โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ลัฟเรนตีย์ เบรียา

ดัชนี ลัฟเรนตีย์ เบรียา

ลัฟเรนตีย์ ปัฟโลวิช เบรียา (Лавре́нтий Па́влович Бе́рия; ლავრენტი პავლეს ძე ბერია; 29 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2496) เป็นนักการเมืองโซเวียตเชื้อชาติจอร์เจีย จอมพลสหภาพโซเวียตและหัวหน้าคณะกรรมาธิการประชาชนด้านกิจการภายในประเทศ (NKVD) ภายใต้โจเซฟ สตาลินในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและรองนายกรัฐมนตรี.

29 ความสัมพันธ์: บอลเชวิกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีนพลาธิการกิจการภายในประชาชนกองทัพแดงการบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียตการก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953มอสโกวยาเชสลาฟ โมโลตอฟศัตรูของประชาชนสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัสสหภาพโซเวียตสงครามกลางเมืองรัสเซียสงครามกลางเมืองจีนสงครามโลกครั้งที่สองอับคาเซียจอมพลแห่งสหภาพโซเวียตจักรวรรดิรัสเซียคณะกรรมการภูมิภาคเลนินกราดแห่งพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียตปฏิบัติการบาร์บารอสซาประเทศเยอรมนีตะวันออกนีกีตา ครุชชอฟนีโคไล เยจอฟโจเซฟ สตาลินโทษประหารชีวิตโปลิตบูโรเกออร์กี มาเลนคอฟเกออร์กี จูคอฟ

บอลเชวิก

การประชุมพรรคบอลเชวิก บอลเชวิก (Bolshevik "บอลเชอวิก"; большеви́к "บาลชือวิก") แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик เมนเชวิก ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1903 และท้ายที่สุดแล้วกลุ่มบอลเชวิกก็กลายมาเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต พวกบอลเชวิกมองเศรษฐกิจในแนวสัมคมนิยมสุดขั้วและเชื่อในความเป็นสากลของชนชั้นกรรมาชีพ พวกเขายึดหลักอำนาจเผด็จการพรรคเดียวและเป้าหมายสูงสุดเรื่องการปฏิวัติโลก พวกเขาปฏิเสธความเป็นชาติรัฐของรัสเซีย ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของพวกเขามักถูกเรียกรวม ๆ ว่า ลัทธิบอลเชวิก (Bolshevism).

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและบอลเชวิก · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต

รรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต (Коммунисти́ческая Па́ртия Сове́тского Сою́за; КПСС) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่ปกครองสหภาพโซเวียตและเป็นสถาบันหรือองค์กรที่มีอำนาจและบทบาททั้งทางด้านนิตินัยและพฤตินัยในการกำหนดดำเนินนโยบายต่างประเทศ อำนาจในการบริหารและตัดสินใจมาจากกลุ่มบุคคลชั้นนำในคณะกรรมการการเมือง หรือ 'โปลิตบูโร' (Politburo / Политбюро).

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน

รรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน (Communist Party of China (CPC) หรือ Chinese Communist Party (CCP)) เป็นพรรคการเมืองหลักในสาธารณรัฐประชาชนจีน และเป็นพรรคการเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีสมาชิกกว่า 80 ล้านคน ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2464 พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน เริ่มต้นเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2464 ที่เซี่ยงไฮ้ ได้เข้าปกครองจีนแผ่นดินใหญ่ภายหลังโค่นพรรคก๊กมินตั๋ง (KMT) ลงในสงครามกลางเมือง โดย หม่าหลิน (Marine) เป็นผู้แทนเลนิน พบกับ ดร.ซุนยัตเซ็น และ หลี่ต้าเจา กับ จางเหลย เสนอให้จัดตั้งพรรคการเมืองที่รวบรวมความสามัคคีของกรรมกรและชาวน.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

พลาธิการกิจการภายในประชาชน

ลาธิการกิจการภายในประชาชน (Народный комиссариат внутренних дел, Narodnyi Komissariat Vnutrennikh Del) เรียกชื่อสั้นๆว่า NKVD เป็นหน่วยงานผู้บังคับใช้กฎหมายของสหภาพโซเวียตที่ดำเนินการโดยตรงต่อพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและพลาธิการกิจการภายในประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพแดง

accessdate.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและกองทัพแดง · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต

การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต เป็นปฏิบัติการทางทหาร ซึ่งเริ่มขึ้นโดยปราศจากการประกาศสงคราม เมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1939 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สิบหกวันหลังจากการเริ่มต้นบุกครองโปแลนด์โดยนาซีเยอรมนี การบุกครองดังกล่าวจบลงด้วยชัยชนะอย่างเด็ดขาดของกองทัพแดง เมื่อต้นปี ค.ศ. 1939 สหภาพโซเวียตพยายามที่จะสร้างพันธมิตรต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเชื่อมสัมพันธไมตรีกับสหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส โปแลนด์ และโรมาเนีย แต่ประสบกับอุปสรรคหลายประการ รวมถึงการปฏิเสธที่จะยอมให้มีการเคลื่อนกำลังกองทัพโซเวียตผ่านดินแดนของประเทศเหล่านั้น อันเป็นส่วนหนึ่งของความมั่นคงร่วมกันAnna M. Cienciala (2004).

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและการบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953

การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก..

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและการก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953 · ดูเพิ่มเติม »

มอสโก

มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ

วยาเชสลาฟ มีฮาอิลโลวิช โมโลตอฟ (Вячесла́в Миха́йлович Мо́лотов; 9 มีนาคม 1890 – 8 พฤษจิกายน 1986) เป็นนักการเมืองและนักการทูตโซเวียตในสมัยของโจเซฟ สตาลิน เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในช่วงสงครามโลกครั่งที่สองและในช่วงปี 1957 ก็ถูกไล่ออกจากประธานคณะกรรมาธิการกลางด้วยนีกีตา ครุชชอฟ และไม่เล่นการเมืองอีกเลยจนเขาเสียชีวิตลง.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและวยาเชสลาฟ โมโลตอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ศัตรูของประชาชน

ัตรูของประชาชน (public enemy หรือ enemy of the people) เป็นคำที่ใช้เรียกคู่แข่งทางการเมืองหรือทางชนชั้น การใช้คำดังกล่าวเป็นความเสียหาย และแสดงให้เห็นโดยนัยว่าบุคคลกลุ่มนั้นเป็นศัตรูกับรูปแบบสังคมทั้งหมด คำดังกล่าวมีประวัติมาอย่างยาวนาน ซึ่งพบว่าได้มีการใช้ครั้งแรกในสมัยจักรวรรดิโรมัน ซึ่งสภาซีเนตได้ใช้เป็นข้ออ้างในการจับกุมจักรพรรดินีโร นับตั้งแต่นั้นมา มีบุคคลหลายกลุ่มที่ถูกตราหน้าว่าเป็นศัตรูของประชาชน.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและศัตรูของประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (date|r.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัส

หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัส (Закавказская Советская Федеративная Социалистическая Республика – ЗСФСР) เป็นสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียตตั้งแต่ในปี..

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัส · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองรัสเซีย

งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและสงครามกลางเมืองรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองจีน

งครามกลางเมืองจีน (ค.ศ. 1927-1950) เป็นสงครามกลางเมือง สู้รบกันระหว่างพรรคก๊กมินตั๋ง พรรคปกครองสาธารณรัฐจีน ฝ่ายหนึ่ง กับพรรคคอมมิวนิสต์จีนอีกฝ่ายหนึ่งGay, Kathlyn.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและสงครามกลางเมืองจีน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

อับคาเซีย

อับฮาเซีย (Аҧсны, აფხაზეთი, Абха́зия) เป็นเขตการปกครองที่เกิดข้อโต้แย้งบนชายฝั่งตะวันออกของทะเลดำ ติดกับสหพันธรัฐรัสเซียทางเหนือ ติดกับบริเวณซาเมเกรโล-เซโม สวาเนตีของจอร์เจียทางตะวันออก เป็นที่ตั้งของสาธารณรัฐอับฮาเซีย ซึ่งเป็นสาธารณรัฐเอกราชโดยพฤตินัยแต่ไม่ได้รับการรับรองจากนานาชาติ อยู่ภายในแนวชายแดนของจอร์เจีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีอยู่เพียงไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่ให้การรับรอง ได้แก่ รัสเซีย เวเนซุเอลา นิการากัว นาอูรู โอเซเทียใต้ และทรานส์นิสเทรีย (สองประเทศหลังนี้ ประเทศส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ให้การรับรองเช่นกัน) รัฐบาลจอร์เจียถือว่าอับฮาเซียอยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของตน โดยมีสถานะเป็นสาธารณรัฐปกครองตนเอง (აფხაზეთის ავტონომიური რესპუბლიკა, Аҧснытәи Автономтәи Республика) ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมกันในประเทศอดีตสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม..

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและอับคาเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต

อมพลแห่งสหภาพโซเวียต (Ма́ршал Сове́тского Сою́за) เป็นยศสูงสุดในกองทัพโซเวียต (ส่วนยศสูงสุด จอมพลสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียต ซึ่งมีการเสนอให้โจเซฟ สตาลินหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้น ไม่เคยได้รับอนุมัติอย่างเป็นทางการ).

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและจักรวรรดิรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการภูมิภาคเลนินกราดแห่งพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต

ณะกรรมการภูมิภาคเลนินกราดแห่งพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต หรือเรียกว่า Leningrad CPSU obkom เป็นคณะกรรมการปกครองสูงสุดของแคว้นเลนินกราดในยุคสหภาพโซเวียตก่อตั้งในวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและคณะกรรมการภูมิภาคเลนินกราดแห่งพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนีตะวันออก

อรมนีตะวันออก (East Germany) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (Deutsche Demokratische Republik - DDR; German Democratic Republic - GDR) เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ดำรงอยู่ในช่วงปี 1949 ถึงปี 1990 โดยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเยอรมันที่ถูกปกครองโดยอดีตสหภาพโซเวียต หลังจากการยึดครองเยอรมนีของกองทัพโซเวียตสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีตะวันออกเป็นประเทศหนึ่งที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอ ในช่วงสงครามเย็น โดยเยอรมนีตะวันออกได้นิยามตัวเองว่าเป็นรัฐสังคมนิยม "ของคนงานและชาวนา"Patrick Major, Jonathan Osmond, The Workers' and Peasants' State: Communism and Society in East Germany Under Ulbricht 1945–71, Manchester University Press, 2002, และเขตที่ถูกยึดครอง ได้รับการปกครองโดยกองกำลังโซเวียตในตอนท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง เขตยึดครองโซเวียตตามข้อตกลงพ็อทซ์ดัมซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกติดกับแนว Oder-Neisse เขตยึดครองโซเวียตล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก แต่ไม่รวมถึง เป็นผลให้เบอร์ลินตะวันตกยังคงอยู่นอกเขตอำนาจของเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีก่อตั้งขึ้นในเขตโซเวียต ขณะที่สหพันธรัฐจัดตั้งขึ้นในสามเขตตะวันตก เยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต เจ้าหน้าที่ยึดครองโซเวียตได้เริ่มถ่ายโอนความรับผิดชอบในการบริหารให้กับผู้นำคอมมิวนิสต์เยอรมันในปี 1948 และเริ่มมีบทบาทเป็นรัฐเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 อย่างไรก็ตามกองทัพโซเวียตยังคงกำลังอยู่ในประเทศตลอดช่วงสงครามเย็น จนถึง 1989 เยอรมนีตะวันออกถูกปกครองโดยพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี แม้ว่าพรรคอื่น ๆ ในนามขององค์กรพันธมิตร National Front of Democratic Germany 29 October 1989.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและประเทศเยอรมนีตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

นีกีตา ครุชชอฟ

นีกีตา เซียร์เกเยวิช ครุชชอฟ (Никита Сергеевич Хрущёв; Nikita Sergeyevich Khrushchev 17 เมษายน ค.ศ. 1894 - 11 กันยายน ค.ศ. 1971) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากโจเซฟ สตาลิน ซึ่งได้ถึงแก่อสัญกรรมในปี 1953 ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากนิโคไล บัลกานิน.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและนีกีตา ครุชชอฟ · ดูเพิ่มเติม »

นีโคไล เยจอฟ

นีโคไล อีวาโนวิซ เยจอฟ (Никола́й Ива́нович Ежо́в) เป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจลับของโซเวียตภายใต้การนำของโจเซฟ สตาลิน ผู้เป็นหัวหน้าของหน่วยพลาธิการกิจการภายในประชาชนหรือเอ็นเควีดี ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและนีโคไล เยจอฟ · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ สตาลิน

ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้นำของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1920 ถึง..

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและโจเซฟ สตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

โทษประหารชีวิต

ประเทศที่เลิกใช้โทษประหารชีวิต: 103 ประเทศ โทษประหารชีวิต หรือ อุกฤษฏ์โทษ (capital punishment, death penalty) เป็นกระบวนการทางกฎหมายซึ่งรัฐลงโทษอาชญากรรมของบุคคลด้วยการทำให้ตาย คำสั่งของศาลที่ให้ลงโทษบุคคลในลักษณะนี้ เรียก การลงโทษประหารชีวิต ขณะที่การบังคับใช้โทษนี้ เรียก การประหารชีวิต อาชญากรรมที่มีโทษประหารชีวิต เรียก "ความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ" คำว่า capital มาจากคำภาษาละตินว่า capitalis ความหมายตามตัวอักษร คือ "เกี่ยวกับหัว" (หมายถึงการประหารชีวิตโดยการตัดหัว) สังคมอดีตส่วนมากนั้นมีโทษประหารชีวิตโดยเป็นการลงโทษอาชญากร และผู้ไม่เห็นด้วยทางการเมืองหรือศาสนา ในประวัติศาสตร์ การลงโทษประหารชีวิตมักสัมพันธ์กับการทรมาน และมักประหารชีวิตในที่สาธารณะ ปัจจุบันมีประเทศที่ยังคงโทษประหารชีวิต 58 ประเทศ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตสำหรับอาชญากรรมทุกรูปแบบโดยนิตินัย 98 ประเทศ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตเฉพาะอาชญากรรมปรกติ 7 ประเทศ (โดยคงไว้สำหรับพฤติการณ์พิเศษ เช่น อาชญากรรมสงคราม) และประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตโดยพฤตินัย (คือ ไม่ได้ใช้โทษประหารชีวิตอย่างน้อยสิบปี และอยู่ระหว่างงดใช้โทษ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง) องค์การนิรโทษกรรมสากลมองว่าประเทศส่วนใหญ่เป็นผู้ยกเลิก (abolitionist) โดยองค์การฯ พิจารณาว่า 140 ประเทศเป็นผู้ยกเลิกในทางกฎหมายหรือทางปฏิบัติ การประหารชีวิตเกือบ 90% ทั่วโลกเกิดในทวีปเอเชีย แทบทุกประเทศในโลกห้ามการประหารชีวิตบุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปีขณะก่อเหตุ นับแต่ปี 2552 มีเพียงประเทศอิหร่าน ซาอุดิอาระเบียและซูดานที่ยังประหารชีวิตลักษณะนี้ กฎหมายระหว่างประเทศห้ามการประหารชีวิตประเภทนี้ โทษประหารชีวิตกำลังเป็นประเด็นการถกเถียงอยู่ในหลายประเทศ และจุดยืนอาจมีได้หลากหลายในอุดมการณ์ทางการเมืองหรือภูมิภาคทางวัฒนธรรมหนึ่ง ๆ ในรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป ข้อ 2 แห่งกฎบัตรสิทธิมูลฐานแห่งสหภาพยุโรปห้ามการใช้โทษประหารชีวิต สภายุโรปซึ่งมีรัฐสมาชิก 47 ประเทศ ยังห้ามสมาชิกใช้โทษประหารชีวิต สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติลงมติรับข้อมติไม่ผูกพันในปี 2550, 2551 และ 2553 เรียกร้องให้มีการผ่อนเวลาการประหารชีวิตทั่วโลก ซึ่งมุ่งให้ยกเลิกในที่สุด แม้หลายชาติยกเลิกโทษประหารชีวิตแล้ว แต่ประชากรโลกกว่า 60% อาศัยอยู่ในประเทศซึ่งเกิดการประหารชีวิต เช่น สี่ประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก คือ จีน อินเดีย สหรัฐอเมริกาและอินโดนีเซีย ซึ่งยังใช้บังคับโทษประหารชีวิต ทั้งสี่ประเทศออกเสียงคัดค้านข้อมติสมัชชาใหญ่ดังกล่าว.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและโทษประหารชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

โปลิตบูโร

โปลิตบูโร (รัสเซีย: Политбюро, Politburo) หมายถึงคณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง มักใช้กับพรรคคอมมิวนิสต์ ในอดีตสหภาพโซเวียต โปลิตบูโรประกอบด้วยเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ (The General Secretary of the Communist Party of the Soviet Union) และบุคคลสำคัญรองลงมาเช่น ประธานาธิบดี และนายกรัฐมนตรี ซึ่งนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1917-1991 มีเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์มาแล้ว 7 คน คือ เลนิน สตาลิน ครุสชอฟ เบรสเนฟ อันโดรปอฟ เชอร์เนนโก และกอร์บาชอฟ หมวดหมู่:สหภาพโซเวียต หมวดหมู่:รัฐบาลสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและโปลิตบูโร · ดูเพิ่มเติม »

เกออร์กี มาเลนคอฟ

กออร์กี มักซีมีลีอะโนวิช มาเลนคอฟ (Гео́ргий Максимилиа́нович Маленко́в; Georgy Maximilianovich Malenkov; 8 มกราคม พ.ศ. 2445 - 14 มกราคม พ.ศ. 2531) เป็นนักการเมืองโซเวียตและผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์ ครอบครัวของเขาความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับวลาดิมีร์ เลนินทำให้ช่วยส่งเสริมเขาในการเข้าพรรคและในปี..

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและเกออร์กี มาเลนคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เกออร์กี จูคอฟ

กออร์กี คอนสตันตีโนวิช จูคอฟ (Georgy Konstantinovich Zhukov; Гео́ргий Константи́нович Жу́ков; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2439 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนายทหารอาชีพชาวโซเวียตในกองทัพแดง ซึ่งในห้วงสงครามโลกครั้งที่สองมีบทบาทสำคัญที่สุดในการนำกองทัพแดงยกผ่านยุโรปตะวันออกส่วนใหญ่เพื่อปลดปล่อยสหภาพโซเวียตและชาติอื่นจากการยึดครองของฝ่ายอักษะและพิชิตกรุงเบอร์ลินได้ในที่สุด เขาเป็นนายพลที่ได้รางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียตและรัสเซีย เป็นนายพลที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้อันดับต้น ๆ เพราะจำนวนและขนาดของชัยชนะ และคนจำนวนมากยอมรับความสามารถในการบังคับบัญชาทางปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ของเขา สัมฤทธิภาพการรบของเขาพัฒนาความรู้ทางทหารของมนุษยชาติอย่างสำคัญ โดยมีอิทธิพลมากทั้งต่อทฤษฎีทางทหารของโซเวียตและทั้งโลก.

ใหม่!!: ลัฟเรนตีย์ เบรียาและเกออร์กี จูคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Lavrentiy Beriaลาเวรนติ เบเรีย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »