สารบัญ
29 ความสัมพันธ์: กองทัพจักรวรรดิรัสเซียกองทัพโซเวียตการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956กติกาสัญญาวอร์ซอฝ่ายอักษะมอสโกยุโรปตะวันออกลีเจียนออฟเมอริตวีรชนแห่งสหภาพโซเวียตสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียสหภาพโซเวียตสงครามกลางเมืองรัสเซียสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งจอมพลแห่งสหภาพโซเวียตจักรวรรดิรัสเซียแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)เบอร์ลินเหรียญ "สำหรับการยึดกรุงเบอร์ลิน"เหรียญ "สำหรับการป้องกันที่มอสโก"เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีการทำงานและรับใช้กองทัพแดง"เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีในชัยเหนือเยอรมนีในมหาสงครามของผู้รักชาติ ค.ศ. 1941-ค.ศ. 1945"เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 30 ปีการสถาปนากองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ"เครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดงเครื่องอิสริยาภรณ์ดาวแดงเครื่องอิสริยาภรณ์คูตูซอฟเครื่องอิสริยาภรณ์ซูโวรอฟเครื่องอิสริยาภรณ์แห่งชัยเครื่องอิสริยาภรณ์เลนิน
- จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต
- ทหารชาวรัสเซียในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- ทหารชาวโซเวียตในสงครามโลกครั้งที่สอง
- บุคคลจากแคว้นคีรอฟ
- วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต
กองทัพจักรวรรดิรัสเซีย
กองทัพจักรวรรดิรัสเซีย (Ру́сская импера́торская а́рмия) เป็นกองทัพภาคพื้นดินของ จักรวรรดิรัสเซีย ปฏิบัติการครั้งแรกในปี 1721 จนถึง การปฏิวัติรัสเซีย ในปี 1917 ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1850 กองทัพจักรวรรดิรัสเซียมีกำลังพลประมาณ 900,000 นาย และประจำการเกือบ 250,000 นาย (ส่วนใหญ่เป็น คอสแซค).
ดู อีวาน โคเนฟและกองทัพจักรวรรดิรัสเซีย
กองทัพโซเวียต
กองทัพโซเวียต หรือ กองทัพสหภาพโซเวียต มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า กองทัพแห่งสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Вооружённые Силы Союза Советских Социалистических Республик, Вооружённые Силы Советского Союза) หมายถึง กองกำลังทหารของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (1917–1922) และสหภาพโซเวียต (1922–1991) นับแต่การเริ่มต้นหลังสงครามกลางเมืองรัสเซียสิ้นสุดกระทั่งล่มสลายในเดือนธันวาคม 1991 ตามกฎหมายราชการทหารทั่วสหภาพ เดือนกันยายน 1925 กองทัพโซเวียตประกอบด้วยห้าเหล่า ได้แก่ กองทัพบก กองทัพอากาศ กองทัพเรือ หน่วยอำนวยการการเมืองรัฐ (OGPU) และ กองกำลังภายใน (convoy guards) ภายหลัง OGPU แยกเป็นอิสระและรวมเข้ากับ NKVD ในปี 1934 หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีการเพิ่มหน่วยขีปนาวุธทางยุทธศาสตร์ (1960) กองกำลังป้องกันภัยทางอากาศ (1948) และกำลังประชาชนแห่งชาติทั่วสหภาพ (1970) ซึ่งจัดเป็นอันดับที่หนึ่ง สามและหกในการนับความสำคัญเปรียบเทียบอย่างเป็นทางการของโซเวียต (โดยกำลังภาคพื้นดินมีความสำคัญเป็นอันดับสอง กองทัพอากาศเป็นอันดับสี่ และกองทัพเรือเป็นอันดับห้า) อำนาจทางทหารของโซเวียตในขณะนั้นใหญ่ที่สุดและทรงอำนาจที่สุดของโลก โครงสร้างการบังคับบัญชาของกองทัพแห่งสหภาพ.
ดู อีวาน โคเนฟและกองทัพโซเวียต
การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956
การปฏิวัติฮังการี..
ดู อีวาน โคเนฟและการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956
กติกาสัญญาวอร์ซอ
กติกาสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) หรือชื่อทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи) บางครั้งเรียกขานอย่างไม่เป็นทางการว่า วอร์แพ็ก (WarPac) เป็นกติกาสัญญาด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในยุโรปตอนกลางและตะวันออกระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท)"In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: ในปี..
ดู อีวาน โคเนฟและกติกาสัญญาวอร์ซอ
ฝ่ายอักษะ
ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..
มอสโก
มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..
ยุโรปตะวันออก
แผนที่ยุโรปตะวันออก ยุโรปตะวันออก (Eastern Europe) มีพื้นที่อยู่ระหว่างละติจูดที่ 40 - 53 องศาเหนือ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ สภาพความเป็นอยู่เป็นแบบชนบท ประกอบไปด้วยประเทศที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต, อดีตเช็กโกสโลวาเกีย (ปัจจุบันคือเช็กเกียและสโลวาเกีย), โปแลนด์, ฮังการี, โรมาเนีย, บัลแกเรีย และอดีตยูโกสลาเวีย ประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปตะวันออกในอดีต ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาเป็นประชาธิปไตยบ้างแล้ว ศาสนาที่นับถือส่วนใหญ่ในภูมิภาคนี้คือศาสนาคริสต์ ภาษาที่ใช้เป็นภาษากลุ่มโรแมนซ์และกลุ่มสลาวอนิก.
ดู อีวาน โคเนฟและยุโรปตะวันออก
ลีเจียนออฟเมอริต
ลีเจียนออฟเมอริต (Legion of Merit) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์สหรัฐอเมริกา สถาปนาเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..
ดู อีวาน โคเนฟและลีเจียนออฟเมอริต
วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต
วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต (Герой Советского Союза, Geroy Sovietskogo Soyuza) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ที่สูงที่สุดในสหภาพโซเวียตบุคคลที่ได้รับรางวัลนี่เป็นกลุ่มสำหรับคสามกล้าหาญในการบริการให้กับรัฐโซเวียตและสังคม.
ดู อีวาน โคเนฟและวีรชนแห่งสหภาพโซเวียต
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย
หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (date|r.
ดู อีวาน โคเนฟและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย
สหภาพโซเวียต
หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..
สงครามกลางเมืองรัสเซีย
งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.
ดู อีวาน โคเนฟและสงครามกลางเมืองรัสเซีย
สงครามโลกครั้งที่สอง
งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.
ดู อีวาน โคเนฟและสงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..
ดู อีวาน โคเนฟและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต
อมพลแห่งสหภาพโซเวียต (Ма́ршал Сове́тского Сою́за) เป็นยศสูงสุดในกองทัพโซเวียต (ส่วนยศสูงสุด จอมพลสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียต ซึ่งมีการเสนอให้โจเซฟ สตาลินหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้น ไม่เคยได้รับอนุมัติอย่างเป็นทางการ).
ดู อีวาน โคเนฟและจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต
จักรวรรดิรัสเซีย
ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.
ดู อีวาน โคเนฟและจักรวรรดิรัสเซีย
แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)
แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..
ดู อีวาน โคเนฟและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)
เบอร์ลิน
อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.
เหรียญ "สำหรับการยึดกรุงเบอร์ลิน"
หรียญ "สำหรับการยึดกรุงเบอร์ลิน" (Медаль «За взятие Берлина») เป็นเหรียญที่ระลึกทางการศึกของสหภาพโซเวียตจากการสู้รบที่กรุงเบอร์ลินในสงครามโลกครั้งที่สองได้รับการประกาศจากคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 9 มิถุนายน 1945 ลักษณะของเหรียญคือเป็นรูปวงกลมขนาด 32 มิลลิเมตรด้วยภายในมีรูปดาวพร้อมอักษรที่เขียนว่า"สำหรับการยึดกรุงเบอร์ลิน" («ЗА ВЗЯТИЕ БЕРЛИНА») พร้อมกับร่วงใบโอ๊กในขอบครึ่งวงกลม ด้านหลังของเหรียญมีอักษรที่เขียนว่า "2 พฤษภาคม 1945" («2 МАЯ 1945») พร้อมกับมีรูปดาวห้าแฉกอยู่ด้านล่าง.
ดู อีวาน โคเนฟและเหรียญ "สำหรับการยึดกรุงเบอร์ลิน"
เหรียญ "สำหรับการป้องกันที่มอสโก"
หรียญ "สำหรับการป้องกันที่มอสโก" (Медаль «За оборону Москвы») เป็นเหรียญที่ระลึกจากการสู้รบที่กรุงมอสโกในสงครามโลกครั้งที่สองได้รับการประกาศจากคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ.
ดู อีวาน โคเนฟและเหรียญ "สำหรับการป้องกันที่มอสโก"
เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีการทำงานและรับใช้กองทัพแดง"
หรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีการทำงานและรับใช้กองทัพแดง" (Юбилейная медаль «XX лет Рабоче-Крестьянской Красной Армии») เป็นเหรียญที่ระลึกของสหภาพโซเวียต เนื่องในวาระครบรอบ 20 ปีการก่อตั้งกองทัพโซเวียต ได้รับการประกาศจากคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 24 มกราคม..
ดู อีวาน โคเนฟและเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีการทำงานและรับใช้กองทัพแดง"
เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีในชัยเหนือเยอรมนีในมหาสงครามของผู้รักชาติ ค.ศ. 1941-ค.ศ. 1945"
หรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีในชัยเหนือเยอรมนีในมหาสงครามของผู้รักชาต..
เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 30 ปีการสถาปนากองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ"
หรียญที่ระลึก "ครบรอบ 30 ปีการสถาปนากองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ" (Юбилейная медаль «30 лет Советской Армии и Флота») เป็นเหรียญที่ระลึกของสหภาพโซเวียต เนื่องในวาระครบรอบ 30 ปีการก่อตั้งกองทัพโซเวียต และ กองทัพเรือโซเวียต ได้รับการประกาศจากคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 1948 ระเบียบการมอบเหรียญได้รับการแก้ไขเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 1980 ตามประกาศจากคณะกรรมการบริหารสูงสุดของสหภาพโซเวียตของสหภาพโซเวียตเลขที่ 2523-X เหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 30 ปีการสถาปนากองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ" ถูกสวมใส่ที่ด้านซ้ายของหน้าอกและอยู่รวมกับเหรียญอื่น ๆ โดยไว้ลำดับถัดไปจากเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 20 ปีการทำงานและรับใช้กองทัพแดง" หากมีเหรียญจากสหภาพโซเวียตที่สูงกว่าหรือจากเหรียญของสหพันธรัฐรัสเซีย ให้ไว้ในลำดับถัดไป ลักษณะของเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 30 ปีการสถาปนากองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ" มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 32 มิลลิเมตร ด้านหน้าเป็นรูปครึ่งขวาของวลาดีมีร์ เลนิน และ โจเซฟ สตาลิน (หน้าสุด) โดยที่มีเลขโรมัน "XXX" อยู่ด้านล่าง ด้านหลังมีข้อความที่เขียนเป็นขอบวงกลมว่า "เพื่อฉลองครบรอบ 30 ปี" («В ОЗНАМЕНОВАНИЕ ТРИДЦАТОЙ ГОДОВЩИНЫ») และมีรูปดาวห้าแฉกอยู่ด้านล่างสุดของเหรียญ ตรงกลางมีข้อความที่เขียนเป็น 2 บรรทัดว่า "กองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ" («СОВЕТСКОЙ АРМИИ И ФЛОТА») พร้อมกับระบุปี "1918-1948".
ดู อีวาน โคเนฟและเหรียญที่ระลึก "ครบรอบ 30 ปีการสถาปนากองทัพโซเวียตและกองทัพเรือ"
เครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง
รื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง (Орден Красного Знамени) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ทางทหารดวงแรกของสหภาพโซเวียต สถาปนาเมื่อวันที่ 16 กันยายน..
ดู อีวาน โคเนฟและเครื่องอิสริยาภรณ์ธงแดง
เครื่องอิสริยาภรณ์ดาวแดง
รื่องอิสริยาภรณ์ดาวแดง (Орден Краснoй Звезды) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ทางทหารของ สหภาพโซเวียต เครื่องอิสริยาภรณ์ได้รับการสถาปนาตามประกาศจากคณะผู้บริหารสูงสุดแห่งสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตในวันที่ 6 เมษายน 1930 ลักษณะของเครื่องอิสริยาภรณ์ดาวแดงเป็นดาวห้าแฉกเงินเคลือบสีแดงขนาด 47 มิลลิเมตร ถึง 50 มิลลิเมตร (ขึ้นอยู่กับรูปแบบ) ตรงกลางของเหรียญมีโล่สีเงินออกซิไดซ์มีภาพของทหารสวมเสื้อคลุมและถือปืนไรเฟิลอยู่ ตรงขอบโล่สีเงินออกซิไดซ์มีคำขวัญคอมมิวนิสต์เขียนว่า "กรรมกรทั่วโลกจงสามัคคีกัน !" («Пролетарии всех стран, соединяйтесь!») ด้านล่างของขอบขอบโล่สีเงินออกซิไดซ์มีข้อความเขียนอักษรย่อของสหภาพโซเวียตในภาษารัสเซียว่า "แอสแอสแอสเอร์" («СССР») ด้านล่างสุดของขอบขอบโล่สีเงินออกซิไดซ์มีรูป ค้อนเคียว ด้านหลังของดาวมีอักษรระบุถึงโรงงานที่ผลิดและเลขที่ของเครื่องอิสริยากรณ.
ดู อีวาน โคเนฟและเครื่องอิสริยาภรณ์ดาวแดง
เครื่องอิสริยาภรณ์คูตูซอฟ
รื่องอิสริยาภรณ์คูตูซอฟ («Орден Кутузова» "Orden Kutuzova") เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งชื่อตามจอมพลแห่งจักรวรรดิรัสเซีย มีฮาอิล อีลลารีโอโนวิช คูตูซอฟ (1745–1813) เครื่องอิสริยาภรณ์ได้รับการสถาปนาในช่วงมหาสงครามของผู้รักชาติ โดยจะมอบให้กับเจ้าหน้าที่และนายพลในกองทัพแดง ที่สามารถประสบความสำเร็จในการโจมตีกลับ เครื่องอิสริยาภรณ์คูตูซอฟ มีทั้งหมดสามชั้น โดยได้รับการสถาปนาอีกครั้งในสหพันธรัฐรัสเซียหลัง การล่มสลายของสหภาพโซเวียต ตามประกาศของสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย เลขที่ 2424-1 เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 1992.
ดู อีวาน โคเนฟและเครื่องอิสริยาภรณ์คูตูซอฟ
เครื่องอิสริยาภรณ์ซูโวรอฟ
รื่องอิสริยาภรณ์ซูโวรอฟ («Орден Суворова» "Orden Suvorova") เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งชื่อตามGeneralissimoแห่งจักรวรรดิรัสเซีย อะเลคซันดร์ วาซีลเยวิช ซูโวรอฟ (1729–1800) เครื่องอิสริยาภรณ์ได้รับการสถาปนาในช่วงมหาสงครามของผู้รักชาติ โดยจะมอบให้กับเจ้าหน้าที่และนายพลในกองทัพแดง ที่ทำหน้าที่เป็นผู้นำที่ดี เครื่องอิสริยาภรณ์ซูโวรอฟ มีทั้งหมดสามชั้น โดยได้รับการสถาปนาอีกครั้งในสหพันธรัฐรัสเซียหลัง การล่มสลายของสหภาพโซเวียต ตามประกาศของสภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย เลขที่ 2557-I เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 1992.
ดู อีวาน โคเนฟและเครื่องอิสริยาภรณ์ซูโวรอฟ
เครื่องอิสริยาภรณ์แห่งชัย
รื่องอิสริยาภรณ์แห่งชัย (Орден "Победa") คือเครื่องอิสริยาภรณ์ที่สหภาพโซเวียตมอบให้กับผู้บัญชาการทหารในสงครามโลกครั้งที่สองและจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต.
ดู อีวาน โคเนฟและเครื่องอิสริยาภรณ์แห่งชัย
เครื่องอิสริยาภรณ์เลนิน
รื่องอิสริยาภรณ์เลนิน (Орден Ленина, Orden Lenina) คือเครื่องอิสริยาภรณ์ของสหภาพโซเวียตโดยตั่งชือตามวลาดีมีร์ เลนินผู้นำการปฏิวัติเดือนตุลาคมโดยผู้ได้รับต้องมีคุณสมบัติดังนี.
ดู อีวาน โคเนฟและเครื่องอิสริยาภรณ์เลนิน
ดูเพิ่มเติม
จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต
- คลีเมนต์ โวโรชีลอฟ
- คอนสตันติน โรคอสซอฟสกี
- คีริลล์ เมเรตสคอฟ
- จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต
- ดมีตรี อุสตีนอฟ
- นีโคไล บุลกานิน
- ปิออตร์ โคเชวอย
- ลัฟเรนตีย์ เบรียา
- วาซีลี ชุยคอฟ
- วาซีลี บลูย์เคียร์
- อะเลคซันดร์ เยโกรอฟ (ทหาร)
- อันเดรย์ เกรชโค
- อีวาน โคเนฟ
- เกออร์กี จูคอฟ
- เซมิออน บูดิออนนืย
- เลโอนิด เบรจเนฟ
- โจเซฟ สตาลิน
- โบริส ชาปอชนีคอฟ
ทหารชาวรัสเซียในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- คอนสตันติน โรคอสซอฟสกี
- คาร์ล กุสตาฟ เอมิล มันเนอร์เฮม
- นีโคไล เยจอฟ
- วาซีลี บลูย์เคียร์
- อะเลคซันดร์ เยโกรอฟ (ทหาร)
- อีวาน ปันฟีลอฟ
- อีวาน โคเนฟ
- เกออร์กี จูคอฟ
- เซมิออน บูดิออนนืย
- เซียร์เกย์ ไอเซนสไตน์
- โบริส ชาปอชนีคอฟ
ทหารชาวโซเวียตในสงครามโลกครั้งที่สอง
- คอนสตันติน โรคอสซอฟสกี
- คิม อิล-ซ็อง
- คีริลล์ เมเรตสคอฟ
- นีกีตา ครุชชอฟ
- มีฮาอิล ซุสลอฟ
- ยูรี โอเซรอฟ
- วลาดีมีร์ เชอร์บิซสกี
- วาซีลี ชุยคอฟ
- วาซีลี ไซเซฟ
- สตรีโซเวียตในสงครามโลกครั้งที่สอง
- อันเดรย์ เกรชโค
- อีนโนเคนตี สโมคตูนอฟสกี
- อีวาน โคเนฟ
- เกออร์กี จูคอฟ
- เกออร์กี ฟลิโอรอฟ
- เกออร์กี ยูมาตอฟ
- เลโอนิด เบรจเนฟ
- โบริส ชาปอชนีคอฟ
บุคคลจากแคว้นคีรอฟ
- อีวาน โคเนฟ
วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต
- คลีเมนต์ โวโรชีลอฟ
- คอนสตันติน โรคอสซอฟสกี
- คีริลล์ เมเรตสคอฟ
- ดมีตรี อุสตีนอฟ
- นีกีตา ครุชชอฟ
- นีโคไล วาตูติน
- ปิออตร์ โคเชวอย
- วลาดีมีร์ โคมารอฟ
- วาซีลี ชุยคอฟ
- วาซีลี ไซเซฟ
- วาเลนตีนา เตเรชโควา
- วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต
- อะฟานาซี เบโลโบโรดอฟ
- อะเลคซันดร์ รุตสคอย
- อะเลคเซย์ เลโอนอฟ
- อันเดรย์ เกรชโค
- อีวาน ปันฟีลอฟ
- อีวาน โคเนฟ
- เกออร์กี จูคอฟ
- เซมิออน บูดิออนนืย
- เลโอนิด เบรจเนฟ
- โจเซฟ สตาลิน