มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และราชกิจจานุเบกษา
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และราชกิจจานุเบกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ vs. ราชกิจจานุเบกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (ChiangMai Rajabhat University; ชื่อย่อ: มร.ชม. - CMRU) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่เก่าแก่ที่สุดในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของภาคเหนือ เป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกที่ก่อตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค และเป็นสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2467 ในนาม "โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑลพายัพ" มีบทบาทและความรับผิดชอบในฐานะสถาบันการศึกษาและวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ ตามความต้องการของท้องถิ่น และผลิตครูบุคลากรทางการศึกษา ทำการวิจัยส่งเสริมวิทยฐานะของครู อาจารย์ และบุคลากรประจำการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ในปี พ.ศ. 2518 "โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑลพายัพ" หรือ "โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่" ได้ยกฐานะขึ้นเป็น "วิทยาลัยครูเชียงใหม่" ตาม "พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518" ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามวิทยาลัยครูทั่วประเทศว่า "สถาบันราชภัฏ" แปลว่า "ผู้ที่อยู่ใกล้พระราชา" ทั้งยังได้พระราชทานตราพระราชลัญจกรประจำพระองค์ เป็นตราประจำสถาบันราชภัฏ และเมื่อได้ประกาศใช้ "พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ" ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2538 "วิทยาลัยครูเชียงใหม่" จึงมีชื่อเป็น "สถาบันราชภัฏเชียงใหม่" เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมลงพระปรมาภิไธยใน "พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547" อันมีผลให้สถาบันราชภัฏ 41 แห่งทั่วประเทศ เปลี่ยนชื่อเป็น "มหาวิทยาลัยราชภัฏ" และมีสถานภาพเป็นนิติบุคคลโดยสมบูรณ์ ยังความปลาบปลื้มยินดีแก่ชาวราชภัฏทุกคน ในปี พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มีอายุครบรอบ 90 ปี. ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และราชกิจจานุเบกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และราชกิจจานุเบกษา มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
กรุงเทพมหานครและมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ · กรุงเทพมหานครและราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และราชกิจจานุเบกษา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และราชกิจจานุเบกษา
การเปรียบเทียบระหว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และราชกิจจานุเบกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มี 105 ความสัมพันธ์ขณะที่ ราชกิจจานุเบกษา มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 0.87% = 1 / (105 + 10)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่และราชกิจจานุเบกษา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: