สารบัญ
50 ความสัมพันธ์: ชาร์ล เดอ โกลพลาธิการกิจการภายในประชาชนกองทัพบกจักรวรรดิเยอรมันกองทัพแดงการกวาดล้างใหญ่การปฏิวัติเดือนตุลาคมมอสโกมินสค์ยุทธการที่สตาลินกราดยุทธการที่ฮาลฮิน กอลรัฐประหารลัทธิฟาสซิสต์วยาเชสลาฟ โมโลตอฟวอร์ซอวิลนีอุสวีเต็บสค์ว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมันสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียสหภาพโซเวียตสหราชอาณาจักรสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3สงครามกลางเมืองรัสเซียสงครามครูเสดสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามโปแลนด์–โซเวียตสโมเลนสค์อิงก็อลชตัทอดอล์ฟ ฮิตเลอร์จอมพลแห่งสหภาพโซเวียตจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรวรรดิรัสเซียทหารม้าดมีตรี ชอสตโกวิชคลีเมนต์ โวโรชีลอฟปฏิบัติการบากราติออนนาซีเยอรมนีนีกีตา ครุชชอฟนีโคไล เยจอฟแม่น้ำวิสวาโจเซฟ สตาลินโนโวรอสซีสค์ไรน์ฮาร์ด ฮายดริชไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ไซบีเรียเกออร์กี จูคอฟเลออน ทรอตสกีเครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดงเครื่องอิสริยาภรณ์เลนินเคานต์
- จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต
- ทหารชาวรัสเซียในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- เชลยศึกชาวจักรวรรดิรัสเซีย
ชาร์ล เดอ โกล
ร์ล อ็องเดร โฌแซ็ฟ มารี เดอ โกล (Charles André Joseph Marie de Gaulle) หรือ ชาร์ล เดอ โกล (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนายทหารและรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นที่รู้จักในนาม นายพลเดอ โกล ก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี พ.ศ.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและชาร์ล เดอ โกล
พลาธิการกิจการภายในประชาชน
ลาธิการกิจการภายในประชาชน (Народный комиссариат внутренних дел, Narodnyi Komissariat Vnutrennikh Del) เรียกชื่อสั้นๆว่า NKVD เป็นหน่วยงานผู้บังคับใช้กฎหมายของสหภาพโซเวียตที่ดำเนินการโดยตรงต่อพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและพลาธิการกิจการภายในประชาชน
กองทัพบกจักรวรรดิเยอรมัน
กองทัพบกจักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Heer) เป็นกองทัพบกของจักรวรรดิเยอรมัน.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและกองทัพบกจักรวรรดิเยอรมัน
กองทัพแดง
accessdate.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและกองทัพแดง
การกวาดล้างใหญ่
อัยการสูงสุด อันเดรย์ วืยชินสกี (คนกลาง), กำลังอ่านข้อกล่าวหาต่อ Karl Radek ในช่วง การพิจารณาคดีมอสโกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและการกวาดล้างใหญ่
การปฏิวัติเดือนตุลาคม
การปฏิวัติเดือนตุลาคม (October Revolution, Октя́брьская револю́ция) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า การปฏิวัติสังคมนิยมแห่งเดือนตุลาคมอันยิ่งใหญ่ (Great October Socialist Revolution, Вели́кая Октя́брьская социалисти́ческая револю́ция) และเรียกโดยทั่วไปว่า ตุลาคมแดง, การลุกฮือเดือนตุลาคม หรือ การปฏิวัติบอลเชวิก เป็นการยึดอำนาจรัฐ ซึ่งมีความสำคัญส่วนหนึ่งของการปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและการปฏิวัติเดือนตุลาคม
มอสโก
มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..
มินสค์
ริเวณจัตุรัสแห่งชัยชนะในกรุงมินสค์ มินสค์ (Minsk; Мінск; Минск) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสวิสลาช (Svislach) และแม่น้ำเนียมีฮา (Niamiha) ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล 280.4 เมตร กรุงมินสค์เป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของเครือรัฐเอกราช (CIS) ในที่เป็นฐานะเมืองหลวงของประเทศ ยังมีสถานะการบริหารพิเศษและยังเป็นศูนย์กลางการบริหารของจังหวัดมินสค์และเขตมินสค์อีกด้วย ในปี ค.ศ.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและมินสค์
ยุทธการที่สตาลินกราด
ทธการสตาลินกราด เป็นยุทธการใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายหนึ่ง สู้รบกับสหภาพโซเวียตอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อแย่งชิงการควบคุมนครสตาลินกราด (ปัจจุบันคือ วอลโกกราด ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหพันธรัฐรัสเซีย) ยุทธการดำเนินไประหว่างวันที่ 21 สิงหาคม..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและยุทธการที่สตาลินกราด
ยุทธการที่ฮาลฮิน กอล
ทธการฮาลฮิน กอลเป็นการสู้รบอย่างดุเดือดของข้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่นโดยไม่ได้ประกาศซึ่งสู้รบบนพื้นที่ระหว่างสหภาพโซเวียต, มองโกเลีย, ญี่ปุ่น และแมนจูกัวในปี..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและยุทธการที่ฮาลฮิน กอล
รัฐประหาร
รัฐประหาร (coup d'état กูเดตา) เป็นการใช้กำลังยึดอำนาจและเปลี่ยนแปลงรัฐบาลอย่างฉับพลันและไม่ชอบด้วยกฎหมาย ปกติเกิดจากสถาบันของรัฐที่มีอยู่เดิมขนาดเล็กเพื่อโค่นรัฐบาลซึ่งเป็นที่ยอมรับแล้วเปลี่ยนเป็นองค์การปกครองใหม่ ไม่ว่าเป็นพลเรือนหรือทหาร รัฐประหารพิจารณาว่าสำเร็จแล้วเมื่อผู้ยึดอำนาจสถาปนาภาวะครอบงำ รัฐประหารไม่จำเป็นต้องเกิดความรุนแรงหรือเสียเลือดเนื้อ ศาลฎีกาตีความว่า รัฐประหารมิได้ขัดต่อกฎหมาย เพราะ "กฎหมายคือคำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์".
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและรัฐประหาร
ลัทธิฟาสซิสต์
ัญลักษณ์ลัทธิฟาสซิสต์ ลัทธิฟาสซิสต์ (Fascism) เป็นชาติ-อำนาจนิยมมูลวิวัติรูปแบบหนึ่งTurner, Henry Ashby, Reappraisals of Fascism.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและลัทธิฟาสซิสต์
วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ
วยาเชสลาฟ มีฮาอิลโลวิช โมโลตอฟ (Вячесла́в Миха́йлович Мо́лотов; 9 มีนาคม 1890 – 8 พฤษจิกายน 1986) เป็นนักการเมืองและนักการทูตโซเวียตในสมัยของโจเซฟ สตาลิน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในช่วงสงครามโลกครั่งที่สองและในช่วงปี 1957 ก็ถูกไล่ออกจากประธานคณะกรรมาธิการกลางด้วยนีกีตา ครุชชอฟ และไม่เล่นการเมืองอีกเลยจนเขาเสียชีวิตลง.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและวยาเชสลาฟ โมโลตอฟ
วอร์ซอ
วอร์ซอ (Warszawa) แผนที่แสดงที่ตั้งของกรุงวอร์ซอ วอร์ซอ (อังกฤษ: Warsaw; โปแลนด์: Warszawa วารฺชาวา) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศโปแลนด์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำวิสทูลา ห่างจากชายฝั่งทะเลบอลติกประมาณ 370 กิโลเมตร มีประชากรอาศัยอยู่ในตัวเมืองประมาณ 1,726,581 (2014) คน และรวมเขตเมืองด้วยจะประมาณ 2,760,000 คน (ข้อมูล พ.ศ.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและวอร์ซอ
วิลนีอุส
อนุสาวรีย์ไม้กางเขน 3 อันในกรุงวิลนีอุส วิลนีอุส (Vilnius) (ภาษาเบลารุส Вільня, ภาษาโปแลนด์ ไฟล์:Ltspkr.png Wilno, ภาษารัสเซีย Вильнюс, อดีต Вильно, ภาษาเยอรมัน Wilna) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลิทัวเนีย มีจำนวนประชากรมากกว่า 540,000 คน ในปี พ.ศ.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและวิลนีอุส
วีเต็บสค์
วีเต็บสค์ (Vitebsk) หรือ วีตเซียบสค์ (Ві́цебск; Ви́тебск; Viciebsk หรือ Vitsyebsk) เป็นเมืองในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่ใกล้ชายแดนประเทศรัสเซีย เป็นเมืองหลวงของวีเต็บสค์โอบลาสต์ ในปี..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและวีเต็บสค์
ว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน
"ว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน" (On the Cult of Personality and Its Consequences; О культе личности и его последствиях) เป็นรายงานโดย นิกิตา ครุสชอฟ ที่จัดทำต่อการประชุมครั้งที่ 20 ของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2499 สุนทรพจน์ของครุสชอฟวิจารณ์การปกครองของโจเซฟ สตาลิน เลขาธิการและนายกรัฐมนตรีผู้ล่วงลับอย่างแหลมคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกวาดล้างพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตซึ่งส่วนใหญ่เกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 ครุสชอฟกล่าวหาสตาลินว่าสนับสนุนการเติบโตของลัทธิบูชาบุคคลของผู้นำแม้ภายนอกแสดงว่ายังสนับสนุนอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ สุนทรพจน์นี้เป็นหลักสำคัญใน "การผ่อนคลายความตึงเครียดครุสชอฟ" (Khrushchev Thaw) โดยผิวเผิน สุนทรพจน์ดังกล่าวเป็นความพยายามดึงพรรคคอมมิวนิสต์โซเวียตให้เข้าใกล้ลัทธิเลนินมากขึ้น ทว่า แรงจูงใจลับของครุสชอฟ คือ สร้างความชอบธรรมและช่วยรวบการควบคุมพรรคคอมมิวนิสต์และรัฐบาลของเขา อำนาจซึ่งได้มาในการแย่งชิงทางการเมืองกับผู้ภักดีต่อสตาลิน วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ และเกออร์กี มาเลนคอฟ รายงานของครุสชอฟถูกเรียกว่า "สุนทรพจน์ลับ" เพราะมีการกล่าวในสมัยประชุมปิดของผู้แทนพรรคอมมิวนิสต์ที่ไม่มีการเผยแพร่ต่อสาธารณะ โดยห้ามแขกและสื่อมวลชน ข้อความของรายงานครุสชอฟมีการอภิปรายกว้างขวางในวงพรรคแล้วในต้นเดือนมีนาคม ซึ่งมักมีผู้ที่มิใช่สมาชิกพรรคร่วมด้วย ทว่า ข้อความภาษารัสเซียอย่างเป็นทางการนั้นมีการจัดพิมพ์อย่างเปิดเผยก็ในปี 2532 ระหว่างการรณรงค์กลัสนอสต์ของมีฮาอิล กอร์บาชอฟ ผู้นำโซเวียต ในเดือนเมษายน 2550 หนังสือพิมพ์ เดอะการ์เดียน ของบริเตน รวมสุนทรพจน์นี้อยู่ในชุด "สุนทรพจน์ยิ่งใหญ่แห่งคริสต์ศตวรษที่ 20".
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย
หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (date|r.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย
สหภาพโซเวียต
หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและสหภาพโซเวียต
สหราชอาณาจักร
หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและสหราชอาณาจักร
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 (Troisième République Française บางครั้งเขียนย่อว่า La IIIe République) (พ.ศ. 2413 -10 กรกฎาคม พ.ศ. 2483) เป็นชื่อของระบอบการปกครองของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งอยู่ระหว่างยุคจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2 กับรัฐบาลฝรั่งเศสวิชี เกิดขึ้นหลังจากการพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสต่อจักรวรรดิเยอรมัน ในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย เมื่อ พ.ศ.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3
สงครามกลางเมืองรัสเซีย
งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและสงครามกลางเมืองรัสเซีย
สงครามครูเสด
กรุงเยรูซาเลมในสงครามครูเสดครั้งแรก สงครามครูเสด (Crusades; الحروب الصليبية, อัลฮุรูบ อัศศอลีบียะหฺ หรือ الحملات الصليبية, อัลฮัมลาต อัศศอลีบียะหฺ แปลว่า "สงครามไม้กางเขน") เป็นชุดสงครามรบนอกประเทศทางศาสนา ที่ถูกทำให้ศักดิ์สิทธิ์โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 และศาสนจักรคาทอลิก มีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อฟื้นฟูการเข้าถึงที่ศักดิ์สิทธิ์ในและใกล้เยรูซาเล็มของคริสเตียน เยรูซาเล็มเป็นนครศักดิ์สิทธิ์และสัญลักษณ์ของศาสนาเอบราฮัมหลักทั้งสาม (ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม)Esposito What Everyone Needs to Know about Islam ภูมิหลังสงครามครูเสดเกิดเมื่อเซลจุคเติร์กมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือกองทัพไบแซนไทน์เมื่อ..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและสงครามครูเสด
สงครามโลกครั้งที่สอง
งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและสงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
สงครามโปแลนด์–โซเวียต
งครามโปแลนด์-โซเวียต (เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1919 – เดือนมีนาคม ค.ศ. 1921) เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างtitle.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและสงครามโปแลนด์–โซเวียต
สโมเลนสค์
มเลนสค์ (a; Smolensk) เป็นเมืองในสโมเลนสค์โอบลาสต์ ประเทศรัสเซีย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำนีเปอร์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก-ตะวันตกเฉียงใต้ ราว 360 กิโลเมตรจากกรุงมอสโก มีประชากร 326,861 คน (ค.ศ.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและสโมเลนสค์
อิงก็อลชตัท
อิงก็อลชตัท (Ingolstadt) เป็นเมืองในรัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของแม่น้ำดานูบ จากข้อมูลเมื่อวันที่ 31 มีนาคม..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและอิงก็อลชตัท
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์
จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต
อมพลแห่งสหภาพโซเวียต (Ма́ршал Сове́тского Сою́за) เป็นยศสูงสุดในกองทัพโซเวียต (ส่วนยศสูงสุด จอมพลสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียต ซึ่งมีการเสนอให้โจเซฟ สตาลินหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้น ไม่เคยได้รับอนุมัติอย่างเป็นทางการ).
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1
นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและจักรพรรดินโปเลียนที่ 1
จักรวรรดิรัสเซีย
ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและจักรวรรดิรัสเซีย
ทหารม้า
ทหารม้าโปแลนด์ (Polish cavalry) ในปี 1938 ทหารม้าบนรถถัง ทหารม้า (Cavalry) หมายถึง ทหารที่จะต้องทำการรบ โดยใช้อาวุธต่างๆ เช่น ดาบ, ทวน หรือปืน บนหลังม้า แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนมาเป็นใช้รถถังและพาหนะเคลื่อนที่เร็วแทน ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบก ที่ใช้ม้าหรือสิ่งกำเนิดความเร็วอื่นๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่ารบที่มีความสำคัญและจำเป็นเหล่าหนึ่งสำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารราบ ทหารปืนใหญ่ ทหารช่าง ฯลฯ มีความแตกต่างกับ ทหารราบขี่ม้า (Light Horse) ทหารราบบรรทุกม้าหรือยานพาหนะใดๆ ก็ตาม จะใช้ม้าหรือยานพาหนะที่ว่าในการเดินทางเข้า-ออกสนามรบเท่านั้นในกรณีปกติ เครื่องหมายเหล่าเป็นรูปกระบี่ไขว้ประกอบกับเกือกม้าและรถถัง นอกจากนี้ เฮลิคอปเตอร์เอง ก็ถูกจัดว่าเป็นหน่วยทหารม้าเช่นกัน.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและทหารม้า
ดมีตรี ชอสตโกวิช
องชอสตาโกวิช เมื่อปี ค.ศ. 1950 ดมีตรี ดมีตรีเยวิช ชอสตโกวิช (Dmitri Dmitrievich Shostakovich; Дмитрий Дмитриевич Шостакович; เกิดเมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและดมีตรี ชอสตโกวิช
คลีเมนต์ โวโรชีลอฟ
ลีเมนต์ เยฟรีโมวิช โวโรชีลอฟ (Климе́нт Ефре́мович Вороши́лов; Kliment Yefremovich Voroshilov) หรือเรียกขานกันในรัสเชียว่าคลิม เยฟรีโมวิช โวโรชีลอฟ (Клим Вороши́лов; Klim Voroshilov) (4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและคลีเมนต์ โวโรชีลอฟ
ปฏิบัติการบากราติออน
ปฏิบัติการบากราติออน (Oперация Багратион, Operaion Bagration) เป็นชื่อรหัสของปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบลาร..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและปฏิบัติการบากราติออน
นาซีเยอรมนี
นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและนาซีเยอรมนี
นีกีตา ครุชชอฟ
นีกีตา เซียร์เกเยวิช ครุชชอฟ (Никита Сергеевич Хрущёв; Nikita Sergeyevich Khrushchev 17 เมษายน ค.ศ. 1894 - 11 กันยายน ค.ศ. 1971) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากโจเซฟ สตาลิน ซึ่งได้ถึงแก่อสัญกรรมในปี 1953 ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากนิโคไล บัลกานิน.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและนีกีตา ครุชชอฟ
นีโคไล เยจอฟ
นีโคไล อีวาโนวิซ เยจอฟ (Никола́й Ива́нович Ежо́в) เป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจลับของโซเวียตภายใต้การนำของโจเซฟ สตาลิน ผู้เป็นหัวหน้าของหน่วยพลาธิการกิจการภายในประชาชนหรือเอ็นเควีดี ตั้งแต่ปี..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและนีโคไล เยจอฟ
แม่น้ำวิสวา
รรจบกันของแม่น้ำวิสวาและแม่น้ำนาแรฟที่มอดลิน แม่น้ำวิสวา (Wisła) หรือ แม่น้ำวิสตูลา (Vistula) เป็นแม่น้ำสายที่ยาวและมีความสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศโปแลนด์ โดยมีความยาว 1,047 กิโลเมตร ลุ่มแม่น้ำวิสวาคิดเป็น 194,424 ตารางกิโลเมตร ซึ่งกว่า 168,699 ตารางกิโลเมตรอยู่ในประเทศโปแลน.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและแม่น้ำวิสวา
โจเซฟ สตาลิน
ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและโจเซฟ สตาลิน
โนโวรอสซีสค์
นโวรอสซีสค์ (p) เป็นเมืองสำคัญในดินแดนครัสโนดาร์ประเทศรัสเซีย เป็นเมืองท่าสำคัญของรัสเซียในทะเลดำ เมืองนี้ยังได้รับเกียรติเป็นนครวีรชน.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและโนโวรอสซีสค์
ไรน์ฮาร์ด ฮายดริช
รน์ฮาร์ด ทรีสทัน ออยเกิน ฮายดริช (Reinhard Tristan Eugen Heydrich) เป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงของนาซีเยอรมันอย่างเป็นทางการในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและผู้ออกแบบหลักในการล้างชาติโดยนาซี.เขาเป็นเจ้าหน้าที่แห่งเอสเอส (ชุทซ์ชทัฟเฟิล) ระดับโอแบร์กรุพเพนฟือแรร์ (พลโท) และเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจสามัญ (หัวหน้ากลุ่มระดับอาวุโสและอธิบดีกรมตำรวจ) เช่นเดียวกันกับหัวหน้าของสำนักความมั่นคงหลักของรัฐไรซ์ (Reich Main Security Office) (รวมทั้งเกสตาโพ, ครีมิไนโพลีไซ (Kripo), ซีแชร์ไฮท์สดีนสท์ (SD) และซีแชร์ไฮท์สโพลีไซ(sipo)) นอกจากนั้นเขายังเป็น Stellvertretender Reichsprotektor (รองผู้รักษาการป้องกันแห่งไรซ์-ผู้พิทักษ์) ของโบฮีเมียและโมราเวียในดินแดนสาธารณรัฐเช็ก.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและไรน์ฮาร์ด ฮายดริช
ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์
น์ริช ลุทโพลด์ ฮิมม์เลอร์ (Heinrich Luitpold Himmler) เป็นหนึ่งในผู้นำพรรคนาซีในเยอรมนี และเป็น ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส ของหน่วย ชุทซ์ชทัฟเฟิล (เอ็สเอ็ส) รับผิดชอบด้านการคุมกำลังหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สทั้งหมดในไรช์ เขาเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในไรช์ และเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการทำฮอโลคอสต์ชาวยิวSource: Der Spiegel, Issue dated 3 November 2008: Hitlers Vollstrecker – Aus dem Leben eines Massenmörders ฮิมม์เลอร์เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์
ไซบีเรีย
ซบีเรีย ไซบีเรีย (Siberia, Сиби́рь) ถูกครอบครองโดยชนเผ่าเร่ร่อนหลากหลายกลุ่มแตกต่างออกไป เช่น Yenets, the Nenets, the Hun และ the Uyghurs Khan of Sibir ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง มีอากาศหนาวเย็นได้เข้าครอบครองแล้วตั้งชื่อว่า Khagan ใน Avaria ในปี..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและไซบีเรีย
เกออร์กี จูคอฟ
กออร์กี คอนสตันตีโนวิช จูคอฟ (Georgy Konstantinovich Zhukov; Гео́ргий Константи́нович Жу́ков; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2439 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนายทหารอาชีพชาวโซเวียตในกองทัพแดง ซึ่งในห้วงสงครามโลกครั้งที่สองมีบทบาทสำคัญที่สุดในการนำกองทัพแดงยกผ่านยุโรปตะวันออกส่วนใหญ่เพื่อปลดปล่อยสหภาพโซเวียตและชาติอื่นจากการยึดครองของฝ่ายอักษะและพิชิตกรุงเบอร์ลินได้ในที่สุด เขาเป็นนายพลที่ได้รางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียตและรัสเซีย เป็นนายพลที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้อันดับต้น ๆ เพราะจำนวนและขนาดของชัยชนะ และคนจำนวนมากยอมรับความสามารถในการบังคับบัญชาทางปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ของเขา สัมฤทธิภาพการรบของเขาพัฒนาความรู้ทางทหารของมนุษยชาติอย่างสำคัญ โดยมีอิทธิพลมากทั้งต่อทฤษฎีทางทหารของโซเวียตและทั้งโลก.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและเกออร์กี จูคอฟ
เลออน ทรอตสกี
ลออน ทรอตสกี (Лев Тро́цкий) ชื่อเกิด เลฟ ดาวิโดวิช บรอนชเทย์น (Лев Дави́дович Бронште́йн) เป็นนักปฏิวัติและนักทฤษฎีมาร์กซิสต์ นักการเมืองโซเวียต และผู้ก่อตั้งและผู้นำคนแรกของกองทัพแดง ทรอตสกีแต่แรกเป็นผู้สนับสนุนกลุ่มแยกสนับสนุนความร่วมมือระหว่างประเทศเมนเชวิค (Menshevik Internationalists) แห่งพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย เขาเข้ากับพรรคบอลเชวิคทันทีก่อนการปฏิวัติตุลาคม..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและเลออน ทรอตสกี
เครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง
รื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง (Орден Красного Знамени) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ทางทหารดวงแรกของสหภาพโซเวียต สถาปนาเมื่อวันที่ 16 กันยายน..
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและเครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง
เครื่องอิสริยาภรณ์เลนิน
รื่องอิสริยาภรณ์เลนิน (Орден Ленина, Orden Lenina) คือเครื่องอิสริยาภรณ์ของสหภาพโซเวียตโดยตั่งชือตามวลาดีมีร์ เลนินผู้นำการปฏิวัติเดือนตุลาคมโดยผู้ได้รับต้องมีคุณสมบัติดังนี.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและเครื่องอิสริยาภรณ์เลนิน
เคานต์
นต์ (Count) หรือ กราฟ (Graf) เป็นบรรดาศักดิ์ของขุนนางที่ใช้กันในยุโรป ภริยาของเคานต์เรียกว่า เคาน์เตส (Countess) เคานต์ปกครองดินแดนที่มีศักดิ์เป็นเคาน์ตี อำนาจในทางปกครองของเคานต์จะเรียกว่า "countship" ชื่อตำแหน่งมาจากภาษาฝรั่งเศสว่า "comte" ที่มาจากภาษาลาติน "comes" ที่แปลว่าเพื่อน (companion) และต่อมาหมายถึง "สหายของจักรพรรดิ หรือผู้แทนของจักรพรรดิ" ในอังกฤษไม่ใช้ตำแหน่งเคานต์ แต่ใช้ตำแหน่งที่เท่าเทียมกันที่เรียกว่า "เอิร์ล" แต่ภริยาของเอิร์ลก็ยังคงเรียกว่าเคาน์เตส ตำแหน่งที่เท่ากับเคานต์ในประเทศอื่น เช่น กราฟ (Graf) ในเยอรมัน, ฮะกุชะกุ (伯爵)ในญี่ปุ่น พระราชวงศ์ยุโรปมักจะใช้ตำแหน่ง "เคานต์" เป็นตำแหน่งกิตติมศักดิ์เพื่อพระราชทานแก่สมาชิกในพระราชวงศ์โดยเฉพาะ ตำแหน่งกิตติมศักดิ์นี้จะไม่มีอำนาจในทางปกครอง ในสหราชอาณาจักร "เอิร์ล" มักจะเป็นบรรดาศักดิ์ที่ได้แก่บุตรชายคนแรกของดยุก.
ดู มีคาอิล ตูคาเชฟสกีและเคานต์
ดูเพิ่มเติม
จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต
- คลีเมนต์ โวโรชีลอฟ
- คอนสตันติน โรคอสซอฟสกี
- คีริลล์ เมเรตสคอฟ
- จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต
- ดมีตรี อุสตีนอฟ
- นีโคไล บุลกานิน
- ปิออตร์ โคเชวอย
- ลัฟเรนตีย์ เบรียา
- วาซีลี ชุยคอฟ
- วาซีลี บลูย์เคียร์
- อะเลคซันดร์ เยโกรอฟ (ทหาร)
- อันเดรย์ เกรชโค
- อีวาน โคเนฟ
- เกออร์กี จูคอฟ
- เซมิออน บูดิออนนืย
- เลโอนิด เบรจเนฟ
- โจเซฟ สตาลิน
- โบริส ชาปอชนีคอฟ
ทหารชาวรัสเซียในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- คอนสตันติน โรคอสซอฟสกี
- คาร์ล กุสตาฟ เอมิล มันเนอร์เฮม
- นีโคไล เยจอฟ
- วาซีลี บลูย์เคียร์
- อะเลคซันดร์ เยโกรอฟ (ทหาร)
- อีวาน ปันฟีลอฟ
- อีวาน โคเนฟ
- เกออร์กี จูคอฟ
- เซมิออน บูดิออนนืย
- เซียร์เกย์ ไอเซนสไตน์
- โบริส ชาปอชนีคอฟ
เชลยศึกชาวจักรวรรดิรัสเซีย
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Mikhail Tukhachevsky