เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

เทศบาลนครหาดใหญ่

ดัชนี เทศบาลนครหาดใหญ่

นครหาดใหญ่ เป็นเทศบาลนครที่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา หาดใหญ่ถือได้ว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และเป็นเทศบาลนครที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 3 ของประเทศไทย รองจากเทศบาลนครนนทบุรี และเทศบาลนครปากเกร็ด เนื่องจากเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า และการคมนาคมขนส่งที่สำคัญของภาคใต้ หาดใหญ่ได้ยกฐานะเป็นเทศบาลนครหาดใหญ่เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 72 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2471พ.ศ. 2478พ.ศ. 2492พ.ศ. 2515พ.ศ. 2520พ.ศ. 2538พ.ศ. 2546พ.ศ. 2555พรรคประชาธิปัตย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชกฤษฎีกากรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครกวนอิมการขนส่งระบบรางในประเทศมาเลเซียภาคใต้ (ประเทศไทย)มรสุมราชกิจจานุเบกษารางเดี่ยวศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณศาสนาพุทธศาสนาอิสลามสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรสถานีรถไฟบัตเตอร์เวิร์ทสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่สถานีรถไฟอู่ตะเภาสโมสรฟุตบอลหาดใหญ่อำเภอรัตภูมิอำเภอสะเดาอำเภอสุไหงโก-ลกอำเภอหาดใหญ่อำเภอจะนะอำเภอทุ่งสงอำเภอคลองหอยโข่งอำเภอนาหม่อมอำเภอเมืองชุมพรอำเภอเมืองสงขลาอ่าวไทยจังหวัดชุมพรจังหวัดพัทลุงจังหวัดพังงาจังหวัดกระบี่จังหวัดระนองจังหวัดสงขลาจังหวัดสตูลจังหวัดตรังถนนเพชรเกษมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 406ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407... ขยายดัชนี (22 มากกว่า) »

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และพ.ศ. 2471

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และพ.ศ. 2478

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และพ.ศ. 2492

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และพ.ศ. 2515

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และพ.ศ. 2520

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และพ.ศ. 2538

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และพ.ศ. 2546

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และพ.ศ. 2555

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และพรรคประชาธิปัตย์

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระราชกฤษฎีกา

ระราชกฤษฎีกา คือ บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี มีศักดิ์ต่ำกว่ารัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมาย และพระราชกำหน.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และพระราชกฤษฎีกา

กรมการปกครอง

กรมการปกครอง เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงมหาดไทย ดำเนินงานเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน การบริหารการปกครองท้องที่ในระดับอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน การดำเนินการและพัฒนาระบบงานทะเบียนราษฎร และการขออนุญาตต่าง ๆ ตามกฎหม.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และกรมการปกครอง

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และกรุงเทพมหานคร

กวนอิม

กวนอิม ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ กวนอิน ตามสำเนียงกลาง เป็นพระโพธิสัตว์ในตามคติมหายาน เป็นองค์เดียวกันกับพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ในภาษาสันสกฤต ซึ่งมีต้นกำเนิดจากพระสูตรมหายานในประเทศอินเดีย และได้ผสมผสานกับตำนานเรื่องเจ้าหญิงเมี่ยวซ่าน ของศาสนาพื้นบ้านจีนจนก่อให้เกิดเป็นพระโพธิสัตว์กวนอิมในภาคสตรีขึ้น เพื่อแสดงออกถึงความอ่อนโยน และแสดงถึงความเมตตากรุณาให้เด่นชัดยิ่งขึ้นดังเช่นความรักของมารดาที่มีต่อบุตร ซึ่งเป็นการผสมผสานกลมกลืนทางความเชื่อที่ปราศจากข้อขัดแย้ง เนื่องจากในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรได้อธิบายว่า พระอวโลกิเตศวรนั้นสามารถแบ่งภาคเพื่อโปรดสรรพสัตว์ได้มากมายทั้งปางบุรุษและสตรี และเป็นธรรมดาของพระโพธิสัตว์มหายานที่เมื่อเข้าไปสู่ดินแดนอื่นทั้งทิเบต จีน หรือญี่ปุ่น ย่อมผสมผสานกลมกลืนได้กับเทพท้องถิ่นนั้น ๆ อย่างในกรณีพระอวโลกิเตศวรนี้ Sir Charles Eliot ได้ตั้งข้อสังเกตว่า "คงเนื่องมาจากความสับสนทางความคิดของชาวจีนในยุคนั้น ซึ่งบูชาเทพเจ้าต่าง ๆ ของตนอยู่แล้ว และเมี่ยวซ่านก็เป็นเทพวีรชนดั้งเดิมอยู่ก่อน พออารยธรรมพระโพธิสัตว์จากอินเดียแผ่เข้าไปถึง ได้เกิดการผสานทางวัฒนธรรมเปลี่ยนชื่อเสียงคงไว้เพียงแต่คุณลักษณะต่าง ๆ พอให้แยกออกว่าเป็นพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์" เจ้าแม่กวนอิมเป็นผู้.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และกวนอิม

การขนส่งระบบรางในประเทศมาเลเซีย

รถไฟฟ้าโมโนเรลในกัวลาลัมเปอร์ การขนส่งระบบรางในประเทศมาเลเซีย ประกอบด้วย รถไฟรางหนัก (รวมทั้งรถไฟความเร็วสูง) รถไฟฟ้ารางเบา และรถไฟฟ้าโมโนเรล รถไฟรางหนักมักใช้สำหรับการขนส่งผู้โดยสารและสินค้าระหว่างเมือง ขณะที่รถไฟฟ้ารางเบามักใช้ขนส่งผู้โดยสารในเมืองเท่านั้น มีเส้นทางรถไฟความเร็วสูงเพื่อเชื่อมกับท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ ส่วนรถไฟฟ้าโมโนเรล มีในกัวลาลัมเปอร์ การขนส่งระบบรางครอบคลุมรัฐส่วนใหญ่ในมาเลเซียตะวันตก ส่วนในมาเลเซียตะวันออก มีเฉพาะรัฐซาบะฮ์ ทางรถไฟในมาเลเซียตะวันตกเชื่อมต่อกับประเทศสิงคโปร์และประเทศไท.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และการขนส่งระบบรางในประเทศมาเลเซีย

ภาคใต้ (ประเทศไทย)

ใต้ เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุง.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และภาคใต้ (ประเทศไทย)

มรสุม

กลุ่มเมฆและฝนที่เกิดจากมรสุม ภาพแสดงกลุ่มเมฆมรสุม มรสุม เป็นการหมุนเวียนส่วนหนึ่งของลมที่พัดตามฤดูกาล คือ ลมประจำฤดู เป็นลมแน่ทิศและสม่ำเสมอ สาเหตุใหญ่ ๆ เกิดจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของพื้นดิน และพื้นน้ำในฤดูหนาวอุณหภูมิของพื้นดินเย็นกว่า อุณหภูมิของน้ำในมหาสมุทร อากาศเหนือพื้นน้ำจึงมีอุณหภูมิสูงกว่า และลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน อากาศเหนือทวีปซึ่งเย็นกว่าไหลไปแทนที่ ทำให้เกิดเป็นลมพัดออกจากทวีป พอถึงฤดูร้อนอุณหภูมิของดินภาคพื้นทวีปร้อนกว่าน้ำในมหาสมุทร เป็นเหตุให้เกิดลมพัดในทิศทางตรงข้าม ลมมรสุมที่มีกำลังแรงจัดที่สุดได้แก่ ลมมรสุมที่เกิดในบริเวณภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย การเปลี่ยนแปลงฤดูกาลในชั้นบรรยากาศ และวัฎจักรของฝน เนื่องจากความไม่เท่ากันของการรับและคายความร้อนของพื้นดินและน้ำ โดยทั่วไปแล้วเป็นคำที่ใช้บรรยายช่วงฤดูกาลเปลี่ยนแปลงที่มีฝนตก ในระดับโลกสามารถที่จะจำแนกมรสุมได้เป็น มรสุมแอฟริกันตะวันตก และ มรสุมเอเชียออสเตรเลีย คำว่า “มรสุม” ถูกใช้เป็นครั้งแรกในภาษาอังกฤษ ในอินเดียของบริเตน (ปัจจุบันคือ อินเดีย บังกลาเทศ และ ปากีสถาน) เพื่อสื่อถึงลมประจำฤดูกาลที่พัดจากอ่าวเบงกอล และทะเลอาหรับนำพาฝนคะนองเข้าไปสู่บริเวณอินเดียของบริเตน คำว่า "มรสุม" หรือ monsoon ในภาษาอังกฤษ มาจากคำว่า موسم ในภาษาอารบิก แปลว่า ฤดูกาล.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และมรสุม

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และราชกิจจานุเบกษา

รางเดี่ยว

รถรางเดี่ยวในกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย รางเดี่ยว (monorail) เป็นระบบขนส่งทางรางชนิดหนึ่ง ต่างจากระบบเดิมแทนที่จะมีราวเหล็กสองราวประกอบเป็นราง กลับมีลักษณะเป็นราวเหล็กเส้นเดียวให้รถวิ่งผ่าน คำว่า monorail มีมาตั้งแต่ พ.ศ.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และรางเดี่ยว

ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ

ลท้าวมหาพรหม โรงแรมแกรนด์ไฮแอทเอราวัณ บริเวณเทวาลัย ศาลท้าวมหาพรหม ถ่ายจากรถไฟฟ้าบีทีเอส ศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมแกรนด์ไฮแอทเอราวัณ (Erawan Shrine; 四面佛, 梵天; พินอิน:Sìmiàn fú, Fàntiān; 梵天; โรมะจิ: Bonten) เป็นศาลของท้าวมหาพรหมตั้งอยู่หน้าโรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ บริเวณสี่แยกราชประสงค์ ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณ

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และศาสนาพุทธ

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และศาสนาอิสลาม

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร หรือ สน. เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงคมนาคม จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

สถานีรถไฟบัตเตอร์เวิร์ท

ในสถานีรถไฟบัตเตอร์เวอร์ธ สถานีรถไฟบัตเตอร์เวิร์ท หรือสะกดว่า บัตเตอร์เวอร์ธ (Butterworth) เป็นสถานีรถไฟของประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ในเมืองบัตเตอร์เวิร์ท เขตนอร์ทเทิร์นเซอบรังปไร รัฐปีนัง โดยในอดีตจะมีรถไฟของประเทศไทยมาปลายทางที่สถานีรถไฟบัตเตอร์เวอร์ธวันละ 2 ขบวน คือ ขบวนรถไฟกรุงเทพ-บัตเตอร์เวอร์ธ-กรุงเทพ จากสถานีนี้สามารถเดินทางด้วยรถไฟไปยังกัวลาลัมเปอร์ และประเทศสิงคโปร์ได้.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และสถานีรถไฟบัตเตอร์เวิร์ท

สถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่

นีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ ตั้งอยู่บนถนนรถไฟ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นสถานีรถไฟ ระดับ 1 ของทางรถไฟสายใต้ โดยจากจุดนี้ทางรถไฟจะแยกออกเป็นสองสาย คือ.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่

สถานีรถไฟอู่ตะเภา

นีรถไฟชุมทางอู่ตะเภา หรือ สถานีรถไฟอู่ตะเภา สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2452 ตั้งอยู่ตำบลคลองอู่ตะเภา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ในอดีตเป็นสถานีรถไฟ ระดับ 1 ของทางรถไฟสายใต้ แต่ต่อมาในปี พ.ศ.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และสถานีรถไฟอู่ตะเภา

สโมสรฟุตบอลหาดใหญ่

มสรฟุตบอลหาดใหญ่ เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปัจจุบันแข่งขันในระดับไทยลีก 4.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และสโมสรฟุตบอลหาดใหญ่

อำเภอรัตภูมิ

รัตภูมิ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกสุดของจังหวัดสงขลา ติดต่อกับอำเภอควนโดน จังหวัดสตูล เป็นอำเภอที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ ด้านตะวันออกเป็นที่ราบ แต่ด้านตะวันตกมีเทือกเขา คือ เขานครศรีธรรมราช มีป่าไม้ เรือกสวนไร่นา ซึ่งเหมาะในการทำการเกษตร.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และอำเภอรัตภูมิ

อำเภอสะเดา

อำเภอสะเดา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา เป็นอำเภอหนึ่งที่มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย และเป็นเมืองเศรษฐกิจสำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งของชายแดนไทย-มาเลเซีย โดยมีด่านพรมแดนที่สำคัญถึง 2 ด่าน คือ พรมแดนไทย-มาเลเซีย (รัฐเกดะห์) (ด่านสะเดา) และพรมแดนไทย-มาเลเซีย (รัฐปะลิส) (ด่านปาดังเบซาร์) นอกจากนี้สะเดายังเปรียบเสมือนประตูสู่ประเทศไทยของชาวมาเลเซียและสิงคโปร.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และอำเภอสะเดา

อำเภอสุไหงโก-ลก

อำเภอสุไหงโก-ลก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนราธิวาส มีตัวเมืองขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สำคัญแห่งหนึ่งของภาคใต้ตอนล่าง.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และอำเภอสุไหงโก-ลก

อำเภอหาดใหญ่

อำเภอหาดใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นที่ตั้งของนครหาดใหญ่ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภาคใต้ หาดใหญ่เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงในหลายด้าน เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโดยเฉพาะแถบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย จีน และอินเดี.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และอำเภอหาดใหญ่

อำเภอจะนะ

นะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา และเป็นหนึ่งในสี่อำเภอจังหวัดสงขลาที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มพื้นที่ที่ยังมีเหตุการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไท.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และอำเภอจะนะ

อำเภอทุ่งสง

ทุ่งสง เป็นอำเภอที่มีความเจริญเป็นอันดับสองของจังหวัดนครศรีธรรมราช รองจากอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช เนื่องจากมีที่ตั้งอยู่ตรงกลางของภาคใต้และเป็นจุดศูนย์กลางคมนาคมทางบกทั้งรถยนต์และรถไฟ อำเภอทุ่งสงมีประวัติความเป็นมายาวนาน ปรากฏตามตำนานเมืองนครศรีธรรมราชว่าเคยเป็นแขวงขึ้นอยู่ในปกครองของเมืองนครศรีธรรมราชตั้งแต่สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เมื่อได้มีการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองจากมณฑล เป็นจังหวัด เมื่อ พ.ศ.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และอำเภอทุ่งสง

อำเภอคลองหอยโข่ง

ลองหอยโข่ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขล.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และอำเภอคลองหอยโข่ง

อำเภอนาหม่อม

นาหม่อม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขล..

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และอำเภอนาหม่อม

อำเภอเมืองชุมพร

อำเภอเมืองชุมพร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชุมพร.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และอำเภอเมืองชุมพร

อำเภอเมืองสงขลา

มืองสงขลา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขล.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และอำเภอเมืองสงขลา

อ่าวไทย

อ่าวไทย อ่าวไทย เป็นน่านน้ำที่อยู่ในทะเลจีนใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก ล้อมรอบด้วยประเทศไทย มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนาม อ่าวไทยไม่เพียงแต่มีความสำคัญในทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังมีความสำคัญในทางกฎหมายอาญาอย่างยิ่ง โดยถือเป็นอาณาเขตที่ศาลไทยมีอำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณอ่าวไทยตามที่กำหนดเขตไว้ในกฎหมายให้ถือเป็นราชอาณาจักรไทยด้ว.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และอ่าวไทย

จังหวัดชุมพร

มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และจังหวัดชุมพร

จังหวัดพัทลุง

ัทลุง เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย เคยเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่แห่งหนึ่ง และยังมีสภาพภูมิประเทศทั้งที่ราบ เนินเขา และชายฝั่ง โดยทางทิศตะวันตกของจังหวัด จะเป็นพื้นที่ที่ราบสูงและที่ราบเชิงเขา อันเนื่องมาจากมีพื้นที่ติดต่อกับเทือกเขานครศรีธรรมราช ถัดลงมาทางตอนกลางและทางทิศตะวันออกของจังหวัด จรดทะเลสาบสงขลาจะเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การทำการเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำนาข้าว ชาวภาคใต้จะเรียกจังหวัดนี้ว่า เมืองลุง.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และจังหวัดพัทลุง

จังหวัดพังงา

ังงา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ฝั่งตะวันตกของประเทศไท.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และจังหวัดพังงา

จังหวัดกระบี่

กระบี่ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของภาคใต้ มีแหล่งท่องเที่ยวหลายแห่ง เช่น หาดทรายขาว น้ำทะเลใส ปะการัง ถ้ำ และหมู่เกาะน้อยใหญ่กว่า 100 เกาะ และเป็นที่ตั้งของเรือนรับรองที่ประทับแหลมหางน.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และจังหวัดกระบี่

จังหวัดระนอง

ระนอง เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันตกของภาคใต้ มีพื้นที่ประมาณ 2,141,250 ไร่ มีพื้นที่ติดต่อทางตะวันออกติดต่อกับจังหวัดชุมพร ทางใต้ติดกับจังหวัดสุราษฎร์ธานีและจังหวัดพังงา ทางตะวันตกติดกับประเทศพม่าและทะเลอันดามัน มีลักษณะพื้นที่เรียวและแคบ มีความยาวถึง 169 กิโลเมตร และมีความแคบในบริเวณอำเภอกระบุรี เพียง 9 กิโลเมตร ระนองเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติความเป็นมายาวนานนับตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ เดิมเป็นหัวเมืองขนาดเล็กขึ้นกับเมืองชุมพร คำว่าระนองเพี้ยนมาจากคำว่า แร่นอง เนื่องจากในพื้นที่จังหวัดมีแร่อยู่มากม.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และจังหวัดระนอง

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และจังหวัดสงขลา

จังหวัดสตูล

ตูล เป็นจังหวัดที่อยู่ใต้สุดของประเทศไทย (ทางชายฝั่งทะเลอันดามัน) คำว่า สตูล มาจากคำภาษามลายูเกดะห์ว่า เซอตุล (ستول) (ภาษามาเลย์ว่า เซอตุล (setul)) แปลว่ากระท้อน ซึ่งเป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นอยู่ชุกชุมในท้องที่นี้ โดยชื่อเมือง นครสโตยมำบังสการา (Negeri Setoi Mumbang Segara) นั้นหมายความว่า สตูล เมืองแห่งพระสมุทรเทวา ดังนั้น "ตราพระสมุทรเทวา" จึงกลายเป็นตราหรือสัญลักษณ์ของจังหวัดมาตราบเท่าทุกวันนี้.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และจังหวัดสตูล

จังหวัดตรัง

ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และจังหวัดตรัง

ถนนเพชรเกษม

นนเพชรเกษม (Thanon Phet Kasem) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 สายกรุงเทพมหานคร–จุดผ่านแดนถาวรสะเดา (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานของประเทศไทย ที่มีเส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีระยะทาง 1277.512 กิโลเมตร นับเป็นทางหลวงหรือถนนสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ถนนเพชรเกษมมีเส้นทางเริ่มต้นที่สะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่) ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งการปกครองระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สิ้นสุดที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บริเวณเขตแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อกับทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ ที่เมืองบูกิตกายูฮีตัม รัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย บางช่วงของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 123.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และถนนเพชรเกษม

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 406

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 406 (สายปากจ่า–ตำมะลัง) เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมต่อระหว่าง 2 จังหวัดที่อยู่ภาคใต้ฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก ได้แก่ จังหวัดสงขลากับจังหวัดสตูล มีระยะทางตลอดทั้งสาย 99.89 กิโลเมตร นอกจากนี้ ยังเป็นทางหลวงสายสำคัญที่เชื่อมต่อจากถนนเพชรเกษมไปยังจังหวัดสตูลอีกด้ว.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 406

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407 สายคลองหวะ - สงขลา หรือ ถนนกาญจนวณิชย์ เป็นทางหลวงที่อยู่ในความควบคุมของแขวงการทางสงขลา สังกัดสำนักทางหลวงที่ 15 (สงขลา) เป็นเส้นทางหลักที่เชื่อมตัวเมืองสงขลาเข้ากับตัวเมืองหาดใหญ่ มีระยะทางเริ่มต้นจากทางแยกคลองหวะในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา แล้ววิ่งขึ้นเหนือไปยังอำเภอเมืองสงขลา ไปสิ้นสุดที่ทางแยกสำโรง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา อยู่ในเขตจังหวัดสงขลาทั้งหมด 28.3 กิโลเมตร ในอดีต ทางหลวงแผ่นดินสายนี้เป็นเส้นทางหลักสำหรับรถทุกคันจากถนนเพชรเกษมที่จะเข้าตัวเมืองสงขลา แต่เมื่อมีการก่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414 (ถนนลพบุรีราเมศวร์) ขึ้น รถจำนวนมากได้หันไปใช้เส้นทางนี้แทน เนื่องจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407 จะวิ่งผ่านเข้าไปในตัวเมืองหาดใหญ่ ขณะที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414 จะวิ่งเลี่ยงตัวเมืองหาดใหญ่ รัฐบาลสมัยจอมพล ป.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 สายสี่แยกปฐมพร–พัทลุง เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหลักของภาคใต้ เส้นทางเริ่มต้นจากแยกปฐมพรบนถนนเพชรเกษม ที่จังหวัดชุมพร จากนั้นวิ่งลงใต้ผ่านจังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดนครศรีธรรมราช และสิ้นสุดบนถนนเพชรเกษมที่จังหวัดพัทลุง ระยะทางรวม 382.616 กิโลเมตร ทางหลวงแผ่นดินสายนี้เป็นถนน 4 ช่องจราจรตลอดสาย แบ่งเป็น 2 ช่องจราจรในแต่ละทิศทาง โดยมีคูน้ำกั้นระหว่างทิศทาง ในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 18 (A18) ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 ตลอ.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4135

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4135 สายทางเข้าสนามบินหาดใหญ่ เป็นทางหลวงที่อยู่ในเขตควบคุมของแขวงทางหลวงสงขลาที่ 1 สำนักงานทางหลวงที่ 18 สงขลา มีระยะทางเริ่มต้นจากถนนลพบุรีราเมศวร์ที่หลักกิโลเมตรที่ 22+100 โดยสิ้นสุดที่ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่ ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4135

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414 สายน้ำกระจาย–ท่าท้อน หรือ ถนนลพบุรีราเมศวร์ เป็นทางหลวงที่อยู่ในความควบคุมของแขวงทางหลวงสงขลาที่ 1 สังกัดสำนักงานทางหลวงที่ 18 (สงขลา) มีจุดเริ่มต้นจากห้าแยกน้ำกระจาย อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา วิ่งขึ้นลงใต้ไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษม (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4) โดยเป็นเส้นทางสายใหม่ที่สร้างขึ้นเพื่อเลี่ยงเมืองหาดใหญ่แทนถนนกาญจนวณิช (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407) มีความยาวทั้งสิ้น 24.315 กิโลเมตร.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43 สายหาดใหญ่–มะพร้าวต้นเดียว เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานที่สำคัญสายหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 18 โดยทางหลวงสายนี้เป็นทางหลวงเส้นใหม่ที่ตัดขึ้นเพื่อย่นระยะทางจากจังหวัดสงขลาไปยังจังหวัดปัตตานี แทนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 โดยเป็นทางหลวงขนาด 4 ช่องจราจรตลอดสาย รวมระยะทาง 94.952 กิโลเมตร.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43

ท่าอากาศยานภูเก็ต

ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต หรือ สนามบินภูเก็ต เป็นสนามบินตั้งอยู่ที่ เหนือสุดของเกาะภูเก็ตเป็นท่าอากาศยานที่มีเที่ยวบินหนาแน่นเป็นอันดับที่สามของประเทศ รองจากท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง มีเที่ยวบินทั้งในและต่างประเทศ บินมาลงทุกวัน ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีมาตรฐานทั้งในด้านการท่องเที่ยว เศรษฐกิจ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต ตั้งอยู่เลขที่ 222 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4026 ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ห่างจากตัวเมืองภูเก็ตประมาณ 32 กิโลเมตร เนื้อที่โดยประมาณ 94,800 ตารางเมตร แท๊กซี่เวย์ 8 จุด ทิศเหนือเป็นภูเขา ทิศใต้เป็นสวนยางพารา ทิศตะวันตกเป็นชายฝั่งทะเลอันดามัน สามารถรองรับผู้โดยสารได้ 6,500,000 คนต่อปี โดยในปี..

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และท่าอากาศยานภูเก็ต

ท่าอากาศยานหาดใหญ่

ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่ หรือ สนามบินหาดใหญ่ (IATA: HDY, ICAO: VTSS) ตั้งอยู่ที่ 99 หมู่ 3 ถนนสนามบินพาณิชย์ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา 90110 บริหารงานโดยบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาขน) โดยมีผู้อำนวยการท่าอากาศยานหาดใหญ่ดูแล เป็นท่าอากาศยานที่สำคัญ เนื่องจากเป็นประตูสำหรับชาวมุสลิมที่ต้องการไปแสวงบุญที่นครมักกะฮ์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย ท่าอากาศยานหาดใหญ่มีเที่ยวบินมากเป็นอันดับ 6 ของประเทศ รองจาก ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ และ ท่าอากาศยานกระบี่ ตามลำดับ ปัจจุบันมีผู้โดยสารประมาณ 4,869,113 คน เที่ยวบิน 9,203 เที่ยวบินและสินค้าประมาณ 12,965 ตันใช้บริการท่าอากาศยานแห่งนี้ ทั้งนี้ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่ มีความสามารถในการรองรับเที่ยวบินได้ 42 เที่ยวบิน/ชม.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และท่าอากาศยานหาดใหญ่

ท่าอากาศยานนานาชาติสมุย

ตอร์เช็คอินสนามบินสมุย ท่าอากาศยานนานาชาติสมุย หรือ สนามบินสมุย (Samui International Airport) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ของเกาะสมุย อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเกาะสมุย ประมาณ 23 กิโลเมตร ในพื้นที่ตำบลบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นท่าอากาศยานนานาชาติ ดำเนินการโดย บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) อีกทั้งยังเป็นท่าอากาศยานสำหรับนักท่องเที่ยว ที่มา เกาะพะงัน อีกด้วย โดยมีเที่ยวบินเข้าออกไปยังเมืองต่างๆมากม.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และท่าอากาศยานนานาชาติสมุย

คาบสมุทรมลายู

มุทรมลายู คาบสมุทรมลายู หรือ แหลมมลายู (Semenanjung Tanah Melayu; Malay Peninsula) เป็นคาบสมุทรขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วางตัวเกือบอยู่ในแนวเหนือ-ใต้ และเป็นจุดที่อยู่ใต้สุดของทวีปเอเชีย ส่วนที่แคบที่สุดของคาบสมุทรมลายู คือ คอคอดกระ ชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงใต้แยกออกจากเกาะสุมาตราด้วยช่องแคบมะละกา มีเกาะบอร์เนียวอยู่ทางตะวันออกในทะเลจีนใต้.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และคาบสมุทรมลายู

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และประเทศมาเลเซีย

ปาดังเบซาร์

ปาดังเบซาร์ อาจหมายถึง.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และปาดังเบซาร์

เทศบาล

ำนักงานเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เทศบาล เป็นรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในประเทศไทยปัจจุบัน การปกครองรูปแบบเทศบาลเป็นการกระจายอำนาจให้แก่ท้องถิ่นดำเนินการปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตย เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเริ่มจากการจัดตั้งสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร..116 (พ.ศ.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และเทศบาล

เทศบาลนครปากเกร็ด

ทศบาลนครปากเกร็ด หรือ นครปากเกร็ด เป็นเทศบาลนครขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ครอบคลุมพื้นที่ 5 ตำบล คือ ตำบลปากเกร็ด ตำบลบางตลาด ตำบลคลองเกลือ ตำบลบางพูด และตำบลบ้านใหม่ ติดต่อกับกรุงเทพมหานครทางทิศตะวันออก และเทศบาลนครนนทบุรีทางทิศใต้ มีประชากรทั้งหมดประมาณ 180,000 คน ทำให้ปากเกร็ดเป็นเทศบาลนครที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศไทย รองจากเทศบาลนครนนทบุรี สภาพพื้นที่ในเขตเทศบาลเดิมเป็นพื้นที่เกษตรกรรม แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนสภาพเป็นที่รองรับการขยายตัวเป็นที่พักอาศัย อุตสาหกรรม ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ ซูเปอร์มาร์เก็ต และหน่วยงานราชการส่วนกลาง เนื่องมาจากการขยายตัวของเขตเมืองของกรุงเทพมหานคร เทศบาลนครปากเกร็ด–เทศบาลนครนนทบุรี เป็นเทศบาลนคร 2 แห่งที่อยู่ใกล้กันมากที่สุดในประเทศไทย รองลงมาคือ เทศบาลนครหาดใหญ่–เทศบาลนครสงขล.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และเทศบาลนครปากเกร็ด

เทศบาลนครนนทบุรี

นนทบุรี เป็นเทศบาลนครขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองหลักของจังหวัดนนทบุรี ภายในเขตเทศบาลมีประชากรกว่า 250,000 คน ทำให้เป็นเทศบาลนครที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในประเทศไทย เนื่องจากตั้งอยู่ในชานเมืองซึ่งมีอาณาเขตติดต่อกับกรุงเทพมหานคร และเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และเทศบาลนครนนทบุรี

เทศบาลนครในประเทศไทย

ในประเทศไทย เทศบาลนคร เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดใหญ่ที่มีประชากรตั้งแต่ 50,000 คนขึ้นไปและมีรายได้พอเพียงต่อการให้บริการสาธารณะตามหน้าที่ที่กฎหมายบัญญัติไว้ การจัดตั้งเทศบาลนครกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลนครตามพระราชบัญญัติเทศบาล..

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และเทศบาลนครในประเทศไทย

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และ10 ธันวาคม

12 เมษายน

วันที่ 12 เมษายน เป็นวันที่ 102 ของปี (วันที่ 103 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 263 วันในปีนั้น.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และ12 เมษายน

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และ13 เมษายน

15 มีนาคม

วันที่ 15 มีนาคม เป็นวันที่ 74 ของปี (วันที่ 75 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 291 วันในปีนั้น.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และ15 มีนาคม

16 มีนาคม

วันที่ 16 มีนาคม เป็นวันที่ 75 ของปี (วันที่ 76 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 290 วันในปีนั้น.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และ16 มีนาคม

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และ24 กันยายน

25 กันยายน

วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และ25 กันยายน

29 กรกฎาคม

วันที่ 29 กรกฎาคม เป็นวันที่ 210 ของปี (วันที่ 211 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 155 วันในปีนั้น.

ดู เทศบาลนครหาดใหญ่และ29 กรกฎาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ นครหาดใหญ่

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4135ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43ท่าอากาศยานภูเก็ตท่าอากาศยานหาดใหญ่ท่าอากาศยานนานาชาติสมุยคาบสมุทรมลายูประเทศมาเลเซียปาดังเบซาร์เทศบาลเทศบาลนครปากเกร็ดเทศบาลนครนนทบุรีเทศบาลนครในประเทศไทย10 ธันวาคม12 เมษายน13 เมษายน15 มีนาคม16 มีนาคม24 กันยายน25 กันยายน29 กรกฎาคม