สารบัญ
37 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2122พ.ศ. 2148พ.ศ. 2166พ.ศ. 2175การล้อมโอซะกะมะเอะดะ โทะชิอิเอะมิไดโดะโกะโระยุคเอะโดะรัฐบาลเอโดะสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมอะซะอิ นะงะมะซะอาณาจักรอยุธยาจักรพรรดินีเมโชจักรพรรดิโกะ-มิซุโนคันโตตระกูลโทกูงาวะซามูไรปราสาทโอซากะปราสาทเอโดะนางาซากิแคว้นมิกะวะโชกุนโยะโดะ โดะโนะโอะเอะโยะโอดะ โนบูนางะโฮะชินะ มะซะยุกิโทกูงาวะ อิเอมิตสึโทกูงาวะ อิเอยาซุโทะกุงะวะ ทะดะนะงะโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะริไดเมียวเกาะฮนชูเก็มปุกุเซ็ปปุกุ14 มีนาคม2 พฤษภาคม
- ตระกูลโทกูงาวะ
- บุคคลจากฮามามัตสึ
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2122
- บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2175
- บุคคลในยุคอาซูจิ–โมโมยามะ
- บุคคลในยุคเอโดะ
- โชกุนโทกูงาวะ
พ.ศ. 2122
ทธศักราช 2122 ใกล้เคียงกั.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและพ.ศ. 2122
พ.ศ. 2148
ทธศักราช 2148 ใกล้เคียงกั.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและพ.ศ. 2148
พ.ศ. 2166
ทธศักราช 2166 ใกล้เคียงกั.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและพ.ศ. 2166
พ.ศ. 2175
ทธศักราช 2175 ใกล้เคียงกั.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและพ.ศ. 2175
การล้อมโอซะกะ
การล้อมโอซะกะ เป็นสงครามครั้งแรกใน สมัยเอะโดะ ระหว่าง ตระกูลโทะกุงะวะ และ ตระกูลโทะโยะโตะมิ ที่นำโดย โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ และ โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะริ ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างปี 1614-15 โดยผลสรุปของสงครามครั้งนี้คือตระกูลโทะกุงะวะได้ชัยชนะอย่างเด็ดขาดเพราะตระกูลโทะโยะโตะมิถูกกวาดล้างสงครามครั้งนี้จึงทำให้ตระกูลโทะกุงะวะได้ครองญี่ปุ่นอย่างเด็ดขาดโดยไม่มีไดเมียวคนใดกล้าต่อต้าน หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:สงครามสมัยโบราณ.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและการล้อมโอซะกะ
มะเอะดะ โทะชิอิเอะ
มะเอะดะ โทะชิอิเอะ (15 มกราคม 1538 – 27 เมษายน 1599) ขุนพลคนสำคัญระดับแกนนำของ โอะดะ โนะบุนะงะ ในช่วง ยุคอะซุชิโมะโมะยะมะ ถึง ยุคเซ็งโงะกุ พ่อของเขาคือ มะเอะดะ โทะชิมะซะ เป็นบุตรคนที่ 4 จากพี่น้องทั้งหมด 7 คนมีชื่อเมื่อวัยเด็กว่า อินุชิโยะ หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ไดเมียว หมวดหมู่:บุคคลในยุคมุโระมะจิ หมวดหมู่:บุคคลในยุคอะซุชิโมะโมะยะมะ หมวดหมู่:บุคคลจากนะโงะยะ หมวดหมู่:ข้ารับใช้ตระกูลโอะดะ หมวดหมู่:ข้ารับใช้ตระกูลโทะโยะโตะมิ.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและมะเอะดะ โทะชิอิเอะ
มิไดโดะโกะโระ
มิไดโดะโกะโระ เป็นตำแหน่งภรรยาเอกของ โชกุน โดยเริ่มมีมาตั้งแต่สมัย คะมะกุระ ซึ่งผู้ที่รับตำแหน่งนี้ เป็นคนแรกคือ โฮโจ มะซะโกะ ภรรยาเอกของ มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ โชกุนคนแรกของญี่ปุ่น ตำแหน่งมิไดนี้มีมาจนถึงสมัย เอโดะ ก่อนจะถูกยกเลิก ไปหลังจากที่ โทะกุงะวะ โยะชิโนะบุ โชกุนคนสุดท้าย ของญี่ปุ่นถวายคืนพระราชอำนาจแก่ จักรพรรดิเมะจิ หมวดหมู่:ศักดินาญี่ปุ่น.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและมิไดโดะโกะโระ
ยุคเอะโดะ
อะโดะ หรือยุคที่เรียกว่า ยุคโทะกุงะวะ (徳川時代 Tokugawa-jidai) ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1868 คือยุคที่มีไดเมียวตระกูลโทะกุงะวะเป็นโชกุน เริ่มเมื่อโทะกุงะวะ อิเอะยะซุ ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน..
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและยุคเอะโดะ
รัฐบาลเอโดะ
รัฐบาลเอโดะ หรือ รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เป็นฝ่ายบริหารของประเทศญี่ปุ่นซึ่งใช้ระบอบศักดินา สถาปนาโดยโทกูงาวะ อิเอะยะสุ (徳川家康 Tokugawa Ieyasu) มีผู้ปกครองสูงสุดเป็นโชกุน (将軍 shōgun) ซึ่งต้องมาจากตระกูลโทกูงาวะ (徳川氏 Tokugawa-shi) เท่านั้น ในสมัยที่ประเทศญี่ปุ่นถูกปกครองโดยรัฐบาลโชกุนนั้น จะเรียกว่ายุคเอโดะ (江戸時代 edo-jidai) ตามชื่อเมืองเอโดะ ซึ่งรัฐบาลโชกุนสถาปนาให้เป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ ปัจจุบัน คือกรุงโตเกียว (東京 Tōkyō) มีปราสาทเอโดะ (江戸城 Edo-jō) เป็นศูนย์กลางการปกครองตั้งแต่ ค.ศ.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและรัฐบาลเอโดะ
สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
มเด็จพระเจ้าทรงธรรม หรือ สมเด็จพระบรมราชาที่ 1 หรือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงธรรม หรือ สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงธรรมอันมหาประเสริฐ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 21 แห่งกรุงศรีอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์สุโขทัย หลังจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สำเร็จโทษพระมหากษัตริย์องค์ก่อนแล้ว พระศรีศิลป์หรือพระพิมลธรรม หรือพระเจ้าทรงธรรมก็เสด็จปราบดาภิเษกขึ้นครองราชสมบัต.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
อะซะอิ นะงะมะซะ
อะซะอิ นะงะมะซะ อะซะอิ นะงะมะซะ เป็นไดเมียว ที่ใน ยุคเซ็งโงะกุ ครอบครองอยู่แถบจังหวัดโอม.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและอะซะอิ นะงะมะซะ
อาณาจักรอยุธยา
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและอาณาจักรอยุธยา
จักรพรรดินีเมโช
มเด็จพระจักรพรรดินีเมโช (9 มกราคม 1624 – 4 ธันวาคม 1696) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 109 ของประเทศญี่ปุ่น พระนางครองราชย์เมื่อ 22 ธันวาคม..
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและจักรพรรดินีเมโช
จักรพรรดิโกะ-มิซุโน
ักรพรรดิโกะ-มิซุโน (Emperor Go-Mizunoo) จักรพรรดิองค์ที่ 108 แห่งราชวงศ์ญี่ปุ่นตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น และเป็นพระราชบิดาของจักรพรรดิและจักรพรรดินีถึง 4 พระองค์คือ จักรพรรดินีเมโช องค์ที่ 109, จักรพรรดิโกะ-โคเมียว องค์ที่ 110, จักรพรรดิโกะ-ไซ องค์ที่ 111 และ จักรพรรดิเรเง็ง องค์ที่ 112 พระนามของจักรพรรดิโกะ-มิซุโนนำมาจากพระนามของ จักรพรรดิเซวะ (Emperor Seiwa) จักรพรรดิองค์ที่ 56 ที่ปกครองในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 9 ที่มีอีกพระนามหนึ่งว่า จักรพรรดิมิซุโน เมื่อใส่คำว่า โกะ เข้าไปทำให้พระนามของจักรพรรดิโกะ-มิซุโนมีความหมายว่า จักรพรรดิมิซุโนที่สอง หรือ จักรพรรดิมิซุโนยุคหลัง ใน..
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและจักรพรรดิโกะ-มิซุโน
คันโต
ันโต เป็นภูมิภาคของประเทศญี่ปุ่นบนเกาะฮนชู ในภาคคันโตประกอบด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกุมมะ, คะนะงะวะ, ชิบะ, ไซตะมะ, โตเกียว, โทะชิงิ และ อิบะระกิ คันโตมีขนาดประมาณ 32,423.85 ตารางกิโลเมตร ลักษณะเป็นที่ราบลุ่มประมาณร้อยละ 40 และที่เหลือมีลักษณะเป็นภูเขา ภาคคันโตมีประชากรประมาณ 41,487,171 คน (วันที่ 1 ตุลาคม..
ตระกูลโทกูงาวะ
ตระกูลโทกูงาวะ เป็นตระกูลไดเมียวที่ทรงอำนาจของญี่ปุ่นในอดีต เป็นเชื้อสายของ จักรพรรดิเซวะ ผ่านราชสกุลฟุจิวะระและราชสกุลมินะโมโต..
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและตระกูลโทกูงาวะ
ซามูไร
ซามูไรในชุดเกราะ ถ่ายในช่วงทศวรรษที่ 1860 โดย เฟรีเช บีอาโต ซามูไร แปลเป็นภาษาไทยว่าทหาร คำว่า ซามูไร มีต้นกำเนิดจากคำว่า ซะบุระอุ ซึ่งเป็นคำกริยาในภาษาญี่ปุ่นโบราณ ที่มีความหมายว่า รับใช้ ฉะนั้น ซามูไรก็คือคนรับใช้นั่นเอง.
ปราสาทโอซากะ
ปราสาทโอซากะ เป็นปราสาทญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในเขตชูโอ นครโอซากะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นปราสาทที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น มีบทบาทในช่วงสงครามการรวมประเทศญี่ปุ่นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะม.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและปราสาทโอซากะ
ปราสาทเอโดะ
ปราสาทเอโดะ (江戸城, Edo Castle) เป็นปราสาทที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น เพราะเคยใช้เป็นที่พักของรัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ เริ่มก่อสร้างในปี..
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและปราสาทเอโดะ
นางาซากิ
มืองนางาซากิ เป็นเมืองเอกและเมืองที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดนางาซากิ บนเกาะคิวชู ประเทศญี่ปุ่น นางาซากิถูกก่อตั้งขึ้นโดยชาวโปรตุเกสในปลายศตวรรษที่ 16 ซึ่งขณะนั้นเป็นเพียงหมู่บ้านเล็กๆเพื่อการประมง ซึ่งทำให้นางาซากิกลายเป็นศูนย์กลางอิทธิพลของชาวโปรตุเกสและชาวยุโรป ตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 ถึง 19 มีโบสถ์และศาสนสถานของศาสนาคริสต์มากมายในนางาซากิ ซึ่งศาสนสถานเหล่านี้ ได้ถูกขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลก นอกเหนือไปจากนี้ ท่าเรือในนางาซากิ ยังเคยเป็นที่ตั้งของฐานทัพเรือของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง และ สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น นามของเมืองว่า "นางาซากิ" (長崎) มีความหมายว่า "แหลมที่ทอดยาว" ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง 9 สิงหาคม..
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและนางาซากิ
แคว้นมิกะวะ
แผนที่ประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1868 แคว้นมิกะวะถูกแทนที่ด้วยสีแดง แคว้นมิกะวะ อดีตแคว้นศักดินาในประเทศญี่ปุ่นซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของ จังหวัดไอชิ แคว้นมิกะวะมีพื้นที่ติดกับอีก 4 แคว้นคือ แคว้นมิโนะ, แคว้นโอะวะริ, แคว้นโทโทมิ และ แคว้นชินะโนะ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:จังหวัดไอชิ.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและแคว้นมิกะวะ
โชกุน
กุน เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการทหารแห่งญี่ปุ่นระหว่าง..
โยะโดะ โดะโนะ
นะ โยะโดะ โดะโนะ (ค.ศ. 1569 — 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1615) เป็นสตรีที่ทรงอำนาจในญี่ปุ่นยุคอะซุชิโมะโมะยะมะ ในฐานะหลานสาวของ โอดะ โนะบุนะงะ ภรรยาน้อยของโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ และเป็นผู้นำในการต่อต้านการปกครองของรัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะในช่วงแรก.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและโยะโดะ โดะโนะ
โอะเอะโยะ
โอะเอะโยะ เป็น มิได คนแรกของ รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ และมีศักดิ์เป็นหลานของ โอะดะ โนะบุนะงะ โอะเอะโยะ เกิดเมื่อปี ค.ศ.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและโอะเอะโยะ
โอดะ โนบูนางะ
อดะ โนบุนางะ เป็นไดเมียว และหนึ่งในสามผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุคเซงโงกุ เป็นหนึ่งในสามผู้รวบรวมญี่ปุ่นจากความแตกแยกในยุคเซงโงก.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและโอดะ โนบูนางะ
โฮะชินะ มะซะยุกิ
โฮะชินะ มะซะยุกิ (17 เมษายน 1611 – 4 กุมภาพันธ์ 1673) ไดเมียว ในช่วงต้น ยุคเอะโดะ และเป็นผู้ก่อตั้ง ตระกูลมะสึไดระ แห่งไอซุอันเป็นสาขาย่อยของ ตระกูลโทะกุงะวะ เขาเป็นบุคคลสำคัญทางด้านการเมืองและปรัชญาในช่วงต้นของ รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ มะซะยุกิเกิดที่ เอะโดะ เป็นบุตรชายคนที่ 4 ของโชกุนคนที่ 2 แห่ง รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ โทะกุงะวะ ฮิเดะตะดะ ที่เกิดแต่ โอะชิซุ โนะ คะตะ หรือต่อมาคือท่านโจโคอิงซึ่งเป็นข้ารับใช้ในปราสาทเอะโดะโดยฮิเดะตะดะได้ซ่อนบุตรชายที่เกิดใหม่พร้อมกับตั้งชื่อบุตรชายว่า โคะมะสึ ให้รอดพ้นจากการตามฆ่าของนาง โอะเอะโยะ ซึ่งเป็นมิไดหรือภรรยาเอกของโชกุนฮิเดะตะดะหลังจากนั้นจึงได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของ โฮะชินะ มะซะมิสึ อดีตข้ารับใช้ของ ตระกูลทะเกะดะ และเป็นไดเมียวแห่ง แคว้นทะกะโตะ หมวดหมู่:ไดเมียว หมวดหมู่:บุคคลในยุคเอะโดะ หมวดหมู่:ตระกูลโทะกุงะวะ.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและโฮะชินะ มะซะยุกิ
โทกูงาวะ อิเอมิตสึ
ทะกุงะวะ อิเอะมิสึ เป็น โชกุน คนที่ 3 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ โดยท่านเกิดเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1604 เป็นบุตรชายคนโตของโชกุนคนที่ 2 โทะกุงะวะ ฮิเดะทะดะ และเป็นหลานปู่ของโชกุนคนแรกของตระกูล โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ โดยท่านเป็นสมาชิกของตระกูลคนแรกที่เกิดในสมัย ที่ผู้เป็นปู่ได้เป็นโชกุนต่อมาเมื่อผู้เป็นบิดาได้ลงจากอำนาจในปี ค.ศ.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและโทกูงาวะ อิเอมิตสึ
โทกูงาวะ อิเอยาซุ
ทกูงาวะ อิเอยาซุ คือผู้สถาปนาบะกุฟุ (รัฐบาลทหาร) ที่เมืองเอะโดะ (โตเกียวในปัจจุบัน) และเป็นโชกุนคนแรกจากตระกูลโทกูงาวะที่ปกครองประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่สิ้นสุด ศึกเซะกิงะฮะระและเริ่มต้นยุคเอะโดะ เมื่อปี..
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและโทกูงาวะ อิเอยาซุ
โทะกุงะวะ ทะดะนะงะ
ทะกุงะวะ ทะดะนะงะ (Tokugawa Tadanaga) ไดเมียวแห่งแคว้นโคฟุ คนที่ 2 ในยุคเอ.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและโทะกุงะวะ ทะดะนะงะ
โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ
ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ
โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะริ
ริสิ้นชีวิตพร้อมกับนางโยะโดะเมื่อปี ค.ศ. 1615 ในเหตุการณ์ การล้อมโอซะกะ ขณะอายุได้เพียง 22 ปีส่วนบุตรชายถูกจับประหารชีวิตและบุตรสาวถูกส่งไปอยู่วัดชี หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะริ
ไดเมียว
ไดเมียว (แปลว่า มูลนาย) นั้นเป็นตำแหน่งเจ้าเมืองที่มีความสำคัญรองลงมาจากโชกุนและไดเมียวจากหลายตระกูลก็ได้เป็นโชกุนในเวลาต่อมา พวกตระกูลที่มีฐานะเป็นไดเมียวเรียกกันว่า โคตรตระกูล หมวดหมู่:ซะมุไร หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น หมวดหมู่:ไดเมียว.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและไดเมียว
เกาะฮนชู
นชู (สำเนียงญี่ปุ่นอ่านว่า) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศญี่ปุ่น คิดเป็นพื้นที่กว่าร้อยละ 60 ของประเทศญี่ปุ่น มีพื้นที่ 227,962.59 ตารางกิโลเมตร ใหญ่กว่าเกาะอังกฤษเล็กน้อย มีความยาวประมาณ 1,300 กิโลเมตร ความกว้างตั้งแต่ 50-250 กิโลเมตร มีชายฝั่งติดทะเลยาวกว่า 5,450 กิโลเมตรรอบเกาะGeography of the World.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและเกาะฮนชู
เก็มปุกุ
เก็มปุกุ หรือ พิธีฉลองการเจริญวัย พิธีโบราณของญี่ปุ่นที่ถูกจัดขึ้นเพื่อแสดงถึงการเติบโตเป็นผู้ใหญ่ซึ่งพิธีนี้เป็นพิธีที่รับมาจากเมืองจีนในสมัย ราชวงศ์ถัง โดยต้องย้อนไปถึง ยุคนะระ (1253 – 1337) เมื่อการประกอบพิธีเก็มปุกุเสร็จสิ้นลงก็จะมีการมอบชื่อใหม่ให้กับผู้รับการประกอบพิธีซึ่งปัจจุบันพิธีเก็มปุกุแบบโบราณได้ถูกยกเลิกไปโดยได้มีการจัดงานที่เรียกว่า เซจิงชิกิ ขึ้นมาแทน หมวดหมู่:วัฒนธรรมญี่ปุ่น.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและเก็มปุกุ
เซ็ปปุกุ
ีกรรมฮาราคีรี เซ็ปปุกุ หรือ ฮาราคีรี เป็นการฆ่าตัวตายโดยการคว้านท้อง ในยุคซามูไร ของประเทศญี่ปุ่น โดยใช้มีดสั้นแทงที่หน้าท้องใต้เอวขวา แล้วกรีดมาทางซ้ายแล้ว ดึงมีดขึ้นข้างบน ซึ่งเป็นการเปิดเยื่อบุช่องท้องแล้วตัดลำไส้ให้ขาด หลังจากนั้นซามูไรอีกคนหนึ่งจะใช้ดาบซามูไรตัดศีรษะจนขาด การตายด้วยวิธีนี้ เชื่อว่าเป็นการตายอย่างมีเกียรติแล้ว ส่วนใหญ่ผู้ทำเซ็ปปุกุทำตามหลักศาสนาชินโตที่จารึกไว้ในคัมภีร์โคะจิคิ เพราะแสดงความกล้าหาญและพิสูจน์ให้เห็นถึงความสามารถในการบังคับจิตใจของตนเอง การคว้านท้องถูกนำมาใช้โดยสมัครใจที่จะตายกับซามูไรที่มีเกียรติแทนที่จะตกอยู่ในมือของศัตรูของพวกเขา (และน่าจะถูกทรมาน) เป็นรูปแบบของโทษประหารชีวิตสำหรับซามูไรที่มีการกระทำผิดร้ายแรงหรือดำเนินการ เหตุผลอื่น ๆ ที่ได้นำความอัปยศแก่พวกเขา การฆ่าตัวตายโดยการจำยอมจึงถือเป็นพิธีซึ่งโดยปกติจะเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมซับซ้อนมากขึ้นและการดำเนินการในฐานะที่ต้องการให้ผู้อื่นเข้าใจในการต้องการในการรักษาเกียรติของพวกเขาจึงควรมีผู้คนมาชมขณะทำเซ็ปปุกุด้วย ในญี่ปุ่น คำว่า "ฮาราคีรี" ถือเป็นคำหยาบและไม่เคารพต่อผู้กระทำเซ็ปปุกุ และการเขียนตัวอักษรคันจิของสองคำนี้เขียนเหมือนกันโดยสลับตัวอักษรหน้าหลัง.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและเซ็ปปุกุ
14 มีนาคม
วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและ14 มีนาคม
2 พฤษภาคม
วันที่ 2 พฤษภาคม เป็นวันที่ 122 ของปี (วันที่ 123 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 243 วันในปีนั้น.
ดู โทกูงาวะ ฮิเดตาดะและ2 พฤษภาคม
ดูเพิ่มเติม
ตระกูลโทกูงาวะ
- ตระกูลโทกูงาวะ
- ท่านหญิงไซโง
- ปราสาทนาโงยะ
- ปราสาทนิโจ
- มูลนิธิโทะกุงะวะเมโมเรียล
- เจ้าหญิงคิกูโกะ พระชายาในเจ้าชายโนบูฮิโตะ
- เท็นโชอิง
- โทกูงาวะ อิเอชิเงะ
- โทกูงาวะ อิเอซาดะ
- โทกูงาวะ อิเอนาริ
- โทกูงาวะ อิเอมิตสึ
- โทกูงาวะ อิเอยาซุ
- โทกูงาวะ อิเอฮารุ
- โทกูงาวะ อิเอโนบุ
- โทกูงาวะ อิเอโมจิ
- โทกูงาวะ อิเอโยชิ
- โทกูงาวะ อิเอ็ตสึงุ
- โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ
- โทกูงาวะ โยชิมูเนะ
- โทกูงาวะ โยชิโนบุ
- โทะกุงะวะ มุเนะตะเกะ
บุคคลจากฮามามัตสึ
- โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ
บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2122
- จอห์น เฟล็ตเชอร์
- นะฉิ่นเหน่าง์
- เจคอบ แอสต์ลีย์ บารอนแอสต์ลีย์ที่ 1 แห่งเรดิง
- โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ
บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2175
- พระนางอินมก
- พระเจ้าซิกมุนด์ที่ 3 วาซา
- ฟรีดริชที่ 5 ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต
- โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ
บุคคลในยุคอาซูจิ–โมโมยามะ
- ท่านหญิงไซโง
- ฮัตโตริ ฮันโซ
- โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ
- โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ
- โอดะ โนบูนางะ
บุคคลในยุคเอโดะ
- คิกุชิ โยไซ
- จักรพรรดินินโก
- จักรพรรดินีเมโช
- จักรพรรดิเมจิ
- จักรพรรดิเรเง็ง
- จักรพรรดิโกะ-โคเมียว
- จักรพรรดิโกะ-ไซ
- จักรพรรดิโคเม
- เจ้าหญิงยุกิโกะ
- เจ้าหญิงโยะชิโกะ (จักรพรรดิโคกะกุ)
- โทกูงาวะ อิเอมิตสึ
- โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ
โชกุนโทกูงาวะ
- รัฐบาลเอโดะ
- โทกูงาวะ สึนาโยชิ
- โทกูงาวะ อิเอชิเงะ
- โทกูงาวะ อิเอซาดะ
- โทกูงาวะ อิเอนาริ
- โทกูงาวะ อิเอมิตสึ
- โทกูงาวะ อิเอยาซุ
- โทกูงาวะ อิเอฮารุ
- โทกูงาวะ อิเอโนบุ
- โทกูงาวะ อิเอโมจิ
- โทกูงาวะ อิเอโยชิ
- โทกูงาวะ อิเอ็ตสึงุ
- โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ
- โทกูงาวะ โยชิมูเนะ
- โทกูงาวะ โยชิโนบุ
หรือที่รู้จักกันในชื่อ โชกุนฮิเดะตะดะโทะกุงะวะ ฮิเดะทะดะ