สารบัญ
15 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษพ.ศ. 2448พ.ศ. 2507พ.ศ. 2523พรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศสมีแชล ฟูโกรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมสงครามโลกครั้งที่สองอัตถิภาวนิยมดิอินดีเพ็นเดนต์ซีมอน เดอ โบวัวร์ประเทศฝรั่งเศสปรัชญา15 เมษายน21 มิถุนายน
- ชาวฝรั่งเศสผู้ได้รับรางวัลโนเบล
- นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม
- นักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศส
- ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม
- ศิษย์เก่าจากเอกอลนอร์มาลซูว์เปรีเยอร์
- เชลยศึกสงครามโลกครั้งที่สองที่ถูกจับโดยเยอรมนี
บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.
ดู ฌ็อง-ปอล ซาทร์และบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ
พ.ศ. 2448
ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.
พ.ศ. 2507
ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2523
ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส
รรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส (Parti communiste français, PCF) เป็นพรรคการเมืองและพรรคคอมมิวนิสต์ของฝรั่งเศสในปี 2012 พรรคนี้มีสมาชิกพรรคจำนวน 138,000 คน พรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศสก่อตั้งในปี 1920 และเคยเข้ารวมรัฐบาลดังต่อไปนี.
ดู ฌ็อง-ปอล ซาทร์และพรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส
มีแชล ฟูโก
มีแชล ฟูโก (Michel Foucault,; 15 ตุลาคม ค.ศ. 1926 – 25 มิถุนายน ค.ศ. 1984) เป็นนักปรัชญา นักประวัติศาสตร์ความคิด นักทฤษฎีสังคม นักนิรุกติศาสตร์ และนักวิจารณ์วรรณกรรมชาวฝรั่งเศส เคยดำรงตำแหน่ง "ศาสตราจารย์ทางประวัติศาสตร์ของระบบความคิด" (Professor of the History of Systems of Thought) ที่วิทยาลัยฝรั่งเศส (Collège de France) และเคยสอนที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ สหรัฐอเมริกา ในฐานะนักทฤษฎีสังคม ฟูโกให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจกับความรู้ รวมถึงวิธีการที่สถาบันทางสังคมต่างๆ ใช้อำนาจและความรู้เป็นเครื่องมือในการควบคุมผู้คนในสังคม ฟูโกมักถูกมองว่าเป็นตัวแทนของญาณวิทยาแบบหลังโครงสร้างนิยมและเป็นตัวแทนของนักคิดยุคหลังสมัยใหม่ แต่ตัวเขาเองปฏิเสธเรื่องนี้มาโดยตลอด ฟูโกเลือกจะอธิบายว่าความคิดของเขาเป็นประวัติศาสตร์เชิงวิพากษ์ต่อความเป็นสมัยใหม่มากกว่า ความคิดของฟูโกมีอิทธิพลอย่างยิ่งทั้งในทางวิชาการและในทางการเคลื่อนไหวทางสังคม เช่น ในขบวนการหลังอนาธิปไต.
ดู ฌ็อง-ปอล ซาทร์และมีแชล ฟูโก
รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม
รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..
ดู ฌ็อง-ปอล ซาทร์และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม
สงครามโลกครั้งที่สอง
งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.
ดู ฌ็อง-ปอล ซาทร์และสงครามโลกครั้งที่สอง
อัตถิภาวนิยม
อัตถิภาวนิยม (existentialism) คือ แนวคิดทางปรัชญาที่พิจารณาว่าปัจเจก ตัวตน ประสบการณ์ของปัจเจกแต่ละคน และความพิเศษอันเป็นหนึ่งเดียวของสิ่งที่กล่าวมา เป็นสิ่งที่สำคัญและเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจกับธรรมชาติของการมีอยู่ของมนุษย์ ปรัชญาแนวนี้โดยทั่วไปจะแสดงให้เห็นถึงความเชื่อในอิสรภาพ และยอมรับในผลสืบเนื่องจากการกระทำของปัจเจก และยังเชื่อว่าปัจเจกจะต้องรับผิดชอบกับทางเลือกที่ได้เลือกไว้ด้วย นักคิดแนวอัตถิภาวนิยมนั้นให้ความสำคัญกับอัตวิสัย (subjectivity) และมองว่ามนุษย์นั้นเป็นสิ่งที่ดำเนินชีวิตอยู่ในโลกที่ไม่ได้มีอะไรพิเศษ และมักเต็มไปด้วยความไม่ชัดเจน.
ดู ฌ็อง-ปอล ซาทร์และอัตถิภาวนิยม
ดิอินดีเพ็นเดนต์
อินดีเพ็นเดนต์ (The Independent) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษที่ตีพิมพ์ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ ค.ศ. 1986 โดยIndependent News & Media ฉบับวันราชการเรียกกันสั้นๆ ว่า “อินดี้” และฉบับวันอาทิตย์เรียกกันสั้นๆ ว่า “ซันดี้” “ดิอินดีเพ็นเดนต์” เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับล่าที่สุดฉบับหนึ่งในสหราชอาณาจักร ในปี..
ดู ฌ็อง-ปอล ซาทร์และดิอินดีเพ็นเดนต์
ซีมอน เดอ โบวัวร์
ซีมอน-ลูว์ซี-แอร์แน็สตีน-มารี แบร์ทร็อง เดอ โบวัวร์ (Simone-Lucie-Ernestine-Marie Bertrand de Beauvoir) หรือที่รู้จักกันในนาม ซีมอน เดอ โบวัวร์ (Simone de Beauvoir; 9 มกราคม ค.ศ.
ดู ฌ็อง-ปอล ซาทร์และซีมอน เดอ โบวัวร์
ประเทศฝรั่งเศส
ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.
ดู ฌ็อง-ปอล ซาทร์และประเทศฝรั่งเศส
ปรัชญา
มัยคลาสสิกไว้ในภาพเดียวกัน คำว่า ปรัชญา มีที่มามาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ปฺร ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ชฺญา ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ แทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำΦιλοσοφία ซึ่งไพธากอรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อน..
15 เมษายน
วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.
21 มิถุนายน
วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.
ดู ฌ็อง-ปอล ซาทร์และ21 มิถุนายน
ดูเพิ่มเติม
ชาวฝรั่งเศสผู้ได้รับรางวัลโนเบล
- กาเบรียล ลิพพ์มานน์
- ชาร์ล หลุยส์ อาลฟงส์ ลาฟว์ร็อง
- ซูว์ลี พรูว์ดอม
- ฌ็อง แปแร็ง
- ฌ็อง-ปอล ซาทร์
- ฌ็อง-มารี กุสตาฟว์ เลอ เกลซีโย
- ปาทริก มอดียาโน
- ปีแยร์ กูว์รี
- ฟร็องซัว โมรียัก
- มารี กูว์รี
- วิกตอร์ กรีญาร์
- หลุยส์ เดอ บรอย
- อานาตอล ฟร็องส์
- อาลแบร์ กามูว์
- อาลแบร์ แฟร์
- อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี
- อ็องตวน อ็องรี แบ็กแรล
- อ็องรี แบร์กซอน
- เฟรเดริก มิสทราล
นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม
- ฌ็อง-ปอล ซาทร์
- มีฮาอิล บาคูนิน
- ยานิส วารูฟากิส
- วิลเลียม มอร์ริส
- ออสการ์ ไวลด์
- อาลแบร์ กามูว์
- โนม ชอมสกี
นักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศส
- ฌ็อง-ปอล ซาทร์
- ปีแยร์ กีโยม เฟรเดริก เลอ แปล
- มีแชล ฟูโก
ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม
- กาบริเอลา มิสตรัล
- คาร์ล แอดอล์ฟ เกลเลอโรป
- จอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์
- จอห์น กอลส์เวอร์ธี
- ซอล เบลโลว์
- ซามูเอล เบ็คเค็ทท์
- ซูว์ลี พรูว์ดอม
- ฌ็อง-ปอล ซาทร์
- ฌ็อง-มารี กุสตาฟว์ เลอ เกลซีโย
- ดอริส เลสซิง
- ดาริโอ โฟ
- ตแชสวัฟ มีวอช
- ทูมัส ทรานสเตรอเมอร์
- นะญีบ มะห์ฟูซ
- นาดีน กอร์ดิเมอร์
- บ็อบ ดิลลัน
- ปาทริก มอดียาโน
- ปาโบล เนรูดา
- ฟร็องซัว โมรียัก
- มอริส มาแตร์แล็งก์
- มิคาอิล โชโลคอฟ
- รพินทรนาถ ฐากุร
- รัดยาร์ด คิปลิง
- วินสตัน เชอร์ชิล
- วิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์
- วิลเลียม โกลดิง
- วี. เอส. ไนพอล
- อลิซ มุนโร
- อานาตอล ฟร็องส์
- อาลแบร์ กามูว์
- อีวาน บูนิน
- อ็องรี แบร์กซอน
- เซลมา ลอเกร์เลิฟ
- เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์
- เฟรเดริก มิสทราล
- เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์
- แคนรึก แชงกีเยวิตช์
- แฮร์ทา มึลเลอร์
- แฮโรลด์ พินเทอร์
- โฆเซ เอเชกาไร อี เอย์ซากีร์เร
- โจซูเอ คาร์ดุชชี
ศิษย์เก่าจากเอกอลนอร์มาลซูว์เปรีเยอร์
- กาเบรียล ลิพพ์มานน์
- ฌอร์ฌ ปงปีดู
- ฌ็อง แปแร็ง
- ฌ็อง-ปอล ซาทร์
- ปีแยร์ กอลแมซ
- มีแชล ฟูโก
- หลุยส์ ปาสเตอร์
- อาลแบร์ แฟร์
- อาแล็ง บาดียู
- อ็องตวน-โอกุสแต็ง กูร์โน
- อ็องรี แบร์กซอน
- เซดริก วีลานี
- เอมีล บอแรล
- เอวาริสต์ กาลัว
เชลยศึกสงครามโลกครั้งที่สองที่ถูกจับโดยเยอรมนี
- ฌ็อง-ปอล ซาทร์
- ตแชสวัฟ มีวอช
- มีแชล เดอเบร
- ยาคอฟ ดซูกัสวิลี
- รอย อเลน
- อ็องรี การ์ตีเย-แบรซง
- เดสมอนด์ เลเวลีน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Jean-Paul Sartreฌอง ปอล ซาร์ตฌอง ปอล ซาร์ตร์