลโทกูงาวะ (徳川氏 Tokugawa-shi) เท่านั้น ในสมัยที่ประเทศญี่ปุ่นถูกปกครองโดยรัฐบาลโชกุนนั้น จะเรียกว่ายุคเอโดะ (江戸時代 edo-jidai) ตามชื่อเมืองเอโดะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนสถาปนาให้เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ ปัจจุบัน คือกรุงโตเกียว (東京 Tōkyō) มีปราสาทเอโดะ (江戸城 Edo-jō) เป็นศูนย์กลางการปกครองตั้งแต่ ค.ศ.
ศาสนาพุทธ
ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.
ฮาเซคุระ สึเนนากะ
ระยะทางและเวลาการเดินทางของฮาเซคุระ สึเนนากะ ฮาเซคุระ โรคุเอม่อน สึเนนากะ (หรือ ฟรานซิสโก ฟิลิป ฟาซิคูล่า เป็นชื่อที่ได้รับในพิธีศีลจุ่ม ณ ประเทศสเปน)(1571–1622) (Japanese: 支倉六右衛門常長) เป็นซามูไรญี่ปุ่นเป็นข้ารับใช้ของดะเตะ มะซะมุเนะ (ไดเมียวแห่งแคว้นเซนได) ปี.ศ 1613 ถูกส่งไปเจริญสัมพันธไมตรีกับชาติต่างๆในทวีปยุโรป ในปี.ศ 1613-1620,ฮาเซคุระ ถูกส่งไปตามพระราชกิจของนครรัฐวาติกัน ณ กรุงโรม ให้เดินทางไปยัง เขตอุปราชแห่งนิวสเปน(ปัจจุบันเป็นอาณาเขตของประเทศแม็กซิโก) และเยี่ยมชมท่าเรือของชาวยุโรป ซึ่งพระราชกิจที่ได้รับมอบหมายนี้ถูกเรียกโดยชาวญี่ปุ่นว่าคณะทูตปีเคโจ หรือถูกเรียกว่าคณะทูตเทนโช ในการเดินทางกลับญี่ปุ่น ฮาเซคุระได้ล่องเรือจากอากาปุลโกไปยังมะนิลา และไปถึงยังบริเวณตอนเหนือของญี่ปุ่น นับได้ว่าฮาเซคุระ สึเนนากะเป็นเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นคนแรกที่ไปเยือนทวีปอเมริกาและยุโรป หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
ดู ยุคเอะโดะและฮาเซคุระ สึเนนากะ
ฮิระโดะ
ระโดะ เป็นเมืองในจังหวัดนะงะซะกิ ประเทศญี่ปุ่น มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 235.63 ตารางกิโลเมตร เดิมตัวเมืองตั้งอยู่บนเกาะฮิระโดะ แต่ภายหลังการควบรวมกับหมู่บ้านข้างเคียง ทำให้อาณาเขตของเมืองฮิระโดะขยายขว้างขึ้น ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของเกาะคิวชู โดยมีสะพานฮิระโดะเชื่อมระหว่างกัน ฮิระโดะในอดีตเป็นเมืองท่าการค้าที่สำคัญระหว่างญี่ปุ่นกับจีนแผ่นดินใหญ่ และเกาหลี นอกจากนี้ยังเคยเป็นสถานีการค้าของบริษัทอินเดียตะวันออกของดัตช์ในญี่ปุ่น.
ดะเตะ มะซะมุเนะ
ตะ มะซะมุเนะ ดะเตะ มะซะมุเนะ เป็นไดเมียว ที่สำคัญของญี่ปุ่นใน ยุคเซงโงะกุ และอยู่จนถึงยุคเอโดะ มีฉายาว่า มังกรตาเดียว มะซะมุเนะนั้นมีความสนใจต่อการทูตและเทคโนโลยีของชาติตะวันตก โดยในปี..
ดู ยุคเอะโดะและดะเตะ มะซะมุเนะ
ตระกูลมินะโมะโตะ
ตระกูลมินะโมะโตะ เป็นตระกูลซะมุไรที่ทรงอำนาจและอิทธิพลที่สุดตระกูลหนึ่งในญี่ปุ่นยุคเฮอัง เนื่องจากตระกูลนี้ได้ครองตำแหน่งโชกุน เป็นตระกูลแรกของญี่ปุ่น ตระกูลมินะโมะโตะสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิซะงะ ซึ่งครองราชย์ระหว่างปี..
ดู ยุคเอะโดะและตระกูลมินะโมะโตะ
ตระกูลโทกูงาวะ
ตระกูลโทกูงาวะ เป็นตระกูลไดเมียวที่ทรงอำนาจของญี่ปุ่นในอดีต เป็นเชื้อสายของ จักรพรรดิเซวะ ผ่านราชสกุลฟุจิวะระและราชสกุลมินะโมโต..
ซะโกะกุ
ซะโกะกุ (Sakoku; 鎖国) เป็นนโยบายต่างประเทศของญี่ปุ่นซึ่งห้ามคนต่างด้าวเข้าและชาวญี่ปุ่นออกประเทศ โดยมีโทษประหารชีวิต รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะสมัยโทะกุงะวะ อิเอะมิสึกำหนดขึ้นผ่านกฤษฎีกาและนโยบายต่าง ๆ ระหว่าง..
ซามูไร
ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.
โชกุน
กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..
โรนิน
รนิน อาจหมายถึง.
โอซากะ
อซากะ เป็นเมืองที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสามนครเคฮันชิง ตั้งอยู่ในภาคคันไซบนเกาะฮนชู ในเขตจังหวัดโอซากะ เป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองที่มีสถานะเป็นนครโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น นครโอซากะมีประชากรทั้งหมดประมาณ 2.7 ล้านคน แต่ในช่วงเวลาทำงานจะเพิ่มขึ้นเป็น 3.7 ล้านคน ซึ่งเป็นรองเพียงแต่โตเกียวเท่านั้น อัตราส่วนประชากรกลางวันต่อกลางคืนเท่ากับ 141 เปอร์เซ็นต์ นครตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำโยะโดะ อ่าวโอซากะ และทะเลเซะโตะ โอซากะเป็นเป็นเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ ทั้งการค้าและวัฒนธรรมเมืองหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น มีสมญาว่า ครัวของชาติ เพราะเป็นศูนย์กลางการค้าข้าวของญี่ปุ่นตั้งแต่สมัยเอะโดะ และปัจจุบันเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น.
โทกูงาวะ สึนาโยชิ
ทะกุงะวะ สึนะโยะชิ เป็น โชกุน คนที่ 5 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ (ช่วงสมัย: พฤษภาคม ค.ศ. 1680 - 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1709) โทะกุงะวะ สึนะโยะชิ เกิดเมื่อปี..
ดู ยุคเอะโดะและโทกูงาวะ สึนาโยชิ
โทกูงาวะ อิเอมิตสึ
ทะกุงะวะ อิเอะมิสึ เป็น โชกุน คนที่ 3 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ โดยท่านเกิดเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1604 เป็นบุตรชายคนโตของโชกุนคนที่ 2 โทะกุงะวะ ฮิเดะทะดะ และเป็นหลานปู่ของโชกุนคนแรกของตระกูล โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ โดยท่านเป็นสมาชิกของตระกูลคนแรกที่เกิดในสมัย ที่ผู้เป็นปู่ได้เป็นโชกุนต่อมาเมื่อผู้เป็นบิดาได้ลงจากอำนาจในปี ค.ศ.
ดู ยุคเอะโดะและโทกูงาวะ อิเอมิตสึ
โทกูงาวะ อิเอยาซุ
ทกูงาวะ อิเอยาซุ คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมืองเอะโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็นโชกุนคนแรกจากตระกูลโทกูงาวะที่ปกครองประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่สิ้นสุด ศึกเซะกิงะฮะระและเริ่มต้นยุคเอะโดะ เมื่อปี..
ดู ยุคเอะโดะและโทกูงาวะ อิเอยาซุ
โทกูงาวะ อิเอสึนะ
ทะกุงะวะ อิเอะสึนะ เป็น โชกุน คนที่ 4 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ ในยุคสมัยของเขานี้เอง..
ดู ยุคเอะโดะและโทกูงาวะ อิเอสึนะ
โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ
ทะกุงะวะ ฮิเดะตะดะ เป็นโชกุนคนที่ 2 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ โดยท่านเป็นบุตรชายคนที่ 3 ของ โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู ยุคเอะโดะและโทกูงาวะ ฮิเดตาดะ
โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ
ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.
ดู ยุคเอะโดะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ
โตเกียว
ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ.
ไดเมียว
ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.
เกาะคีวชู
ีวชู เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และตั้งอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีเนื้อที่ 35,640 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 14,779,000 คน (ปี 2003) ชื่อคีวชูหมายถึง เก้าแคว้น.
เกียวโต (นคร)
แผนที่ ไดไดริ (แบบจำลอง) ของนครเฮอังเกียว เกียวโต, 1891 นักท่องเที่ยวที่วัดคิโยะมิซุ นครเกียวโต (ออกเสียง: เคียวโตะ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดเกียวโต และเป็นอดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดว่าเป็นศูนย์กลางของเกาะฮนชู นอกจากนี้ นครเกียวโตยังเป็นหนึ่งในสมาชิกของ กลุ่มเมืองใหญ่ "เคฮันชิง" และนครเกียวโต ยังจัดว่าเป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 11 ของโลก ในปี..
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.
ดู ยุคเอะโดะและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เคียวโตะ
ียวโตะ หรือ เกียวโต อาจหมายถึง.
ดูเพิ่มเติม
ประเทศญี่ปุ่นสมัยเจ้าขุนมูลนาย
ประเทศญี่ปุ่นในคริสต์ศตวรรษที่ 17
ประเทศญี่ปุ่นในคริสต์ศตวรรษที่ 18
ยุคเอโดะ
ศักราชญี่ปุ่น
- ยุคนาระ
- ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้
- ยุคอาซูจิ–โมโมยามะ
- ยุคเมจิ
- ยุคเอโดะ
- ยุคเฮเซ
- ยุคโจมง
- ยุคโชวะ
- ยุคไทโช
- ศักราชของญี่ปุ่น
- เก็นจิ (ศักราช)
- เคอัง
- เคโช
- เคโอ
- เฮจิ
- โคโกะกุ
- โจคิว
- โฮเง็ง
- ไดโด
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Edo eraEdo periodยุคเอโดะสมัยเอะโดะ