โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฌ็อง-ปอล ซาทร์

ดัชนี ฌ็อง-ปอล ซาทร์

็อง-ปอล ซาทร์ ฌ็อง-ปอล ซาทร์ (Jean-Paul Sartre, 21 มิถุนายน พ.ศ. 2448 กรุงปารีส, ประเทศฝรั่งเศส - 15 เมษายน พ.ศ. 2523 ที่กรุงปารีส) เป็นนักเขียนนวนิยาย, นักบทละคร, นักปรัชญา และผู้มีบทบาทสำคัญในแนวคิดอัตถิภาวนิยมหรือทฤษฎีที่ว่าทุกคนนั้นอิสระและรับผิดชอบในการกระทำของตน (Existentialism) เป็นนักปรัชญาผู้ประกาศเสรีภาพของมนุษย์ในแง่ปัจเจกชน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมเมื่อปี พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) แต่ไม่ยอมรับรางวัลดังกล่าว.

22 ความสัมพันธ์: ชาติ กอบจิตติพ.ศ. 2448พ.ศ. 2507พ.ศ. 2523รอล็อง บาร์ตรายชื่อนักปรัชญารายชื่อนักเขียนรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมอัตถิภาวนิยมอาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์อาแล็ง บาดียูอิมมานูเอล คานต์ฌ็อง-ฌัก รูโซคาร์ล มากซ์งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 29ซีมอน เดอ โบวัวร์โรงแรมริตซ์ ปารีสไอริส เมอร์ด็อคเอ็ดมุนด์ ฮุสเซิร์ลเค็นซะบุโร โอเอะ15 เมษายน21 มิถุนายน

ชาติ กอบจิตติ

ติ กอบจิตติ (เกิด 25 มิถุนายน 2497) เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี พ.ศ. 2547 และนักเขียน 2 รางวัลซีไรต์ และรางวัลช่อการะเก.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และชาติ กอบจิตติ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2448

ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และพ.ศ. 2448 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

รอล็อง บาร์ต

รอล็อง บาร์ต (Roland Barthes,; 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1915 - 25 มีนาคม ค.ศ. 1980) เป็นนักวิพากษ์วรรณกรรม นักทฤษฎีวรรณกรรมและทฤษฎีสังคม นักปรัชญา และนักสัญวิทยา งานของบาร์ตแผ่คลุมหลายสาขาวิชา และเขามีอิทธิพลต่อการพัฒนาสำนักทฤษฎีหลายสำนัก ซึ่งรวมถึง โครงสร้างนิยม สัญวิทยา อัตถิภาวนิยม ลัทธิมาร์กซ์ และหลังโครงสร้างนิยม หมวดหมู่:นักปรัชญา หมวดหมู่:ชาวฝรั่งเศส หมวดหมู่:นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส หมวดหมู่:โครงสร้างนิยม.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และรอล็อง บาร์ต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักปรัชญา

# กอทท์ฟรีด ไลบ์นิซ (Gottfreid W. Leibniz).

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และรายชื่อนักปรัชญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักเขียน

ทความนี้แสดงรายชื่อนักเขียนทั้งหมด สำหรับนักเขียนชาวไทย ดูที่ รายชื่อนักเขียนชาวไท.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และรายชื่อนักเขียน · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

อัตถิภาวนิยม

อัตถิภาวนิยม (existentialism) คือ แนวคิดทางปรัชญาที่พิจารณาว่าปัจเจก ตัวตน ประสบการณ์ของปัจเจกแต่ละคน และความพิเศษอันเป็นหนึ่งเดียวของสิ่งที่กล่าวมา เป็นสิ่งที่สำคัญและเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจกับธรรมชาติของการมีอยู่ของมนุษย์ ปรัชญาแนวนี้โดยทั่วไปจะแสดงให้เห็นถึงความเชื่อในอิสรภาพ และยอมรับในผลสืบเนื่องจากการกระทำของปัจเจก และยังเชื่อว่าปัจเจกจะต้องรับผิดชอบกับทางเลือกที่ได้เลือกไว้ด้วย นักคิดแนวอัตถิภาวนิยมนั้นให้ความสำคัญกับอัตวิสัย (subjectivity) และมองว่ามนุษย์นั้นเป็นสิ่งที่ดำเนินชีวิตอยู่ในโลกที่ไม่ได้มีอะไรพิเศษ และมักเต็มไปด้วยความไม่ชัดเจน.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และอัตถิภาวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์

อาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์ (Arthur Schopenhauer) เป็นนักปรัชญาชาวเยอรมันที่เป็นที่รู้จักกันดีในความแจ่มแจ้งทางปรัชญาและทุทรรศนนิยมของความไม่มีพระเจ้า เมื่ออายุ 25 ปีโชเพนเฮาเออร์พิมพ์ปริญญานิพนธ์ “มูลบัญญัติสี่ประการของเหตุผล” (Über die vierfache Wurzel des Satzes vom zureichenden Grunde) ที่เป็นปรัชญาที่พิจารณาคำถามที่ว่าเหตุผลเพียงอย่างเดียวจะสามารถให้คำตอบเกี่ยวกับโลกได้หรือไม่ งานชิ้นที่มีอิทธิพลที่สุดของโชเพนเฮาเออร์ “Die Welt als Wille und Vorstellung” (The World as Will and Representation) เน้นบทบาทของแรงบันดาลใจ (motivation) ของมนุษย์ที่โชเพนเฮาเออร์เรียกว่า “เจตจำนง” (Will) การวิจัยของโชเพนเฮาเออร์นำไปสู่การสรุปว่าความต้องการทางอารมณ์, ทางร่างกาย และทางเพศ เป็นสิ่งที่ไม่อาจจะตอบสนองได้อย่างเต็มที่ ฉะนั้นโชเพนเฮาเออร์จึงนิยมวิถีชีวิตที่ลดความต้องการของมนุษย์ ที่คล้ายคลึงกับปรัชญาของศาสนาพุทธและเวทานต.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และอาร์ทูร์ โชเพนเฮาเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาแล็ง บาดียู

อาแล็ง บาดียู (Alain Badiou; เกิด 17 มกราคม ค.ศ. 1937) เป็นนักปรัชญาชาวฝรั่งเศส อดีตหัวหน้าภาควิชาปรัชญา วิทยาลัยครูชั้นสูง (École Normale Supérieure) และผู้ก่อตั้งคณะปรัชญา มหาวิทยาลัยปารีส 8 (Université de Paris VIII) ร่วมกับฌีล เดอเลิซ, มีแชล ฟูโก และฌ็อง-ฟร็องซัว ลียอตาร์ บาดียูเขียนงานทางปรัชญาเกี่ยวกับประเด็นเรื่องสัต (being), ความจริง และอัตวิสัย ขณะที่ในทางการเมือง เขามีจุดยืนแบบซ้ายจัดและสนับสนุนแนวคิดแบบคอมมิวนิสต์ หมวดหมู่:นักปรัชญา หมวดหมู่:ชาวฝรั่งเศส หมวดหมู่:นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และอาแล็ง บาดียู · ดูเพิ่มเติม »

อิมมานูเอล คานต์

อิมมานูเอิล คานท์ อิมมานูเอล คานต์ (Immanuel Kant; 22 เมษายน ค.ศ. พ.ศ. 2267 - 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2347) เป็นนักปรัชญาชาวเยอรมัน จากแคว้นปรัสเซีย ได้รับการยกย่องโดยทั่วไปว่า เป็นนักคิดที่มีอิทธิพลมากที่สุดของยุโรป และเป็นนักปรัชญาคนสำคัญคนสุดท้ายของยุคแสงสว่าง เขาสร้างผลกระทบที่สำคัญไปถึงนักปรัชญาสายโรแมนติกและสายจิตนิยม ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 งานของเขาเป็นจุดเริ่มของเฮเกล คานต์เป็นที่รู้จักเนื่องจากแนวคิดของเขา ที่เรียกว่าจิตนิยมอุตรวิสัย (transcendental idealism) ที่กล่าวว่ามนุษย์ใช้แนวคิดบางอย่างที่ติดตัวมาแต่กำเนิด (innate idea) ในการรับรู้ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นรอบตัวในโลก เรารับรู้โลกโดยผ่านทางประสาทสัมผัสประกอบกับมโนภาพที่ติดตัวมานี้ ดังนั้นเราจึงไม่สามารถล่วงรู้หรือเข้าใจใน "สรรพสิ่งที่แท้" ได้ ความรู้ต่อสรรพสิ่งที่เรามีนั้นจึงเป็นได้แค่เพียงภาพปรากฏ ที่เรารับรู้ได้ผ่านทางประสาทสัมผัสเท่านั้น ญาณวิทยา (epistemology) หรือทฤษฎีความรู้ของคานต์นั้น เกิดขึ้นเพื่อแก้ความขัดแย้งระหว่างปรัชญาสายเหตุผลนิยมที่กล่าวว่า ความรู้สามารถสร้างขึ้นได้ไม่จำเป็นต้องใช้ประสบการณ์ กับปรัชญาสายประสบการณ์นิยมที่กล่าวว่า ทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารู้มีที่มาจากประสบการณ์ คานต์ได้เชื่อมแนวคิดที่ขัดแย้งกันทั้งสอง ดังคำกล่าวที่เขาเองเปรียบเปรยว่าเป็นการปฏิวัติแบบโคเปอร์นิคัส (Copernical Revolution) โดยสรุปคร่าวๆ ได้เป็นประโยคขึ้นต้นของหนังสือ บทวิพากษ์ของการใช้เหตุผล (Critique of Pure Reason) ว่า "แม้ว่าความรู้ทั้งหมดที่เรามีจะมีจุดเริ่มต้นจากประสบการณ์ แต่นั่นมิได้หมายความว่าความรู้ทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นมาจากประสบการณ์" ใน Critique of Pure Reason ยังได้นำเสนอเนื้อหาของหลักทางศีลธรรม (จริยศาสตร์) ที่ยังคงมีอิทธิพลต่อแนวความคิดด้านจริยธรรมของโลกตะวันตกมาจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนอาจกล่าวได้ว่าเขาเป็นบิดาแห่งแนวคิดเรื่องสหประชาชาติ ดังที่ปรากฏในความเรียงว่าด้วยเรื่องสันติภาพถาวรของเขาได้เสนอให้มีการจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศขึ้นเพื่อยุติความขัดแย้งและความโหดร้ายของสงคราม กระทั่งสันนิบาตชาติและตามด้วยสหประชาชาติได้เกิดขึ้นจริงในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และอิมมานูเอล คานต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฌัก รูโซ

็อง-ฌัก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2255 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2321) เป็นนักปรัชญา นักเขียน นักทฤษฎีการเมือง และนักประพันธ์เพลงที่ฝึกหัดด้วยตนเองแห่งยุคเรืองปัญญ.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และฌ็อง-ฌัก รูโซ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล มากซ์

ร์ล ไฮน์ริช มากซ์ (Karl Heinrich Marx, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนักสังคมนิยมปฏิวัติชาวเยอรมัน มากซ์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางในเทรียร์ เขาศึกษากฎหมายและปรัชญาแบบเฮเกิล เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขาไร้สัญชาติและอาศัยลี้ภัยในกรุงลอนดอน ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน ฟรีดริช เองเงิลส์ และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ จุลสารปี 2391, แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ และทุน จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม ทฤษฎีของมากซ์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า ลัทธิมากซ์ ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่านการต่อสู้ระหว่างชนชั้น ในทุนนิยม การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก ชนชั้นกระฎุมพี) ซึ่งควบคุมปัจจัยการผลิตและชนชั้นแรงงาน (เรียก ชนกรรมาชีพ) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับค่าจ้าง มากซ์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ สังคมนิยม; สำหรับมากซ์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต มากซ์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระทางสังคมและเศรษฐกิจ มีผู้อธิบายว่ามากซ์เป็นบุคคลทรงอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษย์ และงานของเขาได้รับการสรรเสริญและวิพากษ์ งานของเขาในวิชาเศรษฐศาสตร์วางรากฐานสำหรับความเข้าใจในปัจจุบันของแรงงานและความสัมพันธ์กับทุน และความคิดทางเศษฐศาสตร์สมัยหลัง ปัญญาชน สหภาพแรงงาน ศิลปินและพรรคการเมืองจำนวนมากทั่วโลกได้รับอิทธิพลจากงานของมากซ์ มีหลายคนดัดแปลงหรือรับความคิดของเขามาใช้ มักออกชื่อมากซ์ว่าเป็นผู้สร้างสังคมศาสตร์สมัยใหม่คนสำคัญคนหนึ่ง.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และคาร์ล มากซ์ · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 29

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 29 เป็นงานมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 29 · ดูเพิ่มเติม »

ซีมอน เดอ โบวัวร์

ซีมอน-ลูว์ซี-แอร์แน็สตีน-มารี แบร์ทร็อง เดอ โบวัวร์ (Simone-Lucie-Ernestine-Marie Bertrand de Beauvoir) หรือที่รู้จักกันในนาม ซีมอน เดอ โบวัวร์ (Simone de Beauvoir; 9 มกราคม ค.ศ. 1908 - 14 เมษายน ค.ศ. 1986) เป็นนักเขียน นักปรัชญา และนักทฤษฎีทางสังคมชาวฝรั่งเศส ในขณะที่ตัวเธอไม่ได้มองตัวเองเป็นนักปรัชญา แต่ความคิดของเธอกับมีอิทธิพลอย่างมากต่อทฤษฎีของนักสตรีนิยม งานเขียนของโบวัวร์นั้นมีทั้งนิยาย ความเรียง ชีวประวัติ อัตชีวประวัติ และเอกสารเฉพาะเรื่องที่มีประเด็นทางปรัชญา การเมือง และสังคม ผลงานของเธอที่มีชื่อเสียงคือ She Came to Stay และ The Mandarins.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และซีมอน เดอ โบวัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงแรมริตซ์ ปารีส

รงแรมริตซ์ที่ปลาซวองโดม โรงแรมริตซ์ ปารีส (Hôtel Ritz Paris) เป็นโรงแรมที่ตั้งอยู่ที่ปลาซวองโดม ใจกลางกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นโรงแรมที่มีชื่อเสียงและหรูหราที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง และเป็นหนึ่งในเจ็ด Parisian Palace ที่จัดอันดับโดย The Leading Hotels of the World นับเป็นโรงแรมริตซ์ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2441.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และโรงแรมริตซ์ ปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ไอริส เมอร์ด็อค

มไอริส เมอร์ด็อค (Iris Murdoch, DBE) (15 กรกฎาคม ค.ศ. 1919 - 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999) ไอริส เมอร์ด็อคเป็นนักเขียนนวนิยาย และนักปรัชญาคนสำคัญชาวอังกฤษผู้มีชื่อเสียงทางการเขียนนวนิยายที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางเพศ, จริยธรรม และ อำนาจของจิตไร้สำนึก (Unconscious mind) ในปี..

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และไอริส เมอร์ด็อค · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดมุนด์ ฮุสเซิร์ล

อ็ดมุนด์ กุสทัฟ อัลเบร็คท์ ฮุสเซิร์ล (Edmund Gustav Albrecht Husserl) เป็นนักปรัชญาชาวเยอรมันเชื้อสายออสเตรีย เขาเป็นผู้ก่อตั้งสำนักปรากฏการณ์วิทยา ทฤษฎีปรากฏการณ์วิทยาที่ฮุสเซิร์ลคิดขึ้นมาถือว่าเป็นจุดเปลี่ยนอย่างยิ่งใหญ่ที่แยกออกจากปฏิฐานนิยม (positivism), ธรรมชาตินิยม (naturalism) และวัตถุนิยม (materialism) อย่างสิ้นเชิง ฮุสเซิร์ลเห็นว่าแทนที่มนุษย์จะอธิบายบรรดาเหตุการณ์ต่างๆที่อุบัติขึ้นในโลกแห่งชีวิตของเราโดยอาศัยกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ทั่วไป มนุษย์ควรจะพยายามทำความเข้าใจโครงสร้างความหมายของโลกแห่งชีวิตว่ามันประกอบขึ้นได้อย่างไร โดยทฤษฎีปรากฎการวิทยาของฮุสเซิร์ลนี้ การค้นหาความจริงที่ปรากฏอยู่โดยไม่มีการคาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ผู้ศึกษาเป็นอิสระจากกรอบแนวคิดหรือทฤษฎี โดยให้บุคคลอธิบายเรื่องราวและประสบการณ์ต่างๆที่ตนเองประสบพบเจอโดยตัดอคติและตัดความเอนเอียงในเรื่องที่ศึกษา รวมทั้งขจัดความคิดเห็นของตนออกจากสิ่งที่ตนเองกําลังศึกษา (bracketing) เน้นที่จุดมุ่งหมาย (intentionality) และสาระสําคัญ (essences) ที่บุคคลนั้นรับรู้ม.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และเอ็ดมุนด์ ฮุสเซิร์ล · ดูเพิ่มเติม »

เค็นซะบุโร โอเอะ

็นซะบุโร โอเอะ (31 มกราคม ค.ศ. 1935 - ปัจจุบัน) ญี่ปุ่นเป็นนักเขียนคนสำคัญชาวญี่ปุ่นที่ได้รับอิทธิพลเป็นอันมากจากวรรณกรรมฝรั่งเศสและอเมริกัน และทฤษฎีวรรณกรรมที่มีเนื้อหาเชิงการเมือง, สังคม และปรัชญาที่รวมทั้งปัญหาอาวุธนิวเคลียร์, ความไม่อยู่ในกรอบในแผนของสังคม (social non-conformism) และ อัตถิภาวนิยม (existentialism) โอเอะได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1994 เพราะเป็นผู้สร้างงานเขียนที่เป็น “โลกที่เกิดจากจินตนาการ ที่ชีวิตและความลึกลับรวมกันเป็นภาพพจน์อันแสดงถึงภาวะของความกระอักกระอ่วนของสถานภาพของความกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของสังคมปัจจุบัน”"an imagined world, where life and myth condense to form a disconcerting picture of the human predicament today." Yomiuri Shimbun. May 18, 2008.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และเค็นซะบุโร โอเอะ · ดูเพิ่มเติม »

15 เมษายน

วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และ15 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ฌ็อง-ปอล ซาทร์และ21 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Jean-Paul Sartreฌอง ปอล ซาร์ตฌอง ปอล ซาร์ตร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »