เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กลุ่มภาษาเซมิติกและกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กลุ่มภาษาเซมิติกและกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง

กลุ่มภาษาเซมิติก vs. กลุ่มภาษาเซมิติกกลาง

หมายของอมาร์นา เขียนด้วย ภาษาอัคคาเดีย กลุ่มภาษาเซมิติก (Semitic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณแอฟริกาเหนือ ตะวันออกกลางและจะงอยของแอฟริกา เป็นสาขาย่อยในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดในทวีปเอเชีย กลุ่มภาษาเซมิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาอาหรับ (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือภาษาอัมฮารา (27 ล้านคน) ภาษาตึกรึญญา (6.9 ล้านคน) และภาษาฮีบรู (5 ล้านคน) กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรกๆ ที่มีระบบการเขียน ภาษาอัคคาเดียเริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอาหรับ อักษรแอราเมอิก อักษรซีรีแอก อักษรอาระเบียใต้ และอักษรเอธิโอปิก มีภาษามอลตาเท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วยอักษรโรมัน ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของโนอาห์ ในไบเบิล. กลุ่มภาษาเซมิติกกลาง เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติก ประกอบด้วยภาษาอาหรับและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (รวม ภาษาคานาอันไนต์ ภาษาฮีบรู ภาษาอราเมอิก และภาษายูการิติก)ในบางครั้ง ในกลุ่มนี้ ยังแบ่งเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลางใต้ (รวมภาษาอาหรับและภาษาฮีบรู) กับภาษาอราเมอิก การแบ่งแยกระหว่างภาษาอาหรับกับกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือคือการสร้างรูปพหูพจน์ ภาษาอาหรับสร้างโดยการแทรกสระ ส่วนกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือสร้างด้วยปัจจัย เช่น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลุ่มภาษาเซมิติกและกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง

กลุ่มภาษาเซมิติกและกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือภาษายูการิติกภาษาอาหรับภาษาฮีบรูภาษาแอราเมอิก

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ

กลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ (Northwest Semitic languages) เป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตก มีผู้พูดประมาณ 8 ล้านคนในปัจจุบัน แบ่งได้เป็น 3 สาขา คือ ภาษายูการิติก (ตายแล้ว) ภาษาคานาอันไนต์ (รวมภาษาฮีบรู) และภาษาอราเมอิก บางครั้งรวมกลุ่มภาษานี้เข้ากับภาษาอาหรับแล้วจัดเป็นกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง ภาษายูการิติกที่ตายแล้วเป็นหลักฐานรุ่นแรกสุดของกลุ่มภาษานี้ ภาษายูการิติกไม่มีเสียง /dˤ/ (ḍ) แต่แทนที่ด้วยเสียง /sˤ/ (ṣ) (ลักษณะเดียวกับที่ปรากฏในภาษาอัคคาเดีย) เสียงนี้กลายเป็นเสียง /ʕ/ ในภาษาอราเมอิก (ในภาษาอราเมอิกโบราณ เสียงนี้เขียนด้วยอักษรกอฟ) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าภาษายูการิติกไม่ได้เป็นภาษาต้นแบบของกลุ่มนี้ ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียงนี้พบได้ในคำว่า “โลก”: ภาษายูการิติก /ʔarsˤ/ (’arṣ), ภาษาฮีบรู /ʔɛrɛsˤ/ (’ereṣ) และภาษาอราเมอิก /ʔarʕaː/ (’ar‘ā’) ภาษายูการิติกต่างจากภาษาในกลุ่มเดียวกันตรงที่ว่ายังคงมีคำที่ขึ้นต้นด้วย /w/ ในขณะที่ภาษาที่เหลือแทนที่ด้วย /y/ แหล่งที่เป็นต้นกำเนิดของภาษานี้ได้แก่บริเวณที่ในปัจจุบันเป็นประเทศอิสราเอล ซีเรีย จอร์แดน เลบานอนและคาบสมุทรไซนาย การเลื่อนเสียงสระจาก /aː/ เป็น /oː/ เป็นการแยกภาษาคานาอันไนต์ออกจากภาษายูการิติก ตัวอย่างการเปลี่ยนเสียง ได้แก.

กลุ่มภาษาเซมิติกและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ · กลุ่มภาษาเซมิติกกลางและกลุ่มภาษาเซมิติกตะวันตกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายูการิติก

ษายูการิติก เป็นภาษาที่พบหลักฐานในจารึกที่พบในบริเวณนครรัฐยูการิต ที่ขุดค้นพบในประเทศซีเรีย เป็นภาษาที่มีความสัมพันธ์กับภาษาฮีบรู และมีความเกี่ยวข้องกับศาสนายูดายและศาสนาโบราณอื่นๆในบริเวณนั้น เป็นภาษากลุ่มเซมิติก เขียนด้วยอักษรรูปลิ่มที่ต่างจากอักษรรูปลิ่มอื่นเพราะใช้แทนเสียงพยัญชนะ โดยมีพยัญชนะ 22 ตัว พบจารึกอักษรนี้ในช่วง 857 – 657 ปีก่อนพุทธศักราช นครรัฐยูการิตถูกทำลายเมื่อราว 637 – 627 ปีก่อนพุทธศักร.

กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษายูการิติก · กลุ่มภาษาเซมิติกกลางและภาษายูการิติก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาอาหรับ · กลุ่มภาษาเซมิติกกลางและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮีบรู

ษาฮีบรู (Modern Hebrew, อิฟริท) เป็นภาษาเซมิติก (Semitic) ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก (Afro–Asiatic) เป็นภาษาที่เก่าแก่ โดยมีอายุมาอย่างน้อยตั้งแต่ 3,500 ปีที่แล้ว ในอดีต เคยเป็นภาษาตาย เหมือนดั่งภาษาบาลี สันสกฤต และละติน โดยใช้เป็นภาษาที่ใช้เพียงแต่ในวงจำกัด หนังสือต่างทางศาสนา และสถานที่ทางศาสนาเท่านั้น แต่ปัจจุบัน มีการกลับมาใช้เป็นภาษาพูดใหม่ และเป็นภาษาที่ชาวอิสราเอลใช้สื่อสารกันในชีวิตประจำวัน โดยภายในในอิสราเอล มีผู้พูดมากกว่า 4,380,000 คน ซึ่งเป็นภาษาราชการคู่กับภาษาอาหรับ นอกอิสราเอล ภาษาฮีบรูยังมีผู้พูดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งโดยมากเป็นชุมชนชาวยิว ทะนัค (Tanakh) หรือพระคัมภีร์เก่า (The Old Testament) ของศาสนายิว เขียนไว้ด้วยภาษาฮีบรู ซึ่งถือว่าเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ (לשון הקודש Leshon ha-Kodesh: เลโชน ฮา-โกเดช) ของชาวยิวตั้งแต่สมัยโบราณ นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ระบุว่าหลัง 57 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นยุคที่จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่ทำลายกรุงเยรูซาเลมและอพยพชาวยิวไปยังบาบิโลนและพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียปลดปล่อยชาวยิวให้เป็นไท ภาษาฮีบรูในแบบที่เขียนในพระคัมภีร์เก่า ถูกแทนที่ด้วยภาษาฮีบรูใหม่และภาษาแอราเมอิกที่ใช้ในท้องถิ่นนั้น หลังจากพุทธศตวรรษที่ 7 จักรวรรดิโรมันเข้ายึดครองกรุงเยรูซาเล็ม และอพยพชาวยิวออกไป ภาษาฮีบรูเริ่มใช้เป็นภาษาพูดน้อยลงแต่ยังคงเป็นภาษาทางศาสนาและภาษาในการเขียน หลังจากเยรูซาเล็มถูกชาวบาบิโลนทำลายครั้งแรก 586 ปีก่อนคริสตกาล ภาษาอย่างในพระคัมภีร์เก่าเริ่มถูกแทนที่ด้วยคำในลักษณะใหม่ หลังจากจำนวนประชากรของชาวยิวในบางส่วนของจูเดีย (Judea) ลดลง ภาษาฮีบรูเลิกใช้เป็นภาษาพูดราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 แต่ยังคงเป็นภาษาเขียนที่สำคัญต่อเนื่องมาตลอดหลายศตวรรษ นอกจากจะใช้ในศาสนาแล้ว งานเขียนสำหรับวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่น เขียนตำรา จดหมาย ปรัชญา การแพทย์ บทกวี บันทึกศาล ล้วนใช้ภาษาฮีบรู ซึ่งได้เข้ากับวงความรู้และคำเฉพาะใหม่ ๆ โดยคำยืมและคำประดิษฐ์ใหม่ ภาษาฮีบรูยังคงถูกรักษาไว้ในฐานะภาษาเขียนโดยชุมชนชาวยิวทั่วโลก จนกระทั่งมีการตั้งลัทธิไซออนนิสต์เพื่อฟื้นฟูชาติยิว สมาชิกไซออนนิสต์ส่งเสริมให้มีการแทนที่ภาษาพูดของชาวยิวในขณะนั้น เช่นภาษาอาหรับ ภาษาจูเดสโม (Judezmo, ภาษาลาดิโน Ladino ก็เรียก) ภาษายิดดิช ภาษารัสเซีย และภาษาอื่น ๆ ของชาวยิวที่อาศัยอยู่ต่างประเทศ เป็นภาษาของศาสนายิวส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ในประเทศอิสราเอล ภาษาฮีบรู มีการสร้างคำใหม่โดยยืมจากภาษาฮีบรูในไบเบิลหรือจากภาษาอาหรับและภาษาอราเมอิก รวมทั้งภาษาในยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาเยอรมัน ภาษาฮีบรูกลายเป็นภาษาราชการของปาเลสไตน์ภายใต้การปกครองของอังกฤษตั้งแต..

กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาฮีบรู · กลุ่มภาษาเซมิติกกลางและภาษาฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาแอราเมอิก

ษาแอราเมอิก (Aramaic language) เป็นภาษาตระกูลเซมิติกที่มีความเป็นมายาวนานกว่า 3,000 ปืเป็นภาษากลางของบริเวณตะวันออกใกล้ในช่วง 157 ปีก่อนพุทธศักราชถึง..

กลุ่มภาษาเซมิติกและภาษาแอราเมอิก · กลุ่มภาษาเซมิติกกลางและภาษาแอราเมอิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มภาษาเซมิติกและกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง

กลุ่มภาษาเซมิติก มี 103 ความสัมพันธ์ขณะที่ กลุ่มภาษาเซมิติกกลาง มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 4.59% = 5 / (103 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มภาษาเซมิติกและกลุ่มภาษาเซมิติกกลาง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: