สารบัญ
102 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษาอาระเบียใต้โบราณกลุ่มภาษาเซมิติกกลางกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ภาษาฟินิเชียภาษามลาโซภาษามอลตาภาษามัวไบต์ภาษามันดาอิกภาษายูการิติกภาษาอัมโมไนต์ภาษาอาหรับภาษาอาหรับบาห์เรนภาษาอาหรับมาโรไนต์ภาษาอาหรับยิวอิรักภาษาอาหรับยิวตูนิเซียภาษาอาหรับยิวโมร็อกโกภาษาอาหรับอิรักภาษาอาหรับอ่าวภาษาอาหรับฮิญาซีภาษาอาหรับคลาสสิกภาษาอาหรับคูเซสถานภาษาอาหรับซิรวานภาษาอาหรับปาเลสไตน์ภาษาอาหรับนัจญ์ดีภาษาอาหรับโอมานภาษาอาหรับโดฟารีภาษาอาหรับเลบานอนภาษาอาหรับเอเชียกลางภาษาอีโดไมต์ภาษาอโมไรต์ภาษาฮีบรูภาษาฮีบรูมิซราฮีภาษาฮีบรูมิซนะห์ภาษาฮีบรูอาซเกนาซีภาษาฮีบรูซามาริทันภาษาฮีบรูไบเบิลภาษาฮีบรูเซฟาร์ดีภาษาตึกรึญญาภาษาตูโรโยภาษาซาฮาภาษาซูเมอร์ภาษาซีรีแอกภาษาปูนิกภาษาแอกแคดภาษาแอราเมอิกภาษาแอราเมอิกของชาวยิวภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรียภาษาเมห์รี... ขยายดัชนี (52 มากกว่า) »
- กลุ่มภาษาแอราเมอิก
- ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก
- ภาษาอาหรับ
- ภาษาฮีบรู
กลุ่มภาษาอาระเบียใต้โบราณ
กลุ่มภาษาอาระเบียใต้โบราณ (Old South Arabian) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีความใกล้เคียงกัน 4 ภาษา ที่ใช้พูดทางตอนใต้ของคาบสมุทรอาระเบีย ซึ่งภาษาเหล่านี้ต่างจากภาษาอาหรับคลาสสิก กลุ่มผู้พูดภาษาเซมิติกที่ไม่ได้อพยพขึ้นเหนือได้เกิดการพัฒนาของกลุ่มภาษาใหม่ที่เรียกว่าเซมิติกตะวันตกเฉียงใต้ ภาษาในกลุ่มนี้ ได้แก่ ภาษาซาบาเอียน ภาษามินาเอีย ภาษากวาตาบาเนีย และภาษาฮาดรามัวติก กลุ่มนี้จัดเป็นสาขาตะวันตกของกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ ภาษาในกลุ่มนี้มีระบบการเขียนเป็นของตนเองคืออักษรอาระเบียใต้ ต่อมาได้พัฒนาไปเป็นอักษรเอธิโอปิก มีจุดกำเนิดเช่นเดียวกับอักษรของกลุ่มภาษาเซมิติกอื่นๆ การเข้ามาของศาสนาอิสลามทำให้ภาษาอาหรับคลาสสิกเข้ามาเป็นภาษากลางแทนที่ภาษาเหล่านี้ ปัจจุบันเหลือเพียงข้อความโบราณและจารึกบางส่วนและยังมีอิทธิพลต่อภาษาอาหรับท้องถิ่นในบริเวณนั้นเช่นเดียวกับการที่ภาษาคอปติกมีอิทธิพลต่อภาษาอาหรับอียิปต์ หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและกลุ่มภาษาอาระเบียใต้โบราณ
กลุ่มภาษาเซมิติกกลาง
กลุ่มภาษาเซมิติกกลาง เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติก ประกอบด้วยภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (รวม ภาษาคานาอันไนต์ ภาษาฮีบรู ภาษาอราเมอิก และภาษายูการิติก)ในบางครั้ง ในกลุ่มนี้ ยังแบ่งเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลางใต้ (รวมภาษาอาหรับและภาษาฮีบรู) กับภาษาอราเมอิก การแบ่งแยกระหว่างภาษาอาหรับกับกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือคือการสร้างรูปพหูพจน์ ภาษาอาหรับสร้างโดยการแทรกสระ ส่วนกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือสร้างด้วยปัจจัย เช่น.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง
กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก
กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก (West Semitic languages) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติกที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและได้รับการสนับสนุนจาก Robert Hetzron และ John Huehnergard ผู้เชี่ยวชาญด้านกลุ่มภาษาเซมิติก ซึ่งแบ่งกลุ่มภาษาเซมิติกออกเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออกและตะวันตก กลุ่มตะวันออกประกอบด้วยภาษาเอ็บลาไอต์ และภาษาอัคคาเดีย ส่วนกลุ่มตะวันตกเป็นกลุ่มใหญ่ของกลุ่มภาษาเซมิติก ประกอบด้วยกลุ่มย่อยได้แก่ กลุ่มเอธิโฮปิก กลุ่มอาระเบียใต้ ภาษาอาหรับ และกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (ภาษายูการิติก ภาษาฮีบรู ภาษาอราเมอิก) กลุ่มภาษาเอธิโอปิกและอาระเบียใต้ มีลักษณะใกล้เคียงกันมาก บางครั้งรวมกันเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ การจัดตำแหน่งของภาษาอาหรับภายในกลุ่มเซมิติกยังสับสน บางครั้งจัดให้อยู่ในกลุ่มเซมิติกใต้ บางครั้งรวมกับกลุ่มตะวันตกเฉียงเหนือเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก
กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ
กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (Northwest Semitic languages) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก มีผู้พูดประมาณ 8 ล้านคนในปัจจุบัน แบ่งได้เป็น 3 สาขา คือ ภาษายูการิติก (ตายแล้ว) ภาษาคานาอันไนต์ (รวมภาษาฮีบรู) และภาษาอราเมอิก บางครั้งรวมกลุ่มภาษานี้เข้ากับภาษาอาหรับแล้วจัดเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง ภาษายูการิติกที่ตายแล้วเป็นหลักฐานรุ่นแรกสุดของกลุ่มภาษานี้ ภาษายูการิติกไม่มีเสียง /dˤ/ (ḍ) แต่แทนที่ด้วยเสียง /sˤ/ (ṣ) (ลักษณะเดียวกับที่ปรากฏในภาษาอัคคาเดีย) เสียงนี้กลายเป็นเสียง /ʕ/ ในภาษาอราเมอิก (ในภาษาอราเมอิกโบราณ เสียงนี้เขียนด้วยอักษรกอฟ) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าภาษายูการิติกไม่ได้เป็นภาษาต้นแบบของกลุ่มนี้ ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียงนี้พบได้ในคำว่า “โลก”: ภาษายูการิติก /ʔarsˤ/ (’arṣ), ภาษาฮีบรู /ʔɛrɛsˤ/ (’ereṣ) และภาษาอราเมอิก /ʔarʕaː/ (’ar‘ā’) ภาษายูการิติกต่างจากภาษาในกลุ่มเดียวกันตรงที่ว่ายังคงมีคำที่ขึ้นต้นด้วย /w/ ในขณะที่ภาษาที่เหลือแทนที่ด้วย /y/ แหล่งที่เป็นต้นกำเนิดของภาษานี้ได้แก่บริเวณที่ในปัจจุบันเป็นประเทศอิสราเอล ซีเรีย จอร์แดน เลบานอนและคาบสมุทรไซนาย การเลื่อนเสียงสระจาก /aː/ เป็น /oː/ เป็นการแยกภาษาคานาอันไนต์ออกจากภาษายูการิติก ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียง ได้แก.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ
กลุ่มภาษาเซมิติกใต้
กลุ่มภาษาเซมิติกใต้ (South Semitic) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติก นอกเหนือจากกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันออก (เช่นภาษาอัคคาเดีย) และกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก (เช่น ภาษาอาหรับ ภาษาอราเมอิก ภาษาฮีบรู) กลุ่มภาษาเซมิติกใต้แบ่งได้อีกเป็นสองสาขาหลัก คือกลุ่มภาษาอาระเบียใต้ที่ใช้พูดทางชายฝั่งตอนใต้ของคาบสมุทรอาระเบีย และกลุ่มภาษาเอธิโอปิกที่พบตามฝั่งทะเลแดงด้านจะงอยของทวีปแอฟริกา โดยเฉพาะในเอธิโอเปียและเอริเทรียในปัจจุบัน ภาษาหลักในเอริเทรียเช่น ภาษาทีกรินยา ภาษาติเกร เป็นกลุ่มภาษาเอธิโอปิกเหนือ ในขณะที่ภาษาอัมฮาราที่เป็นภาษาหลักในเอธิโอเปียเป็นกลุ่มภาษาเอธิโอปิกใต้ บ้านเกิดของกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ส่วนใหญ่เชื่อว่าอยู่ทางตอนเหนือของของเอธิโอเปียและเอริเทรีย หรือทางตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาระเบีย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ สาขาเอธิโอปิกในแอฟริกา เชื่อว่าเกิดจากการอพยพของผู้พูดภาษาอาระเบียใต้จากเยเมนเมื่อไม่กี่พันปีที่ผ่านมา บางกลุ่มเชื่อว่า การอพยพนี้เป็นการอพยพกลับของกลุ่มผู้พูดตระกูลภาษาแอฟโฟร-เอเชียติกที่มีต้นกำเนิดในแอฟริกา และอพยพเข้าสู่ตะวันออกกลางและคาบสมุทอาระเบีย โดยกลุ่มของผู้พูดภาษาเซมิติกดั้งเดิม แต่นักภาษาศาสตร์บางคน เช่น A.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและกลุ่มภาษาเซมิติกใต้
ภาษาฟินิเชีย
ษาฟินิเชีย เป็นภาษาที่มีจุดกำเนิดในชายฝั่งที่เรียก "Pūt" ในภาษาอียิปต์โบราณ "คานาอัน" ในภาษาฟินิเชีย ภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก และเรียก "ฟินิเชีย"ในภาษากรีกและภาษาละติน เป็นภาษากลุ่มเซมิติกสาขาคานาอัน ใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก บริเวณดังกล่าวปัจจุบันอยู่ในเลบานอนและซีเรีย และอิสราเอลทางตอนเหนือ เป็นที่รู้จักจากจารึกต่างๆในไบบลอสและหนังสือที่เขียนด้วยภาษาต่างๆ จารึกภาษาฟินิเชียเก่าสุดพบในไบบลอส อายุราว 457 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งพบทั้งใน เลบานอน ซีเรีย อิสราเอล ไซปรัส เกาะซิซิลี ตูนีเซีย โมร็อกโก แอลจีเรีย มอลตา และที่อื่นๆในคาบสมุทรไอบีเรีย การถอดความภาษาฟินิเชียใช้ความรู้ภาษาฮีบรูเป็นพื้นฐาน.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาฟินิเชีย
ภาษามลาโซ
ษามลาโซ เป็นภาษาซีเรียคสมัยใหม่สำเนียงตะวันตก ซึ่งจัดเป็นสำเนียงของภาษาอราเมอิก มีผู้พูดในตุรกีตะวันออกและซีเรียตะวันออกเฉียงเหนือ โดยชาวคริสต์นิกายซีเรียคออร์ธอดอกซ์ ภาษามลาโซใกล้เคียงกับภาษาตูโรโย ใช้พูดในหมู่บ้าน Mlahsó และ `Ansha ใกล้กับ Lice, Diyarbakır, ในตุรกี ชื่อของหมู่บ้านและภาษามาจากภาษาซีเรียค melħo, 'เกลือ' ชื่อในทางวรรณคดีของภาษานี้ในภาษาซีเรียคคือ Mlaħthoyo ผู้พูดภาษานี้จะเรียกภาษาของตนว่า Suryö ซึ่งหมายถึงภาษาซีเรียค ผู้พูดภาษามลาโซเป็นภาษาแม่คนสุดท้ายคือ Ibrahim Hanna ตายเมื่อ..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษามลาโซ
ภาษามอลตา
ษามอลตา (Maltese; มอลตา: Malti) เป็นภาษาประจำชาติของประเทศมอลตา และเป็นภาษาราชการของประเทศนี้ร่วมกับภาษาอังกฤษ ภาษามอลตามีต้นกำเนิดจากภาษาซิคูโล-อาหรับ (ภาษาถิ่นของภาษาอาหรับที่มีวิวัฒนาการขึ้นในเกาะซิซิลี เกาะมอลตา และภาคใต้ของประเทศอิตาลี) แต่ก็มีคำยืมจากภาษาอิตาลี ภาษาซิซิลี และภาษาอังกฤษในสัดส่วนสูงเช่นกัน ปัจจุบันภาษามอลตายังเป็นภาษาในกลุ่มเซมิติกเพียงภาษาเดียวที่เป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรปและใช้อักษรละตินในภาษาเขียนมาตรฐาน.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษามอลตา
ภาษามัวไบต์
ภาษามัวไบต์ เป็นสำเนียงของภาษาฮีบรู-คานาอันไนต์ที่ตายแล้ว เคยใช้พูดในโมอาบ (ปัจจุบันอยู่ในจอร์แดน) ในช่วง 457 ปีก่อนพุทธศักราช หลักฐานจากจารึกแสดงให้เห็นว่าใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูในไบเบิล ความแตกต่างที่พบมักเป็นส่วนเล็กๆ เช่น ใช้รูปพหูพจน์ -în มากกว่า -îm (เช่น mlkn "กษัตริย์" ซึ่งฮีบรูในไบเบิลใช้ məlākîm) ลงท้ายเพศหญิงด้วย -at แบบเดียวกับภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก ในขณะที่ภาษาฮีบรูไบเบิลใช้ to -āh (เช่น qryt "เมือง", ฮีบรูไบเบิล qiryāh) เป็นต้น หมวดหมู่:ภาษาโบราณในทวีปเอเชีย en:Moab#Moabite language.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษามัวไบต์
ภาษามันดาอิก
ษามันดาอิก เป็นภาษาที่ใช้ในศาสนามันเดียน ใกล้เคียงกับภาษาอราเมอิก และได้รับอิทธิพลจากภาษากลุ่มอิหร่านอื่นๆทั้งในด้านไวยากรณ์และรากศัพท์ ภาษามันดาอิกคลาสสิก จัดอยู่ในภาษากลุ่มเซมิติกตะวันออก สาขาตะวันออกเฉียงเหนือ ใกล้เคียงกับภาษาอราเมอิกที่ใช้พูดในบาบิโลเนียและภาษาในเมโสโปเตเมียอื่นๆ มีความใกล้เคียงกับภาษาซีเรียค ที่เป็นภาษาของชาวคริสต์ในตะวันออกกลาง.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษามันดาอิก
ภาษายูการิติก
ษายูการิติก เป็นภาษาที่พบหลักฐานในจารึกที่พบในบริเวณนครรัฐยูการิต ที่ขุดค้นพบในประเทศซีเรีย เป็นภาษาที่มีความสัมพันธ์กับภาษาฮีบรู และมีความเกี่ยวข้องกับศาสนายูดายและศาสนาโบราณอื่นๆในบริเวณนั้น เป็นภาษากลุ่มเซมิติก เขียนด้วยอักษรรูปลิ่มที่ต่างจากอักษรรูปลิ่มอื่นเพราะใช้แทนเสียงพยัญชนะ โดยมีพยัญชนะ 22 ตัว พบจารึกอักษรนี้ในช่วง 857 – 657 ปีก่อนพุทธศักราช นครรัฐยูการิตถูกทำลายเมื่อราว 637 – 627 ปีก่อนพุทธศักร.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษายูการิติก
ภาษาอัมโมไนต์
ษาอัมโมไนต์ เป็นภาษากลุ่มคานาอันไนต์ ของชาวอัมโมไนต์ที่กล่าวถึงในคัมภีร์ไบเบิล ซึ่งเคยอาศัยอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศจอร์แดนในปัจจุบันและเป็นที่มาของชื่อ “อัมมัน” เมืองหลวงของจอร์แดน หลักฐานเกี่ยวกับภาษานี้เหลืออยู่น้อย เช่น จารึกที่มั่นสุดท้ายของชาวอัมมัน อายุ 357 ปีก่อนพุทธศักราช ขวดทองแดงอายุราว 157 – 57 ปีก่อนพุทธศักราช หลักฐานเท่าที่พบแสดงว่าภาษานี้ใกล้เคียงกับภาษาฮีบรูในคัมภีร์ไบเบิล โดยได้รับอิทธิพลจากภาษาอราเมอิก เช่น การใช้ ‘bd แทน ‘śh ในภาษาฮีบรูไบเบิลสำหรับคำว่า “ทำงาน” สิ่งที่ต่างไปอีกอย่างหนึ่งคือ การใช้รูปสตรีลึงค์ เอกพจน์ -t (เช่น ’šħt "cistern").
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอัมโมไนต์
ภาษาอาหรับ
ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับ
ภาษาอาหรับบาห์เรน
ษาอาหรับบาห์เรน (Bahrani Arabic หรือ Baharna Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณบะห์รานีของบาห์เรน และบางส่วนของจังหวัดซาอุดิตะวันออกและในโอมาน ในบาห์เรน สำเนียงนี้เป็นสำเนียงพูดในเมืองหลวงมานามา และในหมู่บ้านบะห์รานี ส่วนอื่นๆจะพูดภาษาอาหรับอ่าวซึ่งใกล้เคียงกับภาษาที่ใช้พูดในคูเวตและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มากกว่า ในซาอุดิอาระเบีย ศูนย์กลางของผู้พูดในสำเนียงอยู่ที่กาติฟและบริเวณใกล้เคียงและแตกต่างจากสำเนียงอัล-ฮาซาซึ่งเป็นสำเนียงส่วนใหญ่ของจังหวัดซาอุดิตะวันออก ความแตกต่างระหว่างภาษาอาหรับบาห์เรนและสำเนียงใกล้เคียง เกิดจากความแตกต่างทางประวัติศาสตร์ ส่วนใหญ่ของผู้พูดสำเนียงอื่นๆ ในบริเวณนี้เป็นผู้อพยพเข้ามาซึ่งมักจะเป็นชาวเบดูอินเผ่านัจญ์ดี ผู้คนเหล่านี้ปัจจุบันพูดภาษาอาหรับอ่าวที่ต่างจากภาษาอาหรับนัจญ์ดีและภาษาอาหรับของชาวเบดูอินและใกล้เคียงกับภาษาอาหรับบาห์เรนมากกว่า ในบาห์เรน ความแตกต่างหลักระหว่างผู้พูดภาษาอาหรับบาห์เรนและสำเนียงอื่นๆอยู่ที่รูปแบบของไวยากรณ์ และการเน้นหนัก ภาษาอาหรับบาห์เรนมีคำยืมจากภาษาอื่นๆจากภาษาฮินดี (เช่น bānka, sōmān) หรือภาษาอังกฤษ (เช่น lētar, wīl, tēm รวมทั้งภาษาเปอร์เซียด้วย ซึ่งเป็นผลจากการติดต่อค้าขายกับเปอร์เซียในอดีต.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับบาห์เรน
ภาษาอาหรับมาโรไนต์
ษาอาหรับมาโรไนต์ในไซปรัส (Cypriot Maronite Arabic) หรือภาษาอาหรับไซปรัส ภาษามาโรไนต์ ภาษาซันนา ใช้พูดในมาโรไนต์ในไซปรัส ผู้พุโส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 30 ปี ผู้พูดภาษานี้อพยพมาจากเลบานอนเมื่อ 700 ปีที่ผ่านมา ได้รับอิทธิพลจากภาษากรีกทั้งทางด้านสัทวิทยาและคำศัพท.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับมาโรไนต์
ภาษาอาหรับยิวอิรัก
ภาษาอาหรับยิวอิรัก (Judeo-Iraqi Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดโดยชาวยิวที่อยู่ในอิรัก 99% ของผู้พูดภาษานี้ปัจจุบันอยู่ในอิสราเอล และเป็นผู้สูงอายุ รูปแบบของภาษานี้ที่เป็นที่รู้จักดีคือภาษาอาหรับยิวแบกแดด ซึ่งมีความแตกต่างกันในโมซูลและที่อื่นๆ หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ อาหรับยิวอิรัก อาหรับยิวอิรัก.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับยิวอิรัก
ภาษาอาหรับยิวตูนิเซีย
ภาษาอาหรับยิวตูนิเซีย (Judeo-Tunisian Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่พูดโดยชาวยิวที่เคยอยู่ในตูนิเซีย ปัจจุบัน ผู้พูดภาษานี้ราว 99% อยู่ในอิสราเอล ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุและคนรุ่นใหม่รู้ภาษานี้น้อยลง อาหรับยิวตูนิเซีย หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับยิวตูนิเซีย
ภาษาอาหรับยิวโมร็อกโก
ษาอาหรับยิวโมร็อกโก (Judeo-Moroccan Arabic) เป็นสำเนียงภาษาอาหรับที่พูดโดยชาวยิวที่เคยอยู่ในโมร็อกโก ปัจจุบันผู้พูด 99% อยู่ในอิสราเอล ผู้ที่อยู่ในโมร็อกโกมักเป็นผู้สูงอ.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับยิวโมร็อกโก
ภาษาอาหรับอิรัก
ษาอาหรับอิรัก (Iraqi Arabic) หรือภาษาอาหรับเมโสโปเตเมีย ภาษาอาหรับแบกแดด ภาษาอาหรับซีเรียเหนือ เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในที่ราบเมโสโปเตเมียในอิรัก ทางใต้ของแบกแดด และบริเวณใกล้เคียงในอิหร่านและซีเรียตะวันออก กลุ่มของสำเนียงรวมทั้งสำเนียงในอนาโตเลีย ติกริส และยูฟราเตส นอกจากนั้ยังมีสำเนียงของชาวยิวและชาวคริสต์ เช่นสำเนียงของชาวเบดูอิน สำเนียงนี้ต่างจากภาษาอาหรับเมโสโปเตเมียเหนือ.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับอิรัก
ภาษาอาหรับอ่าว
ภาษาอาหรับอ่าว (Gulf Arabic) หรือภาษาคาลิญี ภาษากาตารี (Khaliji,al-lahjat al-khalijiya اللهجة الخليجية, Qatari) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดตามชายฝั่งอ่าวเปอร์เซีย โดยเฉพาะในคูเวต ซาอุดิอาระเบียตอนกลางและตะวันออก บาห์เรน กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และบางส่วนของโอมาน ลักษณะสำคัญที่ทำให้ต่างจากสำเนียงของชาวเบดูอินอื่นๆ คือมีคำยืมจากภาษาเปอร์เซียน้อย และการออกเสียง k เป็น ch ("kalb" หมา, อ่านเป็น "chalb"); และบางครั้งออกเสียง j เป็น y (jeeb "นำมา" (เพศชาย), อ่านเป็น "yeeb") อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว อาหรับอ่าว หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ หมวดหมู่:อ่าวเปอร์เซีย.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับอ่าว
ภาษาอาหรับฮิญาซี
ษาอาหรับฮิญาซี (Hejazi Arabic หรือ Hijazi Arabic; حجازي) เป็นภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณภาคตะวันตกของซาอุดิอาระเบีย โดยเฉพาะสำเนียงที่ใช้พูดในเฮยาซคือสำเนียงของชาวเบดูอิน และสำเนียงของประชาชนในเมือง สำเนียงในเมืองจะพูดในตัวเมือง เช่น เจดดะห์ เมกกะ และเมดินะ เป็นสำเนียงที่มีผู้เข้าใจแพร่หลายในคาบสมุทรอาระเบีย และมีความใกล้เคียงกับภาษาอาหรับสำเนียงที่พูดในซูดานภาคเหนือ สำเนียงในเมืองมีลักษณะอนุรักษ์น้อยกว่าสำเนียงเบดูอิน มีสระเสียงสั้นมากกว่าสำเนียงที่พูดในบริเวณใกล้เคียง ตำศัพท์มีคำยืมจากสำเนียงของชาวอียิปต์ ซีเรีย และเยเมน การที่เคยอยู่ภายใต้การปกครองของตุรกีมากว่า 500 ปี ทำให้ได้รับอิทธิพลจากภาษาตุรกีด้วย สำเนียงของชาวเบดูอินแต่ละเผ่าจะเข้าใจกันได้ สำเนียงของเผ่าทางตอนเหนือจะมีลักษณะใกล้เคียงกับสำเนียงในจอร์แดนและคาบสมุทรไซน.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับฮิญาซี
ภาษาอาหรับคลาสสิก
อกสารจากอัลกุรอ่าน เป็นลายมือเขียนของภาษาอาหรับคลาสสิก ภาษาอาหรับคลาสสิก (Classical Arabic; CA) หรือภาษาอาหรับโกหร่าน (Koranic Arabic) เป็นรูปแบบของภาษาอาหรับที่ใช้ในวรรณคดีจากสมัยอุมัยยัดและอับบาสิด (ประมาณพุทธศตวรรษ 12 – 14) มีพื้นฐานมาจากสำเนียงในยุคกลางของเผ่าอาหรับ ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ จะเป็นภาษาลูกหลานของภาษานี้ แม้ว่ารากศัพท์ และรูปแบบของภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่จะต่างจากภาษาอาหรับคลาสสิก แต่โครงสร้างประโยคยังไม่เปลี่ยนแปลง ในขณะที่สำเนียงที่ใช้พูดได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว ในโลกของชาวอาหรับ มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยระหว่างภาษาอาหรับคลาสสิกและภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ และทั้งคู่ถูกเรียกว่าอัล-ฟุศฮาในภาษาอาหรับซึ่งหมายถึงภาษาพูดที่ชัดเจน เนื่องจากเป็นภาษาที่ใช้เขียนคัมภีร์อัลกุรอ่าน จึงถือเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ของมุสลิม และใช้ในพิธีทางศาสน.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับคลาสสิก
ภาษาอาหรับคูเซสถาน
ภาษาอาหรับคูเซสถาน (Khuzestani Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในจังหวัดคูเซสถาน ประเทศอิหร่าน มีความใกล้เคียงกับภาษาอาหรับอิรักและมีคำยืมจากภาษาเปอร์เซียเป็นจำนวนมาก หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิหร่าน.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับคูเซสถาน
ภาษาอาหรับซิรวาน
ษาอาหรับซิรวาน (Shirvani Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่เคยใช้พูดในบริเวณที่เป็นตอนกลางและตะวันตกเฉียงเหนือของอาเซอร์ไบจานในปัจจุบัน (ในสมัยก่อนเรียกซิรวาน) และดาเกสถาน (ทางภาคใต้ของรัสเซีย) ภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณนี้เป็นผลมาจากการแผ่ขยายของศาสนาอิสลามมาจากเทือกเขาคอเคซัสใต้เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 ซึ่งทำให้มีชาวอาหรับเข้ามาตั้งหลักแหล่งทั้งเป็นกองทหาร พ่อค้าจากซีเรีย และแบกแดดซึ่งใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษาราชการ ต่อมาบทบาทของภาษาอาหรับได้ลดลงเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 18 หลังจากกาหลิบเลื่อมอำนาจลง และถูกแทนที่ด้วยภาษาเปอร์เซีย ภาษาตัต และภาษาอาเซอรี กลุ่มของชาวอาหรับ (ส่วนใหญ่มาจากเยเมน) อพยพต่อไปเข้าสู่ทางใต้ของดาเกสถาน หลักฐานสุดท้ายที่บ่งบอกถึงการเหลืออยู่ของภาษาอาหรับซิรวาน อยู่ในงานเขียนของนักประวัติศาสตร์ชาวอาเซอรี Abbasgulu Bakikhanov ที่กล่าวว่าชาวอาหรับซิรวานพูดภาษาอาหรับที่เป็นสำเนียงต่างออกไป เมื่อ..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับซิรวาน
ภาษาอาหรับปาเลสไตน์
ษาอาหรับปาเลสไตน์ (Palestinian Arabic) เป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาอาหรับเลอวานต์ พูดโดยชาวปาเลสไตน์ โดยสำเนียงของชาวปาเลสไตน์ในชนบทมีความแตกต่างกันมาก โดยเฉพาะการออกเสียง qaf เป็น kaf ซึ่งแตกต่างจากภาษาอาหรับสำเนียงอื่นๆ แต่สำเนียงของชาวปาเลสไตน์ใกล้เคียงกับภาษาอาหรับเลอวานต์ทางเหนือ เช่นภาษาอาหรับซีเรียและภาษาอาหรับเลบานอน.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับปาเลสไตน์
ภาษาอาหรับนัจญ์ดี
ษาอาหรับนัจญ์ดี (Najdi Arabic; ภาษาอาหรับ: اللهجة النجدية) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณทะเลทรายทางภาคกลางและภาคตะวันออกของซาอุดิอาระเบีย ยังรวมถึงสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในริยาด และชาวเบดูอินในจอร์แดน ซีเรียและอิรัก.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับนัจญ์ดี
ภาษาอาหรับโอมาน
ษาอาหรับโอมาน (Omani Arabic) หรือภาษาอาหรับฮาดารี เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในเทือกเขาฮาญัรในโอมานและตามแนวชายฝั่งใกล้เคียง เคยใช้พูดในเคนยาและแทนซาเนีย ซึ่งปัจจุบันถูกแทนที่ด้วยภาษาสวาฮีลี.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับโอมาน
ภาษาอาหรับโดฟารี
ษาอาหรับโดฟารี (Dhofari Arabic) หรือภาษาอาหรับโซฟารี เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในซาลอลอหฺ โอมานและบริเวณชายฝั่งที่อยู่รอบๆที่เรียกโดฟาร.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับโดฟารี
ภาษาอาหรับเลบานอน
ษาอาหรับเลบานอน (Lebanese Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในเลบานอนและเป็นสำเนียงย่อยของภาษาอาหรับเลอวานต์ ชาวมาโรไนต์ในบริเวณนั้นถือว่าภาษาอาหรับเลบานอนเป็นภาษาเอกเท.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับเลบานอน
ภาษาอาหรับเอเชียกลาง
ษาอาหรับเอเชียกลาง (Central Asian Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในอุซเบกิสถานและทาจิกิสถาน ปัจจุบันเป็นภาษาที่ใกล้ตายแล้ว เคยใช้พูดระหว่างชุมชนชาวอาหรับและเผ่าต่างๆในเอเชียกลาง ที่อยู่ในซามาร์คันด์ บูคารา กิซกวาดัรยา สุรคันดัรยา (ปัจจุบันอยู่ในอุซเบกิสถาน) และคัตลอน (ปัจจุบันอยู่ในทาจิกิสถาน) รวมไปถึงอัฟกานิสถาน การอพยพเข้าสู่เอเชียกลางของชาวอาหรับครั้งแรกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 ซึ่งเป็นช่วงที่มีการแพร่ขยายของศาสนาอิสลามภาษาอาหรับกลายเป็นภาษาทั่วไปทางด้านวิทยาศาสตร์และวรรณคดีอย่างรวดเร็วด้วยอิทธิพลของศาสนาอิสลาม ชาวอาหรับในเอเชียกลางส่วนใหญ่จะแยกตัวอยู่อย่างโดดเดี่วและไม่แต่งงานข้ามเผ่า ทำให้ภาษาของพวกเขายังคงอยู่มาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 25 เมื่อราว..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับเอเชียกลาง
ภาษาอีโดไมต์
ษาอีโดไมต์เป็นภาษากลุ่มฮีบรู-คานาอันไนต์ที่ตายแล้ว เคยใช้พูดทางตะวันตกเฉียงใต้ในจอร์แดน เมื่อ 457 ปีก่อนพุทธศักราช ในช่วงแรกเขียนด้วยอักษรคานาอันไนต์ ต่อมาช่วง 57 ปีก่อนพุทธศักราชเปลี่ยนมาเขียนด้วยอักษรอราเมอิก และเริ่มมีคำยืมจากภาษาอาหรับ ในคัมภีร์ไบเบิล “อีดอม” เป็นชื่อหนึ่งของเอซาว ซึ่งเป็นลูกหลานของอีเบอร์ผ่านทางอับราฮัม ชาวอีโดไมต์ได้รับการยอมรับว่าเป็นชาวยิวเช่นเดียวกับชาวมัวไบต์และชาวอัมโมไนต์ ภาษาของพวกเขาจึงอาจเรียกว่าภาษาฮีบรูได้ด้ว.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอีโดไมต์
ภาษาอโมไรต์
ษาอโมไรต์ เป็นภาษาตระกูลเซมิติกที่พูดโดยเผ่าอโมไรต์ในประวัติศาสตร์ยุคต้นของตะวันออกกลาง เป็นที่รู้จักจากบันทึกของชาวอัคคาเดียระหว่างช่วงที่ชาวอโมไรต์เข้าปกครองบาบิโลเนีย (2,357 – 457 ก่อนพุทธศักราช) และพบในบันทึกของชาวอียิปต์ยุคต้น ชื่อสถานที่แห่งหนึ่งคือ "Snir" (שְׂנִיר) เป็นที่รู้จักจากคัมภีร์ไบเบิล ลักษณะทั่วไปของภาษานี้ได้แก.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอโมไรต์
ภาษาฮีบรู
ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาฮีบรู
ภาษาฮีบรูมิซราฮี
ภาษาฮีบรูมิซราฮี หรือภาษาฮีบรูตะวันออก ใช้อ้างถึงระบบการออกเสียงภาษาฮีบรูในคัมภีร์ไบเบิลที่ใช้ในทางศาสนาของชาวยิวมิซราฮีซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศอาหรับหรือทางตะวันออก และโดยมากจะพูดภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย ภาษาฮินดี ภาษาตุรกี หรือภาษาอื่นๆในตะวันออกกลางและเอเชีย คำนี้ใช้ครอบคลุมภาษาฮีบรูหลายสำเนียง แต่ไม่รวมชาวยิวเซฟาร์ดีที่อยู่ในตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ชาวยิวเซฟาร์ดีนี้เป็นชาวยิวที่เคยอยู่ในสเปนแล้วถูกขับออกมา หมวดหมู่:ภาษาในตะวันออกกลาง หมวดหมู่:ภาษาของชาวยิว.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาฮีบรูมิซราฮี
ภาษาฮีบรูมิซนะห์
ษาฮีบรูมิซนะห์ (Mishnaic Hebrew language) หรือภาษาฮีบรูแรบไบรุ่นแรก (Early Rabbinic Hebrew language) เป็นลูกหลานโดยตรงของภาษาฮีบรูไบเบิลภาษาหนึ่ง ที่รักษาไว้โดยชาวกรุงในบาบิโลน และได้รับการบันทึกโดยชาวยิวที่เขียนมิซนะห์ สำเนียงนี้ไม่ได้ถูกใช้โดยชาวซามาริทันที่รักษาสำเนียงของตนในรูปภาษาฮีบรูซามาริทัน.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาฮีบรูมิซนะห์
ภาษาฮีบรูอาซเกนาซี
ษาฮีบรูอาซเกนาซี (Ashkenazi Hebrew) เป็นระบบการออกเสียงของภาษาฮีบรูไบเบิล และภาษาฮีบรูมิซนะห์ที่นิยมใช้ในหมู่ชาวยิวอาซเกนาซี ระบบการออกเสียงนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาใกล้เคียงที่มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เช่น ภาษายิดดิช และภาษากลุ่มสลาฟหลายภาษา ทุกวันนี้เหลือรอดในฐานะภาษาทางศาสนาควบคู่ไปกับภาษาฮีบรูสมัยใหม่ในอิสราเอล.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาฮีบรูอาซเกนาซี
ภาษาฮีบรูซามาริทัน
ษาฮีบรูซามาริทัน (Samaritan Hebrew language) เป็นลูกหลานของภาษาฮีบรูไบเบิลที่ออกเสียงโดยชาวซามาริทัน.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาฮีบรูซามาริทัน
ภาษาฮีบรูไบเบิล
ษาฮีบรูไบเบิล (Biblical Hebrew)หรือภาษาฮีบรูคลาสสิก (Classical Hebrew) เป็นรูปแบบโบราณของภาษาฮีบรูที่ใช้เขียนคัมภีร์ไบเบิลและจารึกในอิสราเอล เชื่อว่าเป็นรูปแบบที่เคยใช้พูดในอิสราเอลสมัยโบราณ ไม่มีการใช้เป็นภาษาพูดในปัจจุบัน แต่ยังมีการศึกษาในฐานะภาษาทางศาสนาของชาวยิว ทฤษฎีของศาสนาคริสต์ นักภาษาศาสตร์และนักโบราณคดีของอิสราเอลเพื่อให้เข้าใจไบเบิลภาษาฮีบรูและปรัชญาของชาวเซมิติกมากขึ้น มีการสอนในโรงเรียนในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรูไบเบิลสามารถอ่านได้บ้างโดยผู้ที่เข้าใจภาษาฮีบรูสมัยใหม่ ซึ่งมีความแตกต่างกันบ้างในด้านคำศัพท์ ไวยากรณ์ และการออกเสียง แม้ว่ากฎของไวยากรณ์ของภาษาฮีบรูไบเบิลและภาษาฮีบรูสมัยใหม่มักจะต่างกัน แต่ภาษาฮีบรูไบเบิลบางครั้งมีใช้ในวรรณคดีภาษาฮีบรูสมัยใหม่ หน่วยในภาษาฮีบรูไบเบิลมักจะใช้ในบทสนทนาและสื่อในอิสราเอล.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาฮีบรูไบเบิล
ภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี
ษาฮีบรูเซฟาร์ดี (Sephardi Hebrew)เป็นระบบการออกเสียงของภาษาฮีบรูไบเบิลที่มาจากการใช้งานของชาวยิวเซฟาร์ดี สัทวิทยาของภาษานี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาที่ติดต่อด้วยเช่น ภาษาลาดิโน ภาษาโปรตุเกส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาดัตช์ ภาษาอาหรั.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี
ภาษาตึกรึญญา
ษาตึกรึญญา (ትግርኛ, tigriññā) หรือ ภาษาทิกรินยา หรือ ภาษาทิกรีนยา (Tigrinya) เป็นภาษาที่ชาวตึกรึญญาใช้ในประเทศเอริเทรี.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาตึกรึญญา
ภาษาตูโรโย
ษาตูโรโย เป็นภาษาซีเรียคใหม่หรือภาษาอราเมอิกใหม่ ใช้พูดในตุรกีตะวันออกและซีเรียตะวันออกเฉียงเหนือ โดยผู้นับถือศาสนาคริสต์นิกายซีเรียคออร์ธอดอกซ์ คำว่าตูโร (ṭuro), หมายถึงภูเขา ตูโรโย (Ṭuroyo) จึงหมายถึงสำเนียงภูเขาทงตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี ชื่อเก่าของภาษานี้คือซูรายต์ (Ṣurayt) ซึ่งอาจจะเกี่ยวข้องกับคำว่าซีเรียค ผู้พูดภาษานี้ใช้ภาษาซีเรียคคลาสสิกเป็นภาษาทางศาสนาและวรรณคดี และมีความพยายามที่จะนำกลับมาใช้เป็นภาษาพูด ไม่มีการใช้ภาษาตูโรโยเป็นภาษาเขียนแต่เขียนด้วยภาษาซีเรียคคลาสสิกแทน.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาตูโรโย
ภาษาซาฮา
ษาซาฮาหรือภาษายากุต เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก มีผู้พูด 363,000 คน ในสาธารณรัฐซาฮาของรัสเซีย การเรียงประโยคเป็นแบบประธาน-กริยาวิเศษณ์-กรรม-กริยา คำแสดงความเป็นเจ้าของมาก่อนคำที่เป็นเจ้าของ คำขยายตามหลังนามที่ถูกขยาย คำนามมีรุปเอกพจน์กับพหูพจน์ ไม่แบ่งเพศของนาม แต่มีการแยกสรรพนามบุรุษที่ 3 ระหว่างนามที่มีกับไม่มีชีวิต.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาซาฮา
ภาษาซูเมอร์
ษาซูเมอร์ (Sumerian language) เป็นภาษาพูดของชาวซูเมอร์ในเมโสโปเตเมียตอนใต้เมื่อประมาณ 3,457 ปีก่อนพุทธศักราช ภาษานี้ถูกแทนที่ด้วยภาษาแอกแคดเมื่อราว 1,257 ปีก่อนพุทธศักราช แต่ยังคงใช้เป็นภาษาทางศาสนา วรรณคดีและวิทยาศาสตร์ในเมโสโปเตเมียจนถึงราว..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาซูเมอร์
ภาษาซีรีแอก
อกสารภาษาซีรีแอกอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 ภาษาซีรีแอก (Syriac language; ซีรีแอก: ܣܘܪܝܝܐ Suryāyā) เป็นสำเนียงตะวันออกของภาษาแอราเมอิก ใช้พูดใกลุ่มชาวคริสต์ ที่อยู่ระหว่างจักรวรรดิโรมันและเปอร์เซีย ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 1 –12 ปัจจุบันยังคงใช้ในทางศาสนา โดยผู้พูดภาษาแอราเมอิกใหม่ในซีเรีย และใช้ในโบสถ์คริสต์ของชาวซีเรีย ในรัฐเกรละ ประเทศอินเดีย เป็นภาษาทางศาสนาในตะวันออกกลางในช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 – 13 ความหมายอย่างกว้างหมายถึงภาษาแอราเมอิกตะวันออกทั้งหมดที่ใช้ในหมู่ชาวคริสต์ ความหมายอย่างจำเพาะเจาะจงหมายถึงภาษาคลาสสิกของอีเดสซา ซึ่งเป็นภาษาทางศาสนาของชาวซีรีแอกที่นับถือศาสนาคริสต์ และกลายเป็นสื่อในการเผยแพร่วัฒนธรรมและศาสนาคริสต์จากทางเหนือไปสู่มาลาบาร์ และจากทางตะวันออกไปถึงจีนเคยใช้เป็นภาษากลางระหว่างชาวอาหรับกับชาวเปอร์เซียก่อนจะถูกแทนที่ด้วยภาษาอาหรับเมื่อ พุทธศตวรรษที่ 13.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาซีรีแอก
ภาษาปูนิก
ษาปูนิก (Punic language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติกที่ตายแล้ว เคยใช้พูดบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในแอฟริกาเหนือโดยชาวปูนิก.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาปูนิก
ภาษาแอกแคด
ษาแอกแคด (lišānum akkadītum; Akkadian language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติกใช้พูดในเมโสโปเตเมียโบราณ รวมทั้งชาวบาบิโลเนียและชาวอัสซีเรีย ชื่อของภาษานี้มาจากเมืองแอกแคดซึ่งเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมเมโสโปเตเมี.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาแอกแคด
ภาษาแอราเมอิก
ษาแอราเมอิก (Aramaic language) เป็นภาษาตระกูลเซมิติกที่มีความเป็นมายาวนานกว่า 3,000 ปืเป็นภาษากลางของบริเวณตะวันออกใกล้ในช่วง 157 ปีก่อนพุทธศักราชถึง..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาแอราเมอิก
ภาษาแอราเมอิกของชาวยิว
ษาแอราเมอิกของชาวยิว (Judæo-Aramaic) เป็นคำที่ใช้อธิบายภาษาแอราเมอิกและภาษาอราเมอิกใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาฮีบรู.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาแอราเมอิกของชาวยิว
ภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย
ษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย เป็นรูปแบบใหม่ของภาษาแอราเมอิกตะวันออกหรือภาษาซีรีแอก แต่ไม่เกี่ยวข้องกับภาษาอัคคาเดียที่ใช้พูดในจักรวรรดิอัสซีเรีย หรือภาษาแอราเมอิกที่เป็นภาษากลางในจักรวรรดิอัสซีเรีย ในช่วง 257 ปีก่อนพุทธศักราช เริ่มแรกภาษานี้ ใช้พูดนบริเวณทะเลสาบอูร์เมีย ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอิหร่านและซิอิต ตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี ปัจจุบันมีผู้พูดกระจายไปทั่วโลก ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายอัสซีเรียแห่งตะวันออก มีผู้พูดราว 200,000 คน ในอิรัก ซีเรีย อิหร่าน อาร์มีเนีย จอร์เจีย และตุรกี เขียนด้วย อักษรซีรีแอก อักษรละติน และอักษรฮีบรู.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย
ภาษาเมห์รี
ษาเมห์รี เป็นภาษากลุ่มเซมิติกใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยทางตะวันออกของเยเมนและทางตะวันตกของโอมาน และเป็นภาษาที่เคยใช้พูดในคาบสมุทรอาระเบียก่อนการแพร่กระจายของภาษาอาหรับที่มาพร้อมกับศาสนาอิสลาม เมื่อพุทธศตวรรษที่ 12 มีผู้พูดในคูเวตซึ่งเป็นกลุ่มผู้ใช้แรงงานที่อพยพเข้าไป เป็นภาษาที่ใกล้ตาย ไม่มีการใช้เป็นภาษาเขียน จัดอยู่ในภาษากลุ่มเซมิติกใต้สาขาอาระเบียใต้ มีความสัมพันธ์กับภาษาอัมฮาราในเอธิโอเปีย มีผู้พูดในเยเมน 70,643 คน ในโอมาน 50,763 คนและในคูเวต 14,358 คน เมื่อ..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาเมห์รี
ภาษาเอ็บลาไอต์
ษาเอ็บลาไอต์ เป็นภาษากลุ่มเซมิติกตะวันตกที่ตายแล้ว เคยใช้พูดเมื่อ 2,457 ปีก่อนพุทธศักราช ในเมืองเอ็บลา (ซีเรียปัจจุบัน) จัดเป็นภาษากลุ่มเซมิติกที่เก่าที่สุดที่มีภาษาเขียน ใกล้เคียงกับภาษาอัคคาเดีย แผ่นจารึกจำนวนมากเขียนด้วยอักษรรูปลิ่มถูกค้นพบในเมืองเอ็บลาเมื่อ..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาเอ็บลาไอต์
ภาษาเฮอร์เตวิน
ษาเฮอร์เตวิน เป็นภาษาอราเมอิกใหม่สำเนียงตะวันออกใช้พูดในหลายหมู่บ้านในจังหวัดซิอิรห์ทางตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี ผู้พูดภาษานี้ส่วนใหญ่อพยพไปทางตะวันตก เหลือผู้พูดในตุรกีไม่มากนัก ผู้พูดภาษานี้เป็นชาวคริสต์นิกายคาทอลิกคัลเดีย บ้านเดิมของพวกเขาอยู่ในหมู่บ้านในเฮอร์เตวิน ใกล้เมืองเปอร์วารี ในจังหวัดซิอิรห์ซึ่งถือว่าอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือสุดของบริเวณที่มีผู้พูดภาษาอราเมอิกใหม่สำเนียงตะวันออก ก่อนจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ภาษาเฮอร์เตวินเป็นสำเนียงที่พัฒนาขึ้นต่างจากภาษาใกล้เคียงอื่นๆ โดยมีลักษณะร่วมกับภาษาตูโรโย ภาษาเฮอร์เตวินถูกจัดเป็นภาษาหนึ่งต่างหากโดย Otto Jastrow เมื่อ..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาเฮอร์เตวิน
ภาษาเซนายา
ษาเซนายา เป็นภาษาอราเมอิกตะวันออกหรือภาษาซีเรียคสมัยใหม่ เป็นภาษาของชาวอัสซีเรียที่มีต้นกำเนิดในซานันดัซ ในเคอร์ดิชสถานของอิหร่าน ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิกคัลเดี.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาเซนายา
มุสลิม
มุสลิม ผู้นับถือศาสนาอิสลาม หากเป็นบุรุษจะเรียกว่า มุสลิม หรือเป็นสตรีจะเรียกว่า มุสลิมะฮ์ หรือเรียกโดยรวมว่า อิสลามิกชน คำว่า "มุสลิม" เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ مسلم แปลว่า ผู้ศิโรราบ ผู้ภักดี มนุษย์ทุกคนสามารถเป็นมุสลิมได้โดยการปฏิญาณตน มุสลิมนั้นไม่จำกัดเผ่าพันธุ์ อายุ เพศ และวรรณะ ผู้ที่เป็นมุสลิมจะต้องปฏิบัติตามศาสนวินัยต่าง ๆ ของอิสลาม (ทั้งวาญิบ และฮะรอม) ผู้ที่เป็นมุสลิมต้องปฏิบัติตามหลักศาสนกิจ 5 ประการดังนี้ คือ การกล่าวคำปฏิญานตนเข้ารับอิสลาม, การละหมาด 5 เวลาในแต่ละวัน, การถือศีลอดในเดือนรอมดอน, การบริจาคทาน (ซะกาต), และการทำฮัจญ์ ผู้ที่เป็นมุสลิมมีหลักความเชื่อหลัก 6 ประการ นั่นคือ เชื่อในพระเจ้าองค์เดียว (อัลลอฮ์), เชื่อในบรรดามลาอีกะฮ์, เชื่อในคัมภีร์ที่ถูกประทานมาจากพระเจ้า, เชื่อในบรรดาศาสนทูตต่างๆ, เชื่อในวันสิ้นโลก (วันกียามะฮ์), และเชื่อในกฎแห่งความดีความชั่ว (กอดอและกอดัร).
ระบบการเขียน
ระบบการเขียนในปัจจุบัน ระบบการเขียน (writing system) คือลักษณะสัญลักษณ์หรือตัวอักษรที่ใช้ในการแสดงความหมายที่ใช้ในภาษาต่างๆ ระบบการเขียนแตกต่างจากระบบสัญลักษณ์ทั่วไปคือ บุคคลที่ใช้ระบบเดียวกันสามารถอ่านและเข้าใจภาษานั้นได้ตรงกันโดยไม่จำเป็น ต้องมีความรู้เฉพาะทางสำหรับดึงความหมายของสัญลักษณ์นั้น ต่างกับสัญลักษณ์ใน ภาพวาด แผนที่ ป้าย คณิตศาสตร์และสัญลักษณ์ต่างๆ หมวดหมู่:การเขียน หมวดหมู่:การเรียงพิมพ์.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและระบบการเขียน
ศาสนาอิสลาม
นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและศาสนาอิสลาม
ศาสนาคริสต์
นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและศาสนาคริสต์
สมัยกลาง
แบบจำลองของหมวกหุ้มเกราะซึ่งถูกพบที่ซัททันฮู ในหลุมศพของผู้นำชาวแองโกล-แซกซัน สันนิษฐานว่าเป็นกษัตริย์ราวปี ค.ศ.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและสมัยกลาง
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
หรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (United Arab Emirates; الإمارات العربيّة المتّحدة) เป็นประเทศหนึ่งในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ริมอ่าวเปอร์เซีย ประกอบด้วยรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirates) 7 รัฐ ได้แก่ อาบูดาบี อัจมาน ดูไบ ฟูไจราห์ ราสอัลไคมาห์ ชาร์จาห์ และอุมม์อัลไกไวน์ ในช่วงก่อนปี พ.ศ.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
อักษรฟินิเชีย
ัญชนะและตัวเลขของอักษรฟินิเชีย อักษรฟินิเชีย พัฒนามาจากอักษรคานาอันไนต์ยุคแรกเริ่ม ซึ่งปรากฏครั้งแรกราว 1,800-1,700 ปีก่อนคริสต์ศักราช จารึกเก่าสุดมาจากเมืองโบราณไบบลอส อายุราว 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีอักษร 22 ตัว ไม่มีเครื่องหมายสระ ชื่อตัวอักษรเหมือนที่ใช้เรียกอักษรฮีบรู.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและอักษรฟินิเชีย
อักษรยูการิติก
อักษรยูการิติก อักษรยูการิติก ตั้งชื่อตามนครรัฐยูการิตซึ่งใช้อักษรนี้ คาดว่าน่าจะประดิษฐ์ขึ้นเมื่อราว 857 ปี ก่อนพุทธศักราช นครรัฐนี้ปรากฏขึ้นเมื่อ 857 ปี ก่อนพุทธศักราช ถูกทำลายลงเมื่อราว 637 – 627 ปี ก่อนพุทธศักราช การค้นพบนครรัฐนี้ เริ่มเมื่อ..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและอักษรยูการิติก
อักษรรูปลิ่ม
อักษรยูการิติก อักษรรูปลิ่มที่เป็นระบบพยัญชนะ อักษรรูปลิ่ม (Cuneiform script) เป็นระบบการเขียนที่หลากหลาย เป็นได้ทั้งอักษรพยางค์ อักษรคำ และอักษรที่มีระบบสระ-พยัญชนะ คำว่า “cuneiform” ในภาษาอังกฤษมาจากภาษาละติน “cuneus” แปลว่าลิ่ม ดังนั้นอักษรรูปลิ่มจึงรวมอักษรที่มีรูปร่างคล้ายลิ่มทั้งหมด ภาษาหลายตระกูล ทั้งตระกูลเซมิติก ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน และอื่น ๆ ที่เขียนด้วย อักษรนี้ เช่น.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและอักษรรูปลิ่ม
อักษรละติน
อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและอักษรละติน
อักษรอาระเบียใต้
รึกของอักษรชนิดนี้ในอาระเบียใต้ ในช่วง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ถึง..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและอักษรอาระเบียใต้
อักษรอาหรับ
อักษรอาหรับ เป็นอักษรที่มีความสำคัญในศาสนาอิสลาม เพราะคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยอักษรนี้ อักษรนี้จึงมีใช้แพร่หลายในกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม แม้แต่ภาษานอกกลุ่มเซมิติก เช่น ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู และภาษามลายูปัตตานี ตัวอักษรมีหลายแบบแต่รูปร่างของอักษรเหมือนกัน.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและอักษรอาหรับ
อักษรคานาอันไนต์
อักษรคานาอันไนต์ หรืออักษรไซนาย จัดเป็นอักษรไร้สระชนิดแรก จุดกำเนิดเริ่มเมื่อราว 1,157 ปีก่อนพุทธศักราช คาบสมุทรไซนายถูกอียิปต์ครอบครอง ชุมชนที่พูดภาษาตระกูลเซมิติกในบริเวณนั้น ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมอียิปต์ และพัฒนาอักษรไฮโรกลิฟฟิกมาใช้เขียนภาษาของตน จากการศึกษาในอียิปต์ปัจจุบัน พบจารึกเขียนด้วยอักษรไซนาย อายุราว 1,357 ปีก่อนพุทธศักราช ในอียิปต์ตอนบน และใกล้เคียงกับข้อความภาษาอียิปต์ที่ใช้โดยผู้พูดภาษาตระกูลเซมิติกในอียิปต์ อักษรไฮโรกลิฟฟิกของอียิปต์มีสัญลักษณ์แทนเสียง ใช้คู่กับรูปอักษร ชาวไซนายสุ่มเลือกอักษรไฮโรกลิฟฟิกมาเป็นเครื่องหมายแทนเสียงของพยัญชนะตัวแรกของคำที่รูปอักษรอ้างถึง เช่น คำว่า วัวตัวผู้ /’aleph/ เป็นสัญลักษณ์แทนเสียง /อ/ จากนั้นอักษรนี้ได้แพร่หลายไปสู่ชาวคานาอัน เกิดเป็นอักษรคานาอันไนต์ และพัฒนาไปเป็นอักษรฟินิเชียอีกต่อหนึ่ง.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและอักษรคานาอันไนต์
อักษรซีรีแอก
หนังสือเขียนด้วยอักษรซีรีแอก อักษรซีรีแอก (Syriac script) เป็นอักษรที่ใช้ในวรรณคดีทางศาสนาของชาวคริสต์ในซีเรีย ราว..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและอักษรซีรีแอก
อักษรแอราเมอิก
อักษรแอราเมอิก (Aramaic alphabet) พัฒนาขึ้นในช่วง 1,000 - 900 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยเข้ามาแทนที่อักษรรูปลิ่มของอัสซีเรียซึ่งเป็นระบบการเขียนหลักของจักรวรรดิอัสซีเรีย อักษรนี้เป็นต้นกำแนิดของอักษรตระกูลเซมิติกอื่น ๆ และอาจเป็นต้นกำเนิดของอักษรขโรษฐี ที่ใช้ในแถบเอเชียกลางแถบแคว้นคันธาระและพื้นที่ใกล้เคียง ในช่วง 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช อักษรแอราเมอิกยุคแรกเริ่มถูกแทนที่ด้วยอักษรฮีบรูทรงเหลี่ยม ที่รู้จักต่อมาในชื่ออักษรแอราเมอิก.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและอักษรแอราเมอิก
อักษรเอธิโอเปีย
อักษรเอธิโอเปีย อักษรเอธิโอเปีย หรือ อักษรกีเอส (Ge'ez) พัฒนามาจากอักษรซาบาเอียน จารึกอักษรนี้ พบครั้งแรกเมื่อ..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและอักษรเอธิโอเปีย
อัสซีเรีย
อัสซีเรีย หรือ จักรวรรดิอัสซีเรีย (Assyria หรือ Assyrian Empire) เป็นอาณาจักรที่มีศูนย์กลางอยู่ที่แม่น้ำไทกริสในเมโสโปเตเมีย (อิรัก) ที่มามีอำนาจปกครองจักรวรรดิเป็นช่วงๆ หลายครั้งในประวัติศาสตร์ “อัสซีเรีย” เป็นชื่อที่ตั้งตามชื่อเมืองหลวงเดิม “อัสเซอร์” (Assur) (Aššur; أشور; אַשּׁוּר) นอกจากนั้นคำว่า “อัสซีเรีย” ก็ยังหมายถึงภูมิภาคทางภูมิศาสตร์หรือดินแดนที่เป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิด้วย ระหว่างสมัยอัสซีเรียเก่าระหว่างศตวรรษที่ 20 ถึง 15 ก่อนคริสต์ศักราชอัสเซอร์มีอำนาจในบริเวณส่วนใหญ่ของเมโสโปเตเมียเหนือ ในยุคกลางของอัสซีเรียระหว่างศตวรรษที่ 15 ถึง 10 ก่อนคริสต์ศักราชอำนาจของอัสซีเรียก็เสื่อมโทรมลง แต่ต่อมาก็สามารถกู้ดินแดนที่เสียไปคืนได้ในชัยชนะที่ได้รับหลายครั้ง เมื่อมาถึงสมัยจักรวรรดิอัสซีเรียในยุคเหล็กตอนต้นระหว่างปี 911 ถึง 612 ก่อนคริสต์ศักราชอัสซีเรียก็ขยายอำนาจไกลออกไป และภายใต้การปกครองของอัสเชอร์บานิปาล (Ashurbanipal) (ปกครอง 668 – 627 ก่อนคริสต์ศักราช) อัสซีเรียก็ปกครอง Fertile Crescent ทั้งหมด รวมทั้งอียิปต์จนกระทั่งมาพ่ายแพ้เมื่อจักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ และเปอร์เชียขยายอำนาจ และในที่สุดก็มาล่มสลายเมื่อราชวงศ์ชาลเดียของจักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ปล้นทำลายเมืองนิเนเวห์ในปี 612 ก่อนคริสต์ศักร.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและอัสซีเรีย
อ่าวเปอร์เซีย
แผนที่อ่าวเปอร์เซีย อ่าวเปอร์เซีย (Persian Gulf; خلیج فارس; الخليج العربي) เป็นอ่าวในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ เป็นส่วนต่อจากอ่าวโอมาน อยู่ระหว่างคาบสมุทรอาหรับกับประเทศอิหร่าน อ่าวเปอร์เซียเป็นแหล่งน้ำมันดิบแบบเดี่ยวที่ใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นที่ตั้งของแท่นขุดเจาะน้ำมันอัลซะฟะนียะ (Al-Safaniya) ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอยตัวอยู่กลางอ่าวเปอร์เซีย ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรน้ำมันและแก๊สธรรมชาติเหล่านี้ส่งผลให้ประเทศรอบอ่าวเปอร์เซียเป็นประเทศอุตสาหกรรมน้ำมันสำคัญ ซึ่งมีชื่อเรียกรวม ๆ ว่า รัฐรอบอ่าวเปอร์เซีย ได้แก่ ประเทศอิหร่าน บาห์เรน, คูเวต, โอมาน, กาตาร์, ซาอุดีอาระเบีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ส่วนอิรักนั้นมีพื้นที่ติดกับอ่าวเพียงเล็กน้อยเท่านั้น นอกจากนี้อ่าวเปอร์เซียยังเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติชนิดอื่น ๆ มีแนวปะการัง เหมาะสำหรับการทำประมงและหอยมุก เป็นต้น อ่าวเปอร์เซียเป็นที่สนใจของประชาคมโลกเมื่อเกิดสงครามอิรัก-อิหร่านในช่วง..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและอ่าวเปอร์เซีย
ทวีปแอฟริกา
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและทวีปแอฟริกา
ทวีปเอเชีย
แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและทวีปเอเชีย
ทะเล
ทะเลโบฟอร์ต ทะเล เป็นแหล่งน้ำเค็มขนาดใหญ่ที่ล้อมรอบด้วยพื้นดินทั้งหมดหรือบางส่วน.
ทะเลทรายสะฮารา
ทะเลทรายสะฮารา หรือ ซาฮารา หรือ สาฮารา (Sahara) เป็นทะเลทรายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นบริเวณแห้งแล้งใหญ่สุดเป็นอันดับสามรองจากทวีปแอนตาร์กติกาและอาร์กติก มีเนื้อที่มากกว่า 9,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,500,000 ตารางไมล์ คำว่า สะฮารา ในภาษาอาหรับ (صحراء) หมายถึง ทะเลทราย อาณาเขตของทะเลทรายสะฮารา ด้านทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศเหนือคือเทือกเขาแอตลาสและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันออกจรดทะเลแดงและประเทศอียิปต์ ทิศใต้จรดประเทศซูดานและหุบเขาของแม่น้ำไนเจอร์ วิดีโอที่ถ่ายในมุมมองจากอวกาศ ของ ทะเลทรายสะฮารา และ แถวตะวันออกกลาง โดยสมาชิกนักบินอวกาศในการสำรวจที่ 29.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและทะเลทรายสะฮารา
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
วเทียมของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Sea) เป็นทะเลระหว่างทวีป คั่นกลางทวีปยุโรปที่อยู่ทางเหนือ ทวีปแอฟริกาที่อยู่ทางใต้ และทวีปเอเชียที่อยู่ทางตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร คำในภาษาอังกฤษ Mediterranean มาจากภาษาละติน mediterraneus หมายถึง 'ภายในแผ่นดิน' (medius 'กลาง' terra 'แผ่นดิน, โลก') ในภาษากรีกใช้ว่า "mesogeios".
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ขนมปัง
นมปัง ขนมปัง หรือ ปัง เป็นอาหารที่ทำจากแป้งสาลีที่ผสมกับน้ำและยีสต์ หรือผงฟู นอกจากนี้ยังมีการใช้ส่วนผสมอื่น ๆ เพื่อแต่งสี รสชาติและกลิ่น แตกต่างกันไปตามแต่ละประเภทของขนมปัง และ แต่ละประเทศที่ทำ โดยนำส่วนผสมมาตีให้เข้ากันและนำไปอบ ขนมปังมีหลายประเภท เช่น ขนมปังฝรั่งเศส ขนมปังไรย์ หรือแม้กระทั่งเพรตเซิล ของขึ้นชื่อประเทศเยอรมนี เป็นต้น ชาวสวิสที่อาศัยอยู่ตามทะเลสาบในยุคหินเป็นผู้ริเริ่มนำเมล็ดข้าวสาลีมาบดโดยใช้ครกหยาบ ๆ ตำ แล้วนำไปผสมน้ำ แล้วนำไปเทลงบนหินร้อนๆเพื่อให้สุก ผลที่ได้คือขนมปังที่ขึ้นฟูโดยไม่ได้ตั้งใจ ซึ่งค้นพบมากว่า 3,000 ปี ก่อนคริสตกาล ประวัติที่ยอมรับสืบเนื่องกันมาก็คือพวกทาสในสมัยราชวงศ์อียีปต์ ได้ผสมก้อนแป้งที่ลืมทิ้งไว้ลงไปในแป้งที่ผสมเสร็จใหม่ๆ ผลที่ได้คือแป้งที่เบาและรสชาติดี.
คัมภีร์ไบเบิล
ัมภีร์ไบเบิลกูเทนแบร์ก คัมภีร์ไบเบิลฉบับพิมพ์ครั้งแรก คัมภีร์ไบเบิลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 99 (Bible; ביבליה; ܟܬܒܐ ܩܕܝܫܐ; Αγία Γραφή) (มาจากภาษากรีกโบราณว่า Βίβλος บิบลิออน แปลว่า หนังสือ) ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่า พระคริสตธรรมคัมภีร์ (Holy Bible) เรียกโดยย่อว่า พระคัมภีร์ เป็นหนังสือที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับพระยาห์เวห์ มนุษย์ ความบาป และแผนการของพระเจ้าในการช่วยมนุษย์ให้รอดพ้นจากความพินาศอันเนื่องจากความบาปสู่ชีวิตนิรันดร์ เป็นหนังสือที่บันทึกหลักธรรมคำสอนของศาสนาคริสต์ ซึ่งในบางเล่มมีพื้นฐานมาจากหลักคำสอนของศาสนายูดาห์ของชาวยิว ชาวคริสต์เรียกคัมภีร์ไบเบิลในชื่ออื่น ๆ อีกหลายชื่อเช่น พระวจนะของพระเจ้า (Word of God) หนังสือดี (Good Book) และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ (Holy Scripture) คริสตชนทุกคนเชื่อว่าพระคัมภีร์ทุกบททุกข้อนั้นมนุษย์เขียนขึ้นโดยการดลใจจากพระเจ้า ประกอบด้วยหนังสือจำนวน 66 หรือ 73 หรือ 78 เล่ม (แล้วแต่นิกาย) ประกอบด้วยภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ พันธสัญญาเดิมถูกเขียนขึ้นก่อนที่พระเยซูคริสต์ประสูติ ทั้งหมดเขียนเป็นภาษาฮีบรู ยกเว้นส่วนที่เป็นคัมภีร์อธิกธรรม (ยอมรับเฉพาะชาวคาทอลิก) ถูกเขียนด้วยภาษากรีกและภาษาอียิปต์ ส่วนพันธสัญญาใหม่ถูกเขียนขึ้นหลังจากพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว โดยบันทึกถึงเรื่องราวของพระเยซูตลอดพระชนม์ชีพ รวมทั้งคำสอน และการประกาศข่าวดีแห่งความรอด การยอมรับการทรมาน และการไถ่บาปของมนุษย์โดยพระเยซู การกลับคืนชีพอย่างรุ่งโรจน์ การส่งพระวิญญาณบริสุทธิ์มายังอัครทูต ประวัติศาสตร์ของคริสตจักรในยุคแรกเริ่ม ภายหลังการกลับคืนพระชนม์ชีพของพระเยซูแล้ว การเบียดเบียนคริสตจักรในรูปแบบต่าง ๆ พระคัมภีร์เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนังสือที่ขายดีที่สุดของเวลาทั้งหมดที่มียอดขายต่อปีประมาณ 100 ล้านเล่มและได้รับอิทธิพลสำคัญในวรรณคดีและประวัติศาสตร.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและคัมภีร์ไบเบิล
คาบสมุทรอาหรับ
ทางอากาศของคาบสมุทรอาหรับ คาบสมุทรอาหรับ (Arabian Peninsula; شبه الجزيرة العربية หรือ جزيرة العرب) เป็นคาบสมุทรในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และอยู่ระหว่างทวีปเอเชียกับทวีปแอฟริกา พื้นที่ส่วนมากเป็นทะเลทราย พื้นที่ส่วนนี้เป็นดินแดนสำคัญของตะวันออกกลาง เนื่องจากเต็มไปด้วยทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ชายฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรอาหรับติดกับทะเลแดง ฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ติดทะเลอาหรับ (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดีย) ทางตะวันออกเฉียงเหนือติดอ่าวโอมานและอ่าวเปอร์เซี.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและคาบสมุทรอาหรับ
คาบสมุทรไอบีเรีย
มุทรไอบีเรีย คาบสมุทรไอบีเรีย (Iberian Peninsula; Península Ibérica; Península Ibérica; Península Ibèrica) ตั้งอยู่บริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 582,860 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นคาบสมุทรที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของทวีปยุโรปรองจากคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ทางทิศเหนือติดกับเทือกเขาพิเรนีสและประเทศฝรั่งเศส ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้สุดติดกับช่องแคบยิบรอลตาร์ คาบสมุทรไอบีเรียมีความยาวประมาณ 900 กิโลเมตร กว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 900 กิโลเมตร รูปร่างคล้ายสีเหลี่ยมพื้นผ้า พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและเทือกเขา พื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้บริเวณเทือกเขาเซียร์ราเนบาดา เป็นบริเวณแห้งแล้งมากแห่งหนึ่งในคาบสมุทร เมืองที่สำคัญที่อยู่ในคาบสมุทรไอบีเรีย ได้แก่ มาดริด บาร์เซโลนา บาเลนเซีย เซบียา บิลบาโอ ลิสบอน โปร์ตู และยิบรอลตาร.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและคาบสมุทรไอบีเรีย
ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก
แสดงการแพร่กระจายของภาษาตระกูลแอโฟรเอชีแอติกด้วยสีเหลือง ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afroasiatic languages) เป็นตระกูลภาษาที่มีสมาชิก 375 ภาษาและมีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคน แพร่กระจายในตะวันออกกลาง แอฟริกาเหนือ แอฟริกาตะวันตก แอฟริกาตะวันออก แอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ (รวมผู้พูดภาษาอาหรับ 200 ล้านคน) ชื่อของภาษาตระกูลนี้ตั้งโดย Joseph Greenberg เพื่อใช้แทนชื่อเดิม ตระกูลภาษาฮามิโต-เซมิติก กลุ่มย่อยของภาษาตระกูลนี้ได้แก.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก
ตะวันออกกลาง
แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง คือ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านใต้และตะวันออก ซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ต่อเนื่องจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของแอฟริกา-ยูเรเชีย หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปก็คือทวีปเอเชีย และบางส่วนของแอฟริกา สามวัฒนธรรมหลักของภูมิภาคเอเชียตะวันออกกลางได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย วัฒนธรรมอาหรับ และวัฒนธรรมตุรกี อิทธิพลของวัฒนธรรมทั้งสามนี้ ได้ก่อกำเนิดเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกันสามกลุ่ม คือ เปอร์เซีย เตอร์กิกและอาหรั.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและตะวันออกกลาง
ประเทศชาด
(Tchad; تشاد, Tshād) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตทางเหนือจดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกจดประเทศซูดาน ทางใต้จดสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศแคเมอรูนและประเทศไนจีเรีย และทางตะวันตกจดประเทศไนเจอร์ เนื่องจากมีระยะไกลจากทะเลและมีภูมิอากาศเป็นแบบทะเลทรายเป็นส่วนใหญ่ ประเทศจึงได้ชื่อว่าเป็น "หัวใจตายของแอฟริกา" (dead heart of Africa) ทางเหนือมีทิวเขาทิเบสตี (Tibesti Mountains) ซึ่งเป็นเทือกเขาที่ใหญ่ที่สุดในทะเลทรายสะฮารา เดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐเฟรนช์อิเควทอเรียลแอฟริกา (Federation of French Equatorial Africa) มีชื่อตามทะเลสาบชาด (Lake Chad).
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและประเทศชาด
ประเทศมอริเตเนีย
รณรัฐอิสลามมอริเตเนีย (Islamic Republic of Mauritania; الجمهورية الإسلامية الموريتانية; République Islamique de Mauritanie) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า มอริเตเนีย (Mauritania; موريتانيا; Mauritanie) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ มีชายฝั่งบนมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศเซเนกัล ทางตะวันออกและทางตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศมาลี ทางตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศแอลจีเรีย และมีพรมแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับพื้นที่ยึดครองโดยประเทศโมร็อกโก คือเวสเทิร์นสะฮารา เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศคือ นูแอกชอต (Nouakchott) ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ประเทศมอริเตเนียตั้งชื่อตามราชอาณาจักรมอเรเตเนีย (Mauretania) ของชาวเบอร์เบอร์ (Berber) ยุคเก.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและประเทศมอริเตเนีย
ประเทศอิรัก
ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและประเทศอิรัก
ประเทศอิหร่าน
อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและประเทศอิหร่าน
ประเทศตุรกี
ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและประเทศตุรกี
ประเทศซูดาน
ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและประเทศซูดาน
ประเทศซีเรีย
ประเทศซีเรีย (Syria; سورية ซูริยา) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย (Syrian Arab Republic; الجمهورية العربية السورية) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีพรมแดนทิศตะวันตกจดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทิศตะวันออกจดประเทศอิรัก ทิศใต้จดประเทศจอร์แดน และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศอิสราเอล กรุงดามัสกัส เมืองหลวง เป็นนครที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ประเทศซีเรียเป็นที่ราบอุดมสมบูรณ์ ภูเขาสูงและทะเลทราย มีประชากรกลุ่มชาติพันธุ์และศาสนาหลากหลาย ส่วนมากเป็นชาวอาหรับ ซึ่งรวมอลาวียะห์ ดรูซ มุสลิมซุนนีย์และคริสต์ศาสนิกชน กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ได้แก่ ชาวอาร์มีเนีย อัสซีเรีย เคิร์ดและเติร์ก ชาวอาหรับซุนนีย์เป็นกลุ่มประชากรใหญ่ที่สุดในประเทศซีเรีย ในภาษาอังกฤษ เดิมชื่อ "ซีเรีย" สมนัยกับเลแวนต์ (ภาษาอาหรับว่า al-Sham) ขณะที่รัฐสมัยใหม่ครอบคลุมที่ตั้งของราชอาณาจักรและจักรวรรดิโบราณหลายแห่ง รวมถึงอารยธรรมเอบลา (Ebla) ในสหัสวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล ในสมัยอิสลาม ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ และเมืองเอกในรัฐสุลต่านมัมลุกในอียิปต์ รัฐซีเรียสมัยใหม่สถาปนาขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยเป็นอาณาเขตในอาณัติของฝรั่งเศส และเป็นรัฐอาหรับใหญ่ที่สุดที่กำเนิดขึ้นจากเลแวนต์อาหรับที่เดิมออตโตมันปกครอง ประเทศซีเรียได้รับเอกราชในเดือนเมษายน 2489 เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา สมัยหลังได้รับเอกราชมีความวุ่นวาย และกลุ่มรัฐประหารและความพยายามรัฐประหารสะเทือนประเทศในสมัยปี 2492–2514 ระหว่างปี 2501 ถึง 2504 ประเทศซีเรียเข้าร่วมสหภาพช่วงสั้น ๆ กับอียิปต์ ซึ่งสิ้นสุดลงด้วยรัฐประหาร ประเทศซีเรียอยู่ภายใต้กฎหมายฉุกเฉินระหว่างปี 2506 ถึง 2554 ระงับการคุ้มครองพลเมืองส่วนใหญ่ของรัฐธรรมนูญอย่างชะงัด และระบบรัฐบาลถูกพิจารณาว่าไม่เป็นประชาธิปไตย บัชชาร อัลอะซัดเป็นประธานาธิบดีตั้งแต่ปี 2543 สืบทอดจากฮาเฟซ อัลอะซัด บิดา ซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2513 ถึง 2543 ประเทศซีเรียเป็นสมาชิกสหประชาชาติและขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ปัจจุบันถูกระงับสมาชิกภาพจากสันนิบาตอาหรับและองค์การความร่วมมืออิสลาม และระงับตนเองจากสหภาพเพื่อเมดิเตอร์เรเนียน นับแต่เดือนมีนาคม 2554 ประเทศซีเรียเกิดสงครามกลางเมืองในห้วงการก่อการกำเริบ (ถือว่าเป็นผลขยายของอาหรับสปริง) ต่ออะซัดและรัฐบาลพรรคบะอัธ กลุ่มต่อต้านตั้งรัฐบาลทางเลือกขึ้น คือ แนวร่วมแห่งชาติซีเรีย (Syrian National Coalition) ในเดือนมีนาคม 2555 ต่อมา ผู้แทนรัฐบาลนี้ได้รับเชิญให้แทนที่ประเทศซีเรียในสันนิบาตอาหรั.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและประเทศซีเรีย
ประเทศโอมาน
อมาน (Oman; عُمان) หรือชื่อทางการว่า รัฐสุลต่านโอมาน (Sultanate of Oman; سلطنة عُمان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ บนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทางตะวันตกติดกับซาอุดีอาระเบีย และทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเยเมน มีชายฝั่งบนทะเลอาหรับทางใต้และตะวันออก และอ่าวโอมานทางตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ก็ยังมีดินแดนส่วนแยกอยู่ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์อีกด้ว.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและประเทศโอมาน
ประเทศไซปรัส
ซปรัส (Cyprus; Κύπρος คีโปรส; Kıbrıs) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐไซปรัส (Republic of Cyprus; Κυπριακή Δημοκρατία; Kıbrıs Cumhuriyeti) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันออก อยู่ทางใต้ของประเทศตุรกี 44 ไมล์ อยู่ทางตะวันตกของชายฝั่งประเทศซีเรียประมาณ 64 ไมล์ และห่างจากเกาะโรดส์ และเกาะคาร์ปาทอส ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรีซ 240 ไมล์ ไซปรัสเป็นจุดหมายหนึ่งในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่นักท่องเที่ยวนิยมไปมากที่สุด โดยมีจำนวนนักท่องเที่ยวประมาณ 2.4 ล้านคนต่อปี ไซปรัสได้รับเอกราชจากการเป็นอาณานิคมจากสหราชอาณาจักร เมื่อปี 1960 และเป็นประเทศสมาชิกในเครือจักรภพในปี 1961.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและประเทศไซปรัส
ประเทศเยเมน
มน (Yemen; اليَمَن) หรือ สาธารณรัฐเยเมน (Republic of Yemen; الجمهورية اليمنية) ประกอบด้วยอดีตเยเมนเหนือและเยเมนใต้ เป็นประเทศในคาบสมุทรอาหรับในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และเป็นส่วนหนึ่งของตะวันออกกลาง มีชายฝั่งจรดทะเลอาหรับและอ่าวเอเดนทางทิศใต้ จรดทะเลแดงทางทิศตะวันตก มีพรมแดนทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับโอมาน ส่วนพรมแดนด้านอื่น ๆ ติดกับซาอุดีอาระเบีย เยเมนมีอาณาเขตรวมถึงเกาะโซโกตราซึ่งอยู่ห่างไปทางใต้ประมาณ 350 กิโลเมตร นอกชายฝั่งแอฟริกาตะวันออก หลังการสู้รบในกรุงซานาเมื่อเดือนกันยายน 2014 กลุ่มฮูษี (Houthis) ก็เข้ายึดเมืองหลวงได้สำเร็จ ประธานาธิบดีฮาดีถูกปลด ต่อมากลุ่มฮูษีได้แต่งตั้งมุฮัมมัด อะลี อัลฮูษี ขึ้นเป็นผู้นำคนใหม่ ในขณะที่ประธานาธิบดีฮาดีหลบหนีไปยังเอเดน และประกาศว่าตนยังคงเป็นประธานาธิบดีแห่งเยเมน พร้อมทั้งประกาศให้เอเดนเป็นเมืองหลวงใหม่ของประเทศ กลุ่มฮูษีและกองกำลังสนับสนุนอดีตประธานาธิบดีศอเลียะห์ตอบโต้ด้วยปฏิบัติการบุกเอเดน รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมของรัฐบาลฮาดีถูกจับตัวได้ในวันที่ 25 มีนาคม ในวันเดียวกัน ชาติอาหรับนำโดยซาอุดีอาระเบียเริ่มปฏิบัติการต่อต้านกลุ่มฮูษีทางอาก.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและประเทศเยเมน
ประเทศเอธิโอเปีย
อธิโอเปีย (Ethiopia; อามฮารา) หรือชื่อทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปีย (Federal Democratic Republic of Ethiopia; อามฮารา) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ในส่วนแหลมของทวีปแอฟริกา (Horn of Africa) เป็นหนึ่งในชาติที่มีประวัติศาสตร์อันต่อเนื่องยาวนานที่สุดบนทวีปนี้ ในฐานะชาติอิสระ เอธิโอเปียเป็นประเทศเดียวในแอฟริกาที่ยังคงเอกราชระหว่างยุคล่าอาณานิคมในแอฟริกา (Scramble for Africa) และยังคงเอกราชไว้จนถึง พ.ศ.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและประเทศเอธิโอเปีย
ปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)
ปาเลสไตน์ (فلسطين ฟาลัสติน) (Palestine) เป็นชื่อสามัญของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ในเอเชียตะวันตกระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับแม่น้ำจอร์แดน และ ดินแดนใกล้เคียงต่าง ๆ Carl S.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)
แม่น้ำไนล์
แผนที่แสดงเส้นทางการไหลของแม่น้ำไนล์ แม่น้ำไนล์ ในบริเวณอียิปต์ แม่น้ำไนล์ และ กรุงไคโรด้านหลัง แม่น้ำไนล์ (النيل อันนีล; Nile) เป็นแม่น้ำใน ทวีปแอฟริกา เป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดในโลก โดยถูกค้นพบแหล่งต้นน้ำใหม่ที่ทำให้มีความยาวกว่าเดิมเมื่อไม่นานมานี้ โดยแม่น้ำไนล์มีความยาวทั้งสิ้น 6,695 กิโลเมตร^~^.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและแม่น้ำไนล์
แอฟริกาเหนือ
นแดนแอฟริกาเหนือ แอฟริกาเหนือ หรือ แอฟริกาตอนเหนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกาประกอบไปด้วย 7 ประเทศคือ.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและแอฟริกาเหนือ
โทราห์
ทราห์ (Torah; תּוֹרָה โทราห์; التوراة เตารอต; Τορά) เป็นชื่อของชุดคัมภีร์ชุดแรกในคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งประกอบด้วยหนังสือ 5 เล่มแรกในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ หมายถึง บทบัญญัติ ซึ่งในคัมภีร์ไบเบิลภาษาไทยแปลว่า ธรรมบัญญัติ หรือ พระบัญญัติ ภายหลังได้มีการแปลเป็นภาษากรีกจึงมีชื่อเรียกใหม่ว่า เบญจบรรณ (Pentateuch) หมายถึง ที่บรรจุห้าอัน คือหนังสือ 5 เล่มแรกของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม ได้แก.
โนอาห์
"การถวายเครื่องบูชาของโนอาห์" โดยดาเนียล แมคลิส โนอาห์ (Noah; נח) เป็นบุตรชายของลาเมค เกิดในปีที่ 1,056 หลังจากพระเจ้าสร้างอาดัม บิดาของเขากล่าวว่า “คนนี้จะชูใจเราในการงานของเรา การตรากตรำของมือเรา และจากแผ่นดินซึ่งพระยาห์เวห์ทรงแช่งสาปไว้” เรื่องราวของโนอาห์บันทึกไว้ในหนังสือปฐมกาล บทที่ 5 ถึงบทที่ 10 โนอาห์เป็นคนชอบธรรม ดีพร้อมในสมัยของเขา โนอาห์เชื่อฟังปฏิบัติตามพระเจ้า และเป็นที่โปรดปรานในสายพระเนตรของพระยาห์เวห์ ท่ามกลางยุคสมัยที่พระยาห์เวห์ทรงเห็นว่าความชั่วร้ายของมนุษย์มีมากบนแผ่นดิน.
ไคโร
ร เมืองหลวงของประเทศอียิปต์ ไคโร (القاهرة; Cairo) เป็นเมืองหลวงของประเทศอียิปต์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไนล์ ไคโรมีประชากรประมาณ 15.2 ล้านคน ซึ่งเป็นเมืองที่ประชากรมากที่สุดในทวีปแอฟริกา และเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นแห่งหนึ่งในโลก ชื่อเมือง "ไคโร" ในภาษาอาหรับมีความหมายว่า "ชัยชนะ" โดยความเชื่อว่าเกิดจากที่มีการมองเห็นดาวอังคารในช่วงที่ก่อสร้างเมือง และดาวอังคารเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของการทำลายล้าง อย่างไรก็ตามในอีกความเชื่อหนึ่ง ชื่อไคโรมาจากที่เมืองไคโรเป็นเมืองที่รบชนะทุกกองทัพที่มาตีเมืองไคโร รวมไปถึงกองทัพมองโกล กองทัพครูเสด หรือแม้แต่กองทัพออตโตมัน.
เมโสโปเตเมีย
แผนที่บริเวณเมโสโปเตเมีย เมโสโปเตเมีย (Mesopotamia; Μεσοποταμία, เมโซโปตามีอา) เป็นคำกรีกโบราณ ตามรูปศัพท์แปลว่า "ที่ระหว่างแม่น้ำ" (meso.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและเมโสโปเตเมีย
เอเชียกลาง
แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ เอเชียกลาง(อังกฤษ: Central Asia หรือ Middle Asia รัสเซีย: Центральная Азия) เป็นพื้นที่กว้างใหญ่ในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกทะเล มีคำนิยามที่ต่างกันออกไปสำหรับขอบเขตของดินแดนที่จัดอยู่ในภูมิภาคเป็นเอเชียกลาง และยังไม่มีคำนิยามใดที่เป็นที่ยอมรับโดยส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามลักษณะโดยทั่วไปของดินแดนในภูมิภาคนี้คือ มีความเกี่ยวข้องทางประวัติศาสตร์กับกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad) และ เส้นทางสายไหม ซึ่งทำให้ในอดีตนั้นดินแดนในภูมิภาคนี้เป็นเสมือนเส้นทางของ สินค้า คน รวมถึง แนวความคิด ระหว่างยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและเอเชียกลาง
เทลอาวีฟ
thumbtime.
ดู กลุ่มภาษาเซมิติกและเทลอาวีฟ
ดูเพิ่มเติม
กลุ่มภาษาแอราเมอิก
- กลุ่มภาษาเซมิติก
- ภาษาซีรีแอก
- ภาษาตาร์คุม
- ภาษาแอราเมอิก
- ภาษาแอราเมอิกของชาวยิว
ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก
- กลุ่มภาษาเซมิติก
- ตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก
ภาษาอาหรับ
- กลุ่มภาษาเซมิติก
- ตัจญ์วีด
- ภาษาอาหรับ
- โลกอาหรับ
ภาษาฮีบรู
- กลุ่มภาษาเซมิติก
- ภาษามัวไบต์
- ภาษายิวเยเมน
- ภาษาอัมโมไนต์
- ภาษาฮีบรู
- ภาษาฮีบรูมิซนะห์
- ภาษาฮีบรูมิซราฮี
- ภาษาฮีบรูเซฟาร์ดี
- สถาบันภาษาฮีบรู