โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ถนนเพชรเกษม

ดัชนี ถนนเพชรเกษม

นนเพชรเกษม (Thanon Phet Kasem) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 สายกรุงเทพมหานคร–จุดผ่านแดนถาวรสะเดา (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานของประเทศไทย ที่มีเส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีระยะทาง 1277.512 กิโลเมตร นับเป็นทางหลวงหรือถนนสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ถนนเพชรเกษมมีเส้นทางเริ่มต้นที่สะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่) ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งการปกครองระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สิ้นสุดที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บริเวณเขตแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อกับทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ ที่เมืองบูกิตกายูฮีตัม รัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย บางช่วงของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 123.

168 ความสัมพันธ์: บูกิตกายูฮีตัมพ.ศ. 2493กรมทางหลวงกระบี่กรุงเทพมหานครการรถไฟแห่งประเทศไทยภาคใต้ (ประเทศไทย)รัฐเกอดะฮ์รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลวัดห้วยมงคลวัดไร่ขิงวังไกลกังวลวิศวกรรมโยธาสหราชอาณาจักรสะพานพระพุทธยอดฟ้าสามแยก ทล.4-411สถานีรถไฟหัวหินหาดเจ้าสำราญอำเภอชะอำอำเภอบางสะพานอำเภอบางสะพานน้อยอำเภอบางแพอำเภอบางแก้วอำเภอบ้านลาดอำเภอบ้านคาอำเภอบ้านโป่งอำเภอพุทธมณฑลอำเภอกระทุ่มแบนอำเภอกะเปอร์อำเภอกุยบุรีอำเภอรัตภูมิอำเภอวังวิเศษอำเภอศรีนครินทร์อำเภอสวนผึ้งอำเภอสะเดาอำเภอสามพรานอำเภอสามร้อยยอดอำเภอสุขสำราญอำเภอหัวหินอำเภอหาดใหญ่อำเภอหนองหญ้าปล้องอำเภออ่าวลึกอำเภอจอมบึงอำเภอทับสะแกอำเภอท่ายางอำเภอท่าแซะอำเภอท้ายเหมืองอำเภอคลองหอยโข่งอำเภอคลองท่อม...อำเภอคุระบุรีอำเภอตะกั่วทุ่งอำเภอตะกั่วป่าอำเภอปราณบุรีอำเภอปะทิวอำเภอปากท่ออำเภอป่าบอนอำเภอนาโยงอำเภอนครชัยศรีอำเภอแก่งกระจานอำเภอโพธารามอำเภอเมืองชุมพรอำเภอเมืองพัทลุงอำเภอเมืองพังงาอำเภอเมืองสงขลาอำเภอเมืองตรังอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์อำเภอเมืองเพชรบุรีอำเภอเหนือคลองอำเภอเขาชัยสนอุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยจังหวัดชุมพรจังหวัดพัทลุงจังหวัดพังงาจังหวัดกระบี่จังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดภูเก็ตจังหวัดระนองจังหวัดราชบุรีจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดสงขลาจังหวัดตรังจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดนครปฐมจังหวัดเพชรบุรีถนนบรมราชชนนีถนนบางแคถนนพระรามที่ 2ถนนพุทธมณฑล สาย 1ถนนพุทธมณฑล สาย 2ถนนพุทธมณฑล สาย 3ถนนพุทธมณฑล สาย 4ถนนพุทธมณฑล สาย 5ถนนพุทธมณฑล สาย 6ถนนพุทธมณฑล สาย 7ถนนพุทธสาครถนนกัลปพฤกษ์ถนนกาญจนาภิเษกถนนมาลัยแมนถนนรัชดาภิเษกถนนราชพฤกษ์ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)ถนนจรัญสนิทวงศ์ถนนตรีเพชรถนนตีทองถนนประชาธิปกถนนประจวบคีรีขันธ์ถนนแสงชูโตถนนเศรษฐกิจ 1ถนนเอกชัยทางรถไฟสายใต้ทางหลวงชนบท กบ.1002ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 325ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4009ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 403ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4038ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 406ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4090ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4135ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4144ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4147ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44ทางหลวงในประเทศไทยทางหลวงเอเชียสาย 123ทางหลวงเอเชียสาย 2ทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือทางแยกต่างระดับวังมะนาวทางแยกต่างระดับปฐมพรทางแยกต่างระดับนครชัยศรีที่สุดในประเทศไทยท่าอากาศยานหัวหินข่าวสดคลองบางกอกใหญ่ประเทศมาเลเซียประเทศไทยนายกรัฐมนตรีแม่น้ำท่าจีนแม่น้ำแม่กลองแม่น้ำเพชรบุรีแยกเอเชีย (จังหวัดพัทลุง)แปลก พิบูลสงครามเทศบาลนครอ้อมน้อยเทศบาลนครตรังเทศบาลเมืองพังงาเขาตะเกียบเขตบางกอกใหญ่เขตบางแคเขตพระนครเขตภาษีเจริญเขตหนองแขมเขตธนบุรี10 ธันวาคม ขยายดัชนี (118 มากกว่า) »

บูกิตกายูฮีตัม

ูกิตกายูฮีตัม (Bukit Kayu Hitam "ภูเขาไม้ดำ") เมืองหนึ่งของรัฐเกอดะฮ์ ประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางตอนบนของประเทศใกล้กับเมืองจังโหลน และติดกับชายแดนไทยด่านจังโหลน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บูกิตกายูฮีตัม เป็นจุดสิ้นสุดของทางด่วนพิเศษเหนือ-ใต้ในมาเลเซีย ซึ่งจุดเริ่มต้นของถนนสายดังกล่าวอยู่ที่เมืองยะโฮร์บาห์รู รัฐยะโฮร์ทางใต้ของประเทศ อย่างไรก็ตามทางด่วนพิเศษเหนือ-ใต้ในบูกิตกายูฮีตัมก็เชื่อมต่อเข้ากับถนนเพชรเกษมของไทย และสามารถเดินทางต่อมายังกรุงเทพมหานครได้.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและบูกิตกายูฮีตัม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

กรมทางหลวง

กรมทางหลวง เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่ดำเนินการก่อสร้าง ควบคุม บูรณะ และบำรุงรักษาทางหลวง ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน เพื่ออำนวยความสะดวกรวดเร็วและปลอดภัยในทางหลวงทั่วประเทศ เอื้อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง ความมั่นคง และการป้องกันประเท.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและกรมทางหลวง · ดูเพิ่มเติม »

กระบี่

กระบี่ อาจหมายถึง; เขตการปกครอง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและกระบี่ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งประเทศไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาคใต้ (ประเทศไทย)

ใต้ เป็นภูมิภาคหนึ่งของไทย ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ขนาบด้วยอ่าวไทยทางฝั่งตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝั่งตะวันตก มีเนื้อที่รวม 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากเหนือจรดใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคมีพื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาและจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและภาคใต้ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเกอดะฮ์

กอดะฮ์ (Kedah, قدح) หรือ ไทรบุรี มีชื่อเฉลิมเมืองเป็นภาษาอาหรับว่า ดารุลอามัน ("ถิ่นที่อยู่แห่งสันติภาพ") เป็นรัฐหนึ่งในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก ครอบคลุมขนาดเนื้อที่ 9,425 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยพื้นที่บนแผ่นดินใหญ่มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบใช้สำหรับปลูกข้าว รวมทั้งเกาะลังกาวี พรมแดนของรัฐเกอดะฮ์ทางทิศเหนือติดต่อกับรัฐปะลิส และติดต่อกับจังหวัดสงขลาและจังหวัดยะลาของประเทศไทย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐเประก์ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับรัฐปีนัง เมืองหลวงของรัฐคือ อาโลร์เซอตาร์ และเมืองของเจ้าผู้ครองคือ อานักบูกิต เมืองหลักอื่น ๆ ได้แก่ ซูไงเปอตานี (Sungai Petani) และกูลิม (Kulim) บนแผ่นดินใหญ่ รวมทั้งกูวะห์ (Kuah) บนเกาะลังกาวี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและรัฐเกอดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3

ต่อไปนี้คือ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย หมวดขึ้นต้นด้วย 3 สำหรับภาคกลาง รวมภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และบางส่วนในภาคใต้.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและรายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

วัดห้วยมงคล

วัดห้วยมงคล เป็นวัดในอำเภอหัวหิน.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและวัดห้วยมงคล · ดูเพิ่มเติม »

วัดไร่ขิง

วัดไร่ขิง พระอารามหลวง ตั้งอยู่ที่ริมแม่น้ำท่าจีนหรือเรียกอีกชื่อว่าแม่น้ำนครชัยศรี ตำบลไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย สร้างโดย "สมเด็จพระพุทธฒาจารย์ (พุก)" มีหลวงพ่อวัดไร่ขิงซึ่งเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยเป็นพระประธาน ที่ชาวนครปฐมเคารพนับถือ ระหว่างวันขึ้น 13 ค่ำ ถึงแรม 3 ค่ำ เดือน 5 และช่วงเทศการตรุษจีนทุกปีจะมีงานเทศกาลนมัสการปิดทองหลวงพ่อวัดไร่ขิงประจำปี ซึ่งเป็นงานใหญ่ของชาวนครปฐม เดิมเป็นวัดราษฏร์ ต่อมาจึงยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและวัดไร่ขิง · ดูเพิ่มเติม »

วังไกลกังวล

วังไกลกังวล เป็น พระราชฐานในสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระองค์ สำนักพระราชวัง เป็นรโหฐานที่ประทับแปรพระราชฐานในต่างจังหวั.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและวังไกลกังวล · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมโยธา

Falkirk Wheel สิ่งก่อสร้างในสก็อตแลนด์สำหรับยกเรือข้ามแม่น้ำ วิศวกรรมโยธา (civil engineering) เป็นศาสตร์ของสาขาหนึ่งในทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ครอบคลุมการก่อสร้างตึก ตึกระฟ้า อาคาร สะพาน ถนน และระบบขนส่งอื่น ๆ รวมถึงระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น เขื่อน คลอง ตลอดจนการทำรังวัดในงานสำรวจและแผนที่ รวมไปถึงการวิเคราะห์ทางธรณีและชลศาสตร์ และการบริหารจัดการการก่อสร้าง งานในทางด้านวิศวกรรมจะเน้นทางด้านการใช้วัสดุและทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผู้ที่ประกอบวิชาชีพในสาขานี้เรียกว่า วิศวกรโยธา หรือเรียกกันว่า นายช่าง ในการทำงานในประเทศไทย ผู้ที่ประกอบวิชาชีพจะขึ้นทะเบียนกับสภาวิศวกรเพื่อรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม (กว.) โดยมีการจัดสอบระบบใหม่เริ่มต้นเมื่อต้นปี..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและวิศวกรรมโยธา · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระพุทธยอดฟ้า

มุมสูงของสะพานพระพุทธยอดฟ้าและสะพานพระปกเกล้า สะพานพระพุทธยอดฟ้า หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (Phra Phuttha Yodfa Bridge, Memorial Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่เชื่อมการคมนาคมติดต่อระหว่างฝั่งพระนครกับฝั่งธนบุรีของกรุงเทพมหานคร ที่ปลายถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กับปลายถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี ปัจจุบันสะพานแห่งนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและสะพานพระพุทธยอดฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

สามแยก ทล.4-411

มแยก ทล.4-411 เป็นสามแยกบริเวณถนนอุตรกิจตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ สามแยก ทล.4-411.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและสามแยก ทล.4-411 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหัวหิน

นีรถไฟหัวหิน ตั้งอยู่ถนนพระปกเกล้า ตำบลหัวหิน อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้ ทางด้านอาคารสถาปัตยกรรมได้รับยกย่องเป็นอาคารอนุรักษ์ อาคารหลังแรกก่อสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2454 แต่อาคารที่เห็นในปัจจุบัน สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2469 โดยพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน เมื่อครั้งทรงดำรงตำแหน่งผู้บังคับบัญชาการรถไฟ แห่งกรุงสยาม ซึ่งได้จากการยกอาคารไม้ที่จะใช้ในงานสยามรัฐพิพิธภัณฑ์ ซึ่งมีแผนจะจัดที่สวนลุมพินีเมื่อปลายปี พ.ศ. 2468 แต่ไม่ได้มีการจัดจริงเนื่องจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคต และ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชกระแสให้เลิกจัดงานดังกล่าว เมื่อ 2 มกราคม พ.ศ. 2468 (นับอย่างปัจจุบันต้องปี พ.ศ. 2469 เพราะอยู่ในปี ค.ศ. 1926) อาคารสถานีรถไฟหัวหินเป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ อิทธิพลจากสถาปัตยกรรมวิคทอเรียเช่นเดียวกับโรงแรมรถไฟหัวหิน มีราย ละเอียดสวยงามประดับเสา ค้ำยัน และอื่นๆ ภาพสถานีรถไฟหัวหิน อาคารหลังนี้สร้างราว พ.ศ. 2453 เดิมเป็นอาคารสถานีรถไฟหลวงพระราชวังสนามจันทร์ (ปัจจุบันคือ ที่หยุดรถไฟพระราชวังสนามจันทร์) และย้ายมาอยู่ที่สถานีรถไฟหัวหิน.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและสถานีรถไฟหัวหิน · ดูเพิ่มเติม »

หาดเจ้าสำราญ

หาดเจ้าสำราญ ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองเพชรบุรี ประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นชายหาด ที่เคยเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ มาแต่สมัยโบราณ มีประวัติเล่ากันมาว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เคยเสด็จมาที่นี่ พร้อมด้วยสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงพอพระราชหฤทัย ในความงามของหาดนี้มาก ทรงประทับแรมอยู่หลายวัน จน ชาวบ้าน เรียกหาดนี้ว่า หาดเจ้าสำราญ จากหาดเจ้าสำราญ ไปทางใต้ประมาณ 7 กิโลเมตร เป็นชายหาดปึกเตียน ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยว อีกแห่งของจังหวัดเพชรบุรี หาดเจ้าสำราญเจริญถึงขีดสุดในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งเป็นหาดที่มีชื่อเสียงมากกว่าหาดอื่นๆในสมัยนั้น โดยโปรดเกล้าให้สร้างค่ายหลวงขึ้นเรียกว่า "ค่ายหลวงบางทะลุ" ตามชื่อของตำบลบางทะลุ ที่เป็นที่ตั้งโดยมี "พระตำหนักบริเวณริมหาดแห่งนี้เรียกว่า “พระตำหนักหาดเจ้าสำราญ” ภายหลังทรงหายจากพระประชวร ทรงได้เปลี่ยนชื่อตำบลเสียใหม่ ด้วยชื่อเดิมเห็นว่าไม่เป็นมงคล เป็น ตำบลหาดเจ้าสำราญ ตามชื่อของหาดแต่ต่อมาทรงได้ย้ายพระตำหนักไปยังจุดที่เป็น พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ในปัจจุบันเพราะหาดเจ้า สำราญมีแมลงวันชุมเนื่องจากพระตำหนักแห่งนี้ตั้งอยู่ใกล้หมู่บ้านชาวประมงทำให้พระตำหนักแห่งนี้มีแมลงวันชุมจนพระองค์แอบได้ยินข้าราชบริพารในพระองค์ บ่นว่า "หาดเจ้าสำราญแต่ข้าราชบริพารเบื่อ" และหาดแห่งนี้ขาดแคลนน้ำจืดจึงโปรดให้ย้ายไปในที่สุด หาดเจ้าสำราญ ตั้งอยู่ในตำบลหาดเจ้าสำราญ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ชายหาดแห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น่าไปพักผ่อนแห่งหนึ่ง มีบรรยากาศที่เงียบสงบ อากาศเย็นสบาย มีสัตว์ทะเลที่อุดมสมบูรณ์ ทั้ง ปูเสฉวน หอย แมงกะพรุน มีที่พักพร้อม มีร้านสะดวกซื้ออยู่ใกล้เคียง สามารถลงเล่นน้ำได้ ในบริเวณใกล้เคียงมีหมู่บ้านชาวประมง ชายหาดแห่งนี้ทรายถูกพัดถมขึ้นมามากขึ้นเรื่อยๆ จึงมีทรายที่ละเอียดมากในส่วนของต้นหาด ที่นี่จึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ไม่ต้องไปไกลมาก และมีความสวยงามมากแห่งหนึ่ง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและหาดเจ้าสำราญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชะอำ

อำ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัด ซึ่งมีหาดทรายขาว ยาว และยังเป็นแหล่งเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยวที่สำคัญ ซึ่งเป็นรายได้ให้กับด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการค้าของที่ระลึก ร้านอาหาร การประมง เป็นต้น นอกจากนี้ชะอำยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมจากชาวไทยและชาวต่างประเทศในระดับต้น ๆ ของประเทศไท.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอชะอำ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางสะพาน

งสะพาน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นที่มาของทองบางสะพาน ที่เลื่องชื่อ มีการร่อนที่ตำบลร่อนทอง บางสะพานเป็นอำเภอที่มีเศรษฐกิจที่ดีในระดับหนึ่งของประจวบคีรีขันธ์ เนื่องจากมีประชากรมาก และมีแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงาม ไม่ว่าจะเป็นชายทะเลบ้านกรูดหรือเกาะทะลุ ทำให้อำเภอบางสะพานเป็นที่รู้จักมากขึ้น.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอบางสะพาน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางสะพานน้อย

งสะพานน้อย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขัน.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอบางสะพานน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางแพ

งแพ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดราชบุรี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอบางแพ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางแก้ว

อำเภอบางแก้ว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอบางแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านลาด

อำเภอบ้านลาด เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบุรี ในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอเมืองเพชรบุรี ภายหลังได้แยกท้องที่ตั่งเป็นอำเภอ ชื่อ อำเภอท่าช้าง ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอบ้านล.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอบ้านลาด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านคา

อำเภอบ้านคา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดราชบุรี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอบ้านคา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านโป่ง

อำเภอบ้านโป่ง เป็นอำเภอสำคัญอำเภอหนึ่งในจังหวัดราชบุรี เดิมชื่อ อำเภอท่าผา ต่อมาได้ย้ายที่ว่าการอำเภอไปยังตำบลบ้านโป่งเพื่อให้ใกล้สถานีรถไฟบ้านโป่งมากขึ้น จึงเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอบ้านโป่ง ปัจจุบัน บ้านโป่งเป็นอำเภอเป็นศูนย์กลางความเจริญและการคมนาคมทางภาคตะวันตกของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการผลิตรถยนต์โดยสารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการผลิตปลาสวยงามที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และมีสถานีชุมทางรถไฟที่แยกไปได้ถึงสามเส้นทาง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอบ้านโป่ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพุทธมณฑล

อำเภอพุทธมณฑล เป็นอำเภอที่ตั้งขึ้นใหม่ที่สุดและมีพื้นที่น้อยที่สุดในจังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอพุทธมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกระทุ่มแบน

กระทุ่มแบน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรสาคร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอกระทุ่มแบน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกะเปอร์

กะเปอร์ ตั้งอยู่ในจังหวัดระนอง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอกะเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกุยบุรี

กุยบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งแยกออกมาจากอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ และได้รับจัดตั้งเป็นอำเภอเมื่อ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอกุยบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอรัตภูมิ

รัตภูมิ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกสุดของจังหวัดสงขลา ติดต่อกับอำเภอควนโดน จังหวัดสตูล เป็นอำเภอที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ ด้านตะวันออกเป็นที่ราบ แต่ด้านตะวันตกมีเทือกเขา คือ เขานครศรีธรรมราช มีป่าไม้ เรือกสวนไร่นา ซึ่งเหมาะในการทำการเกษตร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอรัตภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังวิเศษ

อำเภอวังวิเศษ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอวังวิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศรีนครินทร์

อำเภอศรีนครินทร์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอศรีนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสวนผึ้ง

วนผึ้ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดราชบุรี ซึ่งมีประชากรส่วนใหญ่ราวร้อยละ 90 เป็นชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยงที่อยู่ตามแนวตะเข็บชายแดน อำเภอสวนผึ้งมีรีสอร์ตและสถานที่พักตากอากาศหลายแห่ง ตลอดจนมีป่านานาพรรณที่ให้เข้าไปศึกษาหาความรู้ได้.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอสวนผึ้ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสะเดา

อำเภอสะเดา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา เป็นอำเภอหนึ่งที่มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย และเป็นเมืองเศรษฐกิจสำคัญมากที่สุดแห่งหนึ่งของชายแดนไทย-มาเลเซีย โดยมีด่านพรมแดนที่สำคัญถึง 2 ด่าน คือ พรมแดนไทย-มาเลเซีย (รัฐเกดะห์) (ด่านสะเดา) และพรมแดนไทย-มาเลเซีย (รัฐปะลิส) (ด่านปาดังเบซาร์) นอกจากนี้สะเดายังเปรียบเสมือนประตูสู่ประเทศไทยของชาวมาเลเซียและสิงคโปร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอสะเดา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสามพราน

อำเภอสามพราน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม มีแม่น้ำนครชัยศรีไหลผ่าน.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอสามพราน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสามร้อยยอด

มร้อยยอด เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขัน.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอสามร้อยยอด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสุขสำราญ

อำเภอสุขสำราญ ตั้งอยู่ในจังหวัดระนอง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอสุขสำราญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหัวหิน

หัวหิน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เดิมมีชื่อว่า "บ้านสมอเรียง" หรือ "บ้านแหลมหิน" ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) ได้ทรงสร้างวังไกลกังวลเพื่อประทับพักผ่อนในฤดูร้อน และปัจจุบันวังไกลกังวลนั้นเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบัน ทุกวันนี้หัวหินมีชื่อเสียงจากการเป็นสถานที่ท่องเที่ยวตากอากาศที่สามารถเที่ยวได้ใน 1 วัน และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครเพียง 196 กิโลเมตร หากใช้เส้นทางถนนพระรามที่ 2 ใช้เวลาประมาณ 2.5-3 ชั่วโมงหากโดยสารทางรถ หรือ 45 นาทีหากเดินทางโดยเครื่องบิน.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอหัวหิน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหาดใหญ่

อำเภอหาดใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสงขลา เป็นที่ตั้งของนครหาดใหญ่ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของภาคใต้ หาดใหญ่เป็นเมืองที่มีชื่อเสียงในหลายด้าน เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงโดยเฉพาะแถบประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย จีน และอินเดี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองหญ้าปล้อง

อำเภอหนองหญ้าปล้อง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอหนองหญ้าปล้อง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภออ่าวลึก

อำเภออ่าวลึก ตั้งอยู่ในจังหวัดกระบี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภออ่าวลึก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอจอมบึง

อมบึง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดราชบุรี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอจอมบึง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทับสะแก

ทับสะแก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขัน.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอทับสะแก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่ายาง

ท่ายาง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี ประชากรประมาณร้อยละ 80 เป็นเกษตรกร มีอาชีพปลูกพืช ผลผลิตหลักได้แก่ ข้าว กล้วยหอมทอง กล้วยไข่ กล้วยน้ำว้า มะนาว ชมพู่ อ้อย มะม่วง ถั่ว และมะพร้าว.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอท่ายาง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่าแซะ

ท่าแซะ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชุมพร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอท่าแซะ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท้ายเหมือง

ท้ายเหมือง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพังง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอท้ายเหมือง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอคลองหอยโข่ง

ลองหอยโข่ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอคลองหอยโข่ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอคลองท่อม

ลองท่อม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกระบี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอคลองท่อม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอคุระบุรี

ระบุรี ตั้งอยู่ในจังหวัดพังงา เดิมชื่อกิ่งอำเภอเกาะคอเขา แล้วได้เปลี่ยนเป็น อำเภอปากน้ำ.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอคุระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอตะกั่วทุ่ง

ตะกั่วทุ่ง เป็นอำเภอตั้งอยู่ในจังหวัดพังง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอตะกั่วทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอตะกั่วป่า

ตะกั่วป่า เป็นหนึ่งในแปดอำเภอของจังหวัดพังง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอตะกั่วป่า · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปราณบุรี

ปราณบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีทะเลที่สวยงามและเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่รู้จักและคึกคักที่สุดแห่งหนึ่งในจังหวั.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอปราณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปะทิว

อำเภอปะทิว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชุมพร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอปะทิว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปากท่อ

ปากท่อ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดราชบุรี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอปากท่อ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอป่าบอน

อำเภอป่าบอน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอป่าบอน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนาโยง

นาโยง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดตรัง เมื่อก่อนอำเภอนาโยงเป็นที่นาแปลงใหญ่ เรียกว่า "นาหลวง" หรือ "นาสามบึ้ง" และได้ตั้งเป็น กิ่งอำเภอนาโยง เมื่อวันที่ 1 เมษายน..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอนาโยง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนครชัยศรี

วามหมายอื่น ดูที่ มณฑลนครชัยศรี นครชัยศรี เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ มีเรื่องราวบันทึกไว้ตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี นอกจากนี้ยังมีการค้นพบโบราณวัตถุจำนวนหนึ่งในบริเวณอำเภอนครชัยศรี ปัจจุบันนครชัยศรีนับเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดนครปฐม และอยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอนครชัยศรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแก่งกระจาน

อำเภอแก่งกระจาน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งมีพื้นที่อาณาเขตมากที่สุดของจังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอแก่งกระจาน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโพธาราม

ราม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดราชบุรี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอโพธาราม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองชุมพร

อำเภอเมืองชุมพร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชุมพร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอเมืองชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองพัทลุง

อำเภอเมืองพัทลุง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอเมืองพัทลุง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองพังงา

อำเภอเมืองพังงา ตั้งอยู่ในจังหวัดพังง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอเมืองพังงา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสงขลา

มืองสงขลา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอเมืองสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองตรัง

มืองตรัง ในอดีตเคยเป็นเมืองท่าค้าขายกับต่างประเทศ เป็นเมืองแรกที่มีต้นยางพารา โดยพระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ได้นำพันธุ์มาจากมาเลเซียมาปลูกเป็นแห่งแรกของภาคใต้ เมื่อปี พ.ศ. 2442 และถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธคิดเป็นร้อยละ 93 นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 5 และอื่น ๆ ร้อยละ 2.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์

นสิงขร เมืองประจวบคีรีขันธ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขัน.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองเพชรบุรี

อำเภอเมืองเพชรบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครองการบริหาร เศรษฐกิจ และการศึกษาของจังหวัดเพชรบุรี มีอาณาบริเวณเป็นที่ราบ มีภูเขาหินปูนโดดบ้างเล็กน้อย มีชายหาดที่ขึ้นชื่อคือ "หาดเจ้าสำราญ" มีแม่น้ำซึ่งเป็นที่ตั้งของชุมชนคนเมืองเพชรบุรีมาแต่สมัยโบราณไหลผ่านกลางอำเภอ นั่นคือ "แม่น้ำเพชร" และหากมองจากเขตเทศบาล จะปรากฏ "เขาวัง" หรือ "พระนครคีรี" ตั้งตระหง่านบนยอดเขาสามลูก อีกทั้งยังมีพระปรางค์ 5 ยอด อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองในสมัยโบราณด้ว.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอเมืองเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเหนือคลอง

อำเภอเหนือคลอง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกระบี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอเหนือคลอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเขาชัยสน

อำเภอเขาชัยสน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอำเภอเขาชัยสน · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี เป็นพระราชวังฤดูร้อนที่สร้างขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่กึ่งกลางวงเวียนระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย การก่อสร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเริ่มขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 ในสมัยจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเป็นผลงานการออกแบบของหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล อันเป็นแบบที่ชนะการประกวดการออกแบบอนุสาวรีย์แห่งนี้ การออกแบบได้นำสถาปัตยกรรมแบบไทยมาผสมผสาน ตรงกลางเป็นสมุดไทยที่สื่อถึงรัฐธรรมนูญประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า นอกจากการเป็นสัญลักษณ์เพื่อระลึกถึงประชาธิปไตยนั้น อนุสาวรีย์แห่งนี้ ยังเป็นหลักกิโลเมตรที่ศูนย์ของกรุงเทพมหานครและประเทศไทยอีกด้วย อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยได้ใช้เป็นพื้นที่สำคัญของการชุมนุมทางการเมืองหลายครั้ง อาทิ การชุมนุมของประชาชนและนักศึกษาใน เหตุการณ์ 14 ตุลา, การชุมนุมของประชาชนในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553, การชุมนุมคัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ พ.ศ. 2556 เป็นต้น.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชุมพร

มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ. 1997 รัชสมัยแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงว่า เมืองชุมพรเป็นเมืองตรี อาณาจักรฝ่ายใต้ของราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในช่วงนี้ชนชาติจาม แห่งราชอาณาจักรจามปา ถูกชาวเวียดนามรุกราน ชาวจามกลุ่มนี้อพยพเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาครั้งแรก ปรากฏว่ามี "อาสาจาม" ในแผ่นดินนี้ เพื่อการขยายอาณานิคมของกรุงศรีอยุธยา ส่วนหนึ่งต้องมารักษาด่านเมืองชุมพร ซึ่งเป็นเมืองตรี และตั้งชาวจาม เป็นเจ้าเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้ขึ้นตรงต่อกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วย ชาวจาม มีความสามารถในการรบ ที่มีชื่อเสียง เช่น กองอาสาจาม เป็นทหารชั้นดี มีวินัย เชี่ยวชาญการเดินเรือ รับใช้ราชสำนักมานาน และเก่งการค้ามาหลายพันปี และต่อมาระหว่าง ปี พ.ศ. 2173 - 2199 ในแผ่นดิน พระเจ้าปราสาททองแห่งราชอาณาจักกรุงศรีอยุธยา ได้กวาดต้อนชาวเมืองแถง หรือ (เดียนเบียนฟู) อยู่ในประเทศเวียดนาม และชาวเมืองพงสาลี อยู่ในประเทศลาว มาเป็นพลเมือง เมืองชุมพร เมืองปะทิว(อำเภอปะทิว) เพื่อทำการเกษตรกรรม และเมืองท่าการค้าสำคัญ ตั้งแต่นั้นมา เดิมชาวจามนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พ.ศ. 1400 นับถือศาสนาพุทธมหายาน และเมื่อค้าขายกับอาหรับก็นับถือ ศาสนาอิสลาม แต่ชาวจามที่มาอยู่เมืองชุมพร ต่อมานับถือ ศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรม ประเพณี เหมือนกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปกว่า 500 -600 ปี ที่ชาวจาม เข้าปกครองเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้จนแทบจะไม่เหลือวัฒนธรรมเดิมเลย เช่น ข้าวต้มใบพ้อ ที่ใช้ในงานมงคล เช่นเดียวกับชาวมุสลิม บ้านกาลอ ตำบลกาลอ อำเภอรามัญ จังหวัดยะลา ก็สูญหายไม่ได้ใช้ในงานมงคลแล้ว.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพัทลุง

ัทลุง เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย เคยเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่แห่งหนึ่ง และยังมีสภาพภูมิประเทศทั้งที่ราบ เนินเขา และชายฝั่ง โดยทางทิศตะวันตกของจังหวัด จะเป็นพื้นที่ที่ราบสูงและที่ราบเชิงเขา อันเนื่องมาจากมีพื้นที่ติดต่อกับเทือกเขานครศรีธรรมราช ถัดลงมาทางตอนกลางและทางทิศตะวันออกของจังหวัด จรดทะเลสาบสงขลาจะเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การทำการเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำนาข้าว ชาวภาคใต้จะเรียกจังหวัดนี้ว่า เมืองลุง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดพัทลุง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพังงา

ังงา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ฝั่งตะวันตกของประเทศไท.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดพังงา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกระบี่

กระบี่ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของภาคใต้ มีแหล่งท่องเที่ยวหลายแห่ง เช่น หาดทรายขาว น้ำทะเลใส ปะการัง ถ้ำ และหมู่เกาะน้อยใหญ่กว่า 100 เกาะ และเป็นที่ตั้งของเรือนรับรองที่ประทับแหลมหางน.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดกระบี่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาญจนบุรี

ังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ จรดจังหวัดตากและจังหวัดอุทัยธานี ทิศใต้ จรดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก จรดจังหวัดสุพรรณบุรีและนครปฐม ทิศตะวันตก จรดประเทศพม.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดกาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดภูเก็ต

ูเก็ต เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในทะเลอันดามัน จังหวัดที่ใกล้เคียงทางทิศเหนือ คือ จังหวัดพังงา ทางทิศตะวันออก คือ จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ ทั้งเกาะล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดีย และยังมีเกาะที่อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดภูเก็ตทางทิศใต้และตะวันออก การเดินทางเข้าสู่ภูเก็ตนอกจากทางเรือแล้ว สามารถเดินทางโดยรถยนต์ซึ่งมีเพียงเส้นทางเดียวผ่านทางจังหวัดพังงา โดยข้ามสะพานสารสินและสะพานคู่ขนาน คือ สะพานท้าวเทพกระษัตรีและสะพานท้าวศรีสุนทร เพื่อเข้าสู่ตัวจังหวัด และทางอากาศโดยมีท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตรองรับ ท่าอากาศยานนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ คำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่าภูเขา) และคำว่า "ภูเขา" ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า "บูเก๊ะ" หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดระนอง

ระนอง เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันตกของภาคใต้ มีพื้นที่ประมาณ 2,141,250 ไร่ มีพื้นที่ติดต่อทางตะวันออกติดต่อกับจังหวัดชุมพร ทางใต้ติดกับจังหวัดสุราษฎร์ธานีและจังหวัดพังงา ทางตะวันตกติดกับประเทศพม่าและทะเลอันดามัน มีลักษณะพื้นที่เรียวและแคบ มีความยาวถึง 169 กิโลเมตร และมีความแคบในบริเวณอำเภอกระบุรี เพียง 9 กิโลเมตร ระนองเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติความเป็นมายาวนานนับตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ เดิมเป็นหัวเมืองขนาดเล็กขึ้นกับเมืองชุมพร คำว่าระนองเพี้ยนมาจากคำว่า แร่นอง เนื่องจากในพื้นที่จังหวัดมีแร่อยู่มากม.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดระนอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสาคร

ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสงคราม

ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ. 2550 ผลการสำรวจดัชนีความมั่นคงของมนุษย์พบว่า สมุทรสงครามเป็นจังหวัดที่มีความมั่นคงของมนุษย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตรัง

ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดตรัง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรูปร่างยาวในแนวเหนือ-ใต้ และแคบในแนวตะวันออก-ตะวันตก โดยมีส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทย ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดอยู่ที่เทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ ในขณะที่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลเมืองหัวหิน.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนบรมราชชนนี

นนบรมราชชนนี (Thanon Borommaratchachonnani) เป็นเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร ระหว่างเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร และอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ระยะทางรวม 33.984 กิโลเมตร เฉพาะส่วนที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 สายอรุณอมรินทร์–นครชัยศรี และมีระยะทาง 31.265 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนบางแค

นนบางแค (Thanon Bang Khae) เป็นถนนในฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เดิมมีชื่อเรียกว่า "ถนนสุขาภิบาล 1" และ "ถนนบางแค-บางบอน" เริ่มต้นจากถนนเพชรเกษมช่วงแยกบางแคในท้องที่แขวงบางแค เขตบางแค ไปทางทิศใต้ ตัดกับถนนกัลปพฤกษ์ ไปสิ้นสุดที่สะพานข้ามคลองบางโคลัดซึ่งเป็นคลองที่แบ่งเขตระหว่างเขตบางแคกับเขตบางบอน ซึ่งจากจุดนี้ไปก็จะเป็นถนนบางบอน 1.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนบางแค · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 2

นนพระรามที่ 2 (Thanon Rama II) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 สายธนบุรี–ปากท่อ เป็นถนนที่ตัดผ่านกรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดราชบุรี เป็นเส้นทางหลักที่มุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย และยังเป็นหนึ่งในถนนพระรามทั้ง 7 สาย ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ยกเว้นถนนพระรามที่ 2 ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ถนนพระรามที่ 2 มีระยะทางรวม 84.041 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนพระรามที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธมณฑล สาย 1

นนพุทธมณฑล สาย 1 (Thanon Phutthamonthon Sai 1) เป็นถนนสายหนึ่งในท้องที่เขตภาษีเจริญและเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ถนนเพชรเกษม ซ้อนทับแนวซอยเพชรเกษม 60/2 เดิม มุ่งตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนบางแวกและถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 ซ้อนทับและตัดผ่านแนวถนนพุทธมณฑล สาย 1 (สายเดิม) ซึ่งมีลักษณะคดเคี้ยว จากนั้นตัดกับถนนบรมราชชนนีและถนนสวนผัก ไปสิ้นสุดที่ทางรถไฟสายใต้ โครงการถนนพุทธมณฑล สาย 1 เกิดขึ้นพร้อมกับโครงการจัดตั้งพุทธมณฑลเพื่อฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ทางราชการได้เวนคืนที่ดินโดยจ่ายเงินบางส่วนแก่เจ้าของที่ดิน แต่ทิ้งการดำเนินการไว้เป็นเวลานานจึงกลับมาดำเนินการต่อ ทำให้เกิดข้อพิพาทกับเอกชนเจ้าของที่ดิน เป็นปัญหายืดเยื้อทำให้ไม่อาจสร้างถนนได้เป็นเวลานานมากจนบางคนเรียกว่า "ถนนเจ็ดชั่วโคตร" ต่อมากรุงเทพมหานครได้ยินยอมจ่ายค่าเวนคืนที่ดินในอัตราที่เป็นที่พอใจของเจ้าของที่ดิน จึงดำเนินการก่อสร้างต่อได้ ปัจจุบันใช้สัญจรได้แล้ว.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 1 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธมณฑล สาย 2

นนพุทธมณฑล สาย 2 (Thanon Phutthamonthon Sai 2) เป็นถนนสายสำคัญในท้องที่เขตบางแค และเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ถนนเพชรเกษม มุ่งตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับซอยพุทธมณฑล สาย 2 ซอย 7 และซอยพุทธมณฑล สาย 2 ซอย 10, ถนนบางแวก, ถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก, ถนนสุขาภิบาลบางระมาด, ซอยพุทธมณฑล สาย 2 ซอย 21/1 และซอยพุทธมณฑล สาย 2 ซอย 24, ถนนบรมราชชนนี และถนนศาลาธรรมสพน์ ไปสิ้นสุดที่ทางรถไฟสายใต้ บริเวณป้ายหยุดรถไฟพุทธมณฑลสาย 2 เดิมถนนพุทธมณฑล สาย 2 เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจร มีคูน้ำสองข้างถนนตลอดแนว ปัจจุบันคูน้ำถูกถมเพื่อขยายถนนเป็น 6 ช่องจราจรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 2 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธมณฑล สาย 3

นนพุทธมณฑล สาย 3 (Thanon Phutthamonthon Sai 3) เป็นถนนสายสำคัญในท้องที่เขตหนองแขม เขตบางแค และเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ถนนเพชรเกษม มุ่งตรงไปทางทิศเหนือโดยช่วงแรกซ้อนทับแนวซอยเพชรเกษม 104 เดิม จากนั้นเป็นถนนตัดใหม่ ข้ามถนนทวีวัฒนา ตัดกับซอยพุทธมณฑล สาย 3 ซอย 13 และซอยพุทธมณฑล สาย 3 ซอย 14, ถนนบางแวก, ถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก, ซอยทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษก 24 และถนนเลียบคลองบางพรม, ถนนอุทยาน, ถนนบรมราชชนนี และถนนศาลาธรรมสพน์ ไปสิ้นสุดที่คลองบางคูเวียง เดิมถนนพุทธมณฑล สาย 3 เป็นถนน 2 ช่องจราจร ปัจจุบันขยายเป็น 6 ช่องจราจรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 3 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธมณฑล สาย 4

right ถนนพุทธมณฑล สาย 4 (Thanon Phutthamonthon Sai 4) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3310 สายกระทุ่มล้ม - พุทธมณฑล เป็นถนนผิวแอสฟัลต์คอนกรีตขนาด 8 ช่องจราจร มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ทางหลวงชนบท นฐ.4006 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ผ่านมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา ทางแยกต่างระดับศาลายา (ตัดกับถนนบรมราชชนนี) วิทยาลัยราชสุดา ผ่านถนนอุทยาน พุทธมณฑล สถานีวิทยุพระพุทธศาสนาแห่งชาติ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ ไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษมบริเวณสี่แยกสาครเกษม ตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ระยะทาง 10.814 กิโลเมตร ปัจจุบันทางหลวงแผ่นดินดังกล่าวอยู่ในความดูแลของหมวดการทางกระทุ่มแบน แขวงการทางสมุทรสาคร ยกเว้นตั้งแต่หลักกิโลเมตรที่ 0 ถึงหลักกิโลเมตรที่ 1+680 อยู่ในความดูแลของเทศบาลนครอ้อมน้อ.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 4 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธมณฑล สาย 5

ถนนพุทธมณฑล สาย 5 (Thanon Phutthamonthon Sai 5) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3414 สายอ้อมน้อย - ศาลายา มีจุดเริ่มต้นตั้งตำบลศาลายา จังหวัดนครปฐม วิทยาลัยนาฏศิลป์ หอภาพยนตร์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตศาลายา คลองวัฒนา จนถึงแยกอ้อมน้อย ถนนเพชรเกษม อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เดิมเป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจร ปัจจุบันได้มีการขยายถนนเป็น 6 ช่องจราจร พร้อมกับมีการสร้างสะพานข้ามถนนบรมราชชนนี แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2559 หมวดหมู่:โครงการพุทธมณฑล 3414 4-3414 พุทธมณฑล สาย 5 พุทธมณฑล สาย 5.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 5 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธมณฑล สาย 6

นนพุทธมณฑล สาย 6 (Thanon Phutthamonthon Sai 6) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3316 สายไร่ขิง - ทรงคนอง มีจุดเริ่มต้นตั้งอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม บริเวณแยกถนนบรมราชชนนี-ถนนร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 6 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธมณฑล สาย 7

ถนนพุทธมณฑล สาย 7 (Thanon Phutthamonthon Sai 7) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3415 สายสามพราน - แม่น้ำนครชัยศรี มีจุดเริ่มต้นตั้งแต่แม่น้ำท่าจีน ตำบลศาลายา จังหวัดนครปฐม จนถึงถนนเพชรเกษม จังหวัดนครปฐม ใกล้กับโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ หมวดหมู่:โครงการพุทธมณฑล 3415 4-3415 พุทธมณฑล สาย 7.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธมณฑล สาย 7 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพุทธสาคร

นนพุทธสาคร (Thanon Phutthasakhon) หรือ ทางหลวงชนบท.1018 บางครั้งเรียกว่า "ถนนพุทธมณฑล สาย 4 ตัดใหม่" เป็นถนนที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท เชื่อมต่อระหว่างถนนเศรษฐกิจ 1 (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3091) ไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษม (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4) และถนนพุทธมณฑล สาย 4 (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3310) ตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ระยะทางประมาณ 7.445 กิโลเมตร เดิมเป็นโครงการถนนลาดยางสาย ง 1 ผังเมืองรวมเมืองกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2547 ประกอบด้วยถนนแอสฟัลต์คอนกรีตขนาด 4 ช่องจราจร และสะพานทางแยกต่างระดับกระทุ่มแบน ต่อมากรมทางหลวงชนบทได้ก่อสร้างสะพานข้ามแยกตัดกับถนนเพชรเกษม แล้วเสร็จเมื่อเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนพุทธสาคร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกัลปพฤกษ์

นนกัลปพฤกษ์ (Thanon Kanlapaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท กท.1001 เป็นเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยเป็นถนนคอนกรีตขนาด 4 ช่องจราจร เชื่อมต่อระหว่างถนนราชพฤกษ์กับถนนกาญจนาภิเษก.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนกัลปพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกาญจนาภิเษก

นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมาลัยแมน

นนมาลัยแมน หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 321 สายนครปฐม–สุพรรณบุรี เป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร ไป-กลับ มีจุดเริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 บริเวณสามแยกมาลัยแมน อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ผ่านอำเภอกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน เข้าสู่เขตจังหวัดสุพรรณบุรี ผ่านอำเภอสองพี่น้อง อำเภออู่ทอง สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ในเขตอำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี ระยะทางรวม 106.273 กิโลเมตร ถนนมาลัยแมนเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายนครปฐม-สุพรรณบุรี" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนมาลัยแมน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนรัชดาภิเษก

นนรัชดาภิเษก (Thanon Ratchadaphisek) เป็นถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพมหานคร เริ่มจากสะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่ ผ่านสะพานกรุงเทพ ตัดผ่านถนนพระรามที่ 3 ถนนสุขุมวิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม 9 ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนประชาชื่น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ข้ามสะพานพระราม 7 เข้าเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ลอดใต้สะพานพระราม 6 เข้าเขตกรุงเทพมหานคร รวมกับถนนจรัญสนิทวงศ์ และมาบรรจบที่ทางแยกท่าพร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนรัชดาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชพฤกษ์

นนราชพฤกษ์ (Thanon Ratchaphruek) หรือ ทางหลวงชนบท น.3021 สายราชพฤกษ์ เป็นถนนที่ทอดยาวจากกรุงเทพมหานครสู่จังหวัดนนทบุรี เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญสายหนึ่ง โดยสามารถเดินทางจากถนนสาทรถึงอำเภอบางบัวทองได้โดยไม่ต้องผ่านทางแยกสัญญาณไฟจราจร (ไม่ติดไฟแดง) แม้แต่แห่งเดียว.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)

นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

ถนนจรัญสนิทวงศ์

นนจรัญสนิทวงศ์ (Thanon Charan Sanit Wong) เป็นถนนในฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนเพชรเกษม ที่สี่แยกท่าพระ ในแขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ ตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพาณิชยการธนบุรี (จรัญสนิทวงศ์ 13) ที่สามแยกพาณิชยการธนบุรี จากนั้นข้ามคลองมอญ เข้าสู่พื้นที่แขวงบางขุนศรี เขตบางกอกน้อย ตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนพรานนกที่สามแยกไฟฉาย จากนั้นโค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับทางรถไฟสายใต้ (จากสถานีรถไฟธนบุรี) เข้าแขวงบางขุนนนท์ ตัดกับถนนบางขุนนนท์ที่สามแยกบางขุนนนท์ จากนั้นข้ามคลองบางกอกน้อยเข้าสู่แขวงอรุณอมรินทร์ ตัดกับถนนบรมราชชนนีที่สี่แยกบรมราชชนนีเข้าสู่พื้นที่เขตบางพลัด โดยเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงบางบำหรุกับแขวงบางยี่ขันไปจนตัดกับถนนสิรินธรและถนนราชวิถีที่สี่แยกบางพลัด จากนั้นจึงเข้าสู่แขวงบางพลัด มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบางพลัดเข้าสู่พื้นที่แขวงบางอ้อ และไปสิ้นสุดที่เชิงสะพานพระราม 7 ในพื้นที่ตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่หลวงจรัญสนิทวงศ์ (ม.ล.จรัญ สนิทวงศ์) อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม เดิมกรุงเทพมหานครติดป้ายชื่อถนนว่า "ถนนจรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์" ตามนามของหลวงจรัญสนิทวงศ์ ปัจจุบันถนนสายนี้เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันถนนจรัญสนิทวงศ์ตลอดทั้งสายกำลังมีการก่อสร้างรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายสัญญาที่ 3 ช่วงสถานีเตาปูนถึงสี่แยกท่าพระ เป็นลักษณะรถไฟฟ้าแบบลอยฟ้าเช่นเดียวกับรถไฟฟ้าบีทีเอสและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (เชื่อมต่อกับสายฉลองรัชธรรมที่สถานีเตาปูน) เริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนจรัญสนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนตรีเพชร

นนตรีเพชร ช่วงแยกเฉลิมกรุง หน้าศาลาเฉลิมกรุง ถนนตรีเพชร (Thanon Tri Phet) เป็นถนนในท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนเจริญกรุง (แยกเฉลิมกรุง ตรงข้ามถนนตีทอง) ไปทางทิศใต้ ตัดกับถนนพาหุรัดที่แยกพาหุรัด แล้วตรงไปถึงเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ซึ่งถนนจักรเพชรตัดผ่าน ถนนตรีเพชรเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพชรุตม์ธำรง พระราชโอรสซึ่งประสูติจากสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ และสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2430 ขณะพระชันษา 7 ปี และพระราชทานชื่อถนนว่า "ถนนตรีเพชร" เดิมนั้นถนนตรีเพชรเริ่มต้นตั้งแต่ถนนเจริญกรุงจดถนนพาหุรัด ต่อมาใน พ.ศ. 2441 โปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนตรีเพชรต่อจากถนนพาหุรัดถึงถนนจักรเพชร และใน พ.ศ. 2475 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีงานฉลองพระนคร 150 ปี พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานพระพุทธยอดฟ้าขึ้นในแนวตรงจากถนนตรีเพชร จึงให้ขยายถนนตรีเพชรตั้งแต่ช่วงจดถนนพาหุรัดถึงช่วงจดถนนจักรเพชร ปัจจุบันถนนตรีเพชรมีระยะทางรวม 650 เมตร โดยผ่านสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น วัดราชบุรณราชวรวิหาร, ห้างไนติงเกล, ดิโอลด์สยามพลาซ่า และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นต้น ตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนตรีเพชร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนตีทอง

นนตีทอง (Thanon Ti Thong) เป็นถนนในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนบำรุงเมือง (แยกเสาชิงช้า) ท้องที่แขวงวัดราชบพิธ ไปทางทิศใต้ ข้ามคลองหลอดวัดราชบพิธเข้าสู่ท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ ไปจนถึงถนนเจริญกรุง (แยกเฉลิมกรุง) ถนนตีทองสร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นถนนสายสั้น ๆ เชื่อมระหว่างถนนเจริญกรุงกับถนนบำรุงเมือง ซึ่งเป็นถนนที่สร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถนนสายนี้ตัดผ่านย่านของชุมชนที่มีอาชีพทำทองคำเปลว จึงเรียกว่า "ถนนตีทอง" โดยบรรพบุรุษของชาวชุมชนนั้นเป็นชาวลาวที่อพยพมาจากเวียงจันทร์และหลวงพระบาง ตั้งแต่ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ถนนตีทองมีความยาว 525 เมตร ต้นถนนจดถนนบำรุงเมืองก่อนถึงลานเสาชิงช้า หัวมุมถนนด้านตะวันออกเป็นที่ตั้งของวัดสุทัศนเทพวราราม ฟากตะวันตกของถนนมีซอย ซึ่งยังเหลือชื่อว่าเป็นแหล่งทำทองคือ "ซอยเฟื่องทอง" และปัจจุบันเป็นแหล่งรวมร้านค้าเสื้อผ้าเครื่องแบบและยศประดับของข้าราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะทหาร และตำรวจ รวมถึงถ้วยรางวัลต่าง ๆ อีกด้ว.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนตีทอง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนประชาธิปก

นนประชาธิปก ถนนประชาธิปก (Thanon Prajadhipok) เป็นถนนสายสำคัญในพื้นที่เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยมีจุดเริ่มต้นจากวงเวียนใหญ่ ตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในพื้นที่แขวงหิรัญรูจี ผ่านทางแยกบ้านแขก (ตัดกับถนนอิสรภาพ) และเข้าพื้นที่แขวงวัดกัลยาณ์ ข้ามคลองสมเด็จเจ้าพระยา ผ่านวงเวียนเล็ก (ตัดกับถนนอรุณอมรินทร์และถนนสมเด็จเจ้าพระยา) หลังจากนั้นถนนจะแยกออกเป็นสามทาง ทางแรกมุ่งหน้าข้ามสะพานพระปกเกล้า เชื่อมกับถนนจักรเพชรในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร และทางที่สองมุ่งหน้าข้ามสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ เชื่อมกับถนนตรีเพชรในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร และทางที่สามมุ่งวัดประยุรวงศาวาส ไปสิ้นสุดที่ใต้สะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ โดยมีแนวถนนที่ต่อเนื่องไปคือถนนพญาไม้ในพื้นที่แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน ระยะทางจากวงเวียนใหญ่ถึงสะพานพระปกเกล้ายาวประมาณ 900 เมตร และยังเป็นเส้นแบ่งระหว่างเขตธนบุรี (ฝั่งขาเข้าเมือง) กับเขตคลองสาน (ฝั่งขาออกเมือง) อีกด้วย ถนนประชาธิปกเป็น "ถนนสายที่ 1" ในโครงการตัดและขยายถนน 11 สายในจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนครเพื่อรองรับการก่อสร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า) เมื่อปี พ.ศ. 2472 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น เพื่อตัดและขยายถนนฝั่งจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร พ.ศ. 2473 ได้กำหนดแนวเส้นทางถนนสายที่ 1 ไว้ตั้งแต่เชิงสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ ตัดกับถนนสายที่ 2 (ปัจจุบันคือถนนอรุณอมรินทร์และถนนสมเด็จเจ้าพระยา) ถนนสายที่ 3 (ปัจจุบันคือถนนอิสรภาพ) และถนนสายที่ 4 (ปัจจุบันคือถนนอินทรพิทักษ์และถนนลาดหญ้า) ไปจนถึงคลองดาวคะนอง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเสนอชื่อถนนสายที่ 1 ของโครงการนี้ถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า "ถนนพระปกเกล้า" และ "ถนนประชาธิปก" เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระนามเดิมคือสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์) ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาและสร้างถนนเชื่อมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนคร เมื่อพระองค์มีพระบรมราชวินิจฉัยแล้วได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อถนนสายนี้ว่า ถนนประชาธิปกกนกวลี ชูชั.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนประชาธิปก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนประจวบคีรีขันธ์

นนประจวบคีรีขันธ์ (Thanon Prachuap Khiri Khan) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 326 สายทางเข้าประจวบคีรีขันธ์ - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนประจวบคีรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนแสงชูโต

นนแสงชูโต หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 สายหนองตะแคง–เจดีย์สามองค์ บ้างก็เรียก ถนนบ้านโป่ง–กาญจนบุรี–ด่านเจดีย์สามองค์ เป็นทางหลวงแผ่นดินในภาคตะวันตกของประเทศไทย เริ่มต้นจากถนนเพชรเกษม ผ่านจังหวัดราชบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เชื่อมต่อกับประเทศพม่า ที่ด่านเจดีย์สามองค์ ระยะทางรวม 287.167 กิโลเมตร (อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง 276.991 กิโลเมตร) ก่อสร้างขึ้นเพื่อรองรับการคมนาคมทางบกนอกเหนือจากทางรถไฟสายธนบุรี–น้ำตก ซึ่งเป็นทางรถไฟเก่าแก่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และทางเรือผ่านแม่น้ำแคว.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนแสงชูโต · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเศรษฐกิจ 1

นนเศรษฐกิจ 1 (Thanon Setthakit 1) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3091 สายอ้อมน้อย - สมุทรสาคร เป็นถนนแอสฟัลต์คอนกรีตขนาด 4-6 ช่องจราจรไป-กลับ แยกจากถนนเพชรเกษมที่ตำบลอ้อมน้อย อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร แยกไปทางซ้ายที่สามแยกกระทุ่มแบน ผ่านทางต่างระดับกระทุ่มแบน บรรจบกับถนนพุทธสาคร (ทางหลวงชนบท สค.4018) แยกไปทางขวา เข้าสู่เขตอำเภอเมืองสมุทรสาคร ผ่านทางแยกต่างระดับมหาชัย ตัดกับถนนพระรามที่ 2 (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35) สิ้นสุดที่สี่แยกมหาชัย ตำบลมหาชัย อำเภอเมืองสมุทรสาคร รวมระยะทางที่ควบคุมโดยกรมทางหลวง 19.8 กิโลเมตร (ไม่นับรวมทางของเทศบาลนครสมุทรสาคร) ผ่าน 2 อำเภอ คืออำเภอเมืองสมุทรสาคร (ตำบลมหาชัย ตำบลท่าทราย ตำบลนาดี) และอำเภอกระทุ่มแบน (ตำบลคลองมะเดื่อ ตำบลท่าไม้ และตำบลอ้อมน้อย) ถนนเศรษฐกิจ 1 ตั้งแต่กิโลเมตรที่ 0+000 ถึงกิโลเมตรที่ 19+851 ปัจจุบันอยู่ในความควบคุมของหมวดการทางสมุทรสาครที่ 2 แขวงการทางสมุทรสาคร กรมทางหลวง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนเศรษฐกิจ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเอกชัย

นนเอกชัย (Thanon Ekkachai) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3242 สายต่อทางขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร - ต่อทางของกรุงเทพมหานคร เป็นเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรสาคร เริ่มต้นจากถนนจอมทองบริเวณสะพานคลองด่านในพื้นที่เขตจอมทอง ผ่านถนนกำนันแม้น ข้ามคลองวัดสิงห์เข้าพื้นที่เขตบางบอน จากนั้นตัดกับถนนบางบอน 1 ถนนบางขุนเทียน ถนนกาญจนาภิเษก ถนนบางบอน 3 และถนนบางบอน 5 ผ่านโรงเรียนศึกษานารีวิทยา เข้าเขตอำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ผ่านวัดโพธิ์แจ้ ถนนเทพกาญจนา ถนนเลียบคลองสี่วาพาสวัสดิ์ ข้ามสะพานตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 บริเวณมหาชัยเมืองใหม่ เข้าสู่เขตเทศบาลนครสมุทรสาคร ผ่านถนนเศรษฐกิจ 1 สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 กิโลเมตรที่ 30 ระยะทางจากถนนบางขุนเทียนประมาณ 23 กิโลเมตร ถนนเอกชัยนับตั้งแต่กิโลเมตรที่ 0 ถึงกิโลเมตรที่ 1+191 มีองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาครเป็นผู้ดูแล นับตั้งแต่กิโลเมตรที่ 1+191 ถึงกิโลเมตรที่ 13+746 อยู่ในความดูแลของหมวดทางหลวงสมุทรสาครที่ 2 แขวงทางหลวงสมุทรสาคร ต่อจากนั้นตั้งแต่กิโลเมตรที่ 13+746 ถึงกิโลเมตรที่ 19+650 อยู่ในความดูแลของหมวดทางหลวงบางขุนเทียน แขวงทางหลวงธนบุรี ก่อนเส้นทางที่เหลือจนถึงถนนจอมทองจะอยู่ในความดูแลของกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและถนนเอกชัย · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายใต้

ทางรถไฟสายใต้ เป็นทางรถไฟที่เริ่มต้นจากสถานีรถไฟธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผ่านจังหวัดนครปฐม, ราชบุรี, เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์, ชุมพร, สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช, พัทลุง, สงขลา, ปัตตานี, ยะลา และไปสุดปลายทางที่สถานีรถไฟสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส และไปบรรจบกับทางรถไฟของประเทศมาเลเซีย ที่สถานีรถไฟรันเตาปันจาง ทางรถไฟสายใต้สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจากสถานีรถไฟธนบุรีถึงสถานีรถไฟเพชรบุรี ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ขยายเส้นทางไปภาคใต้และสร้างทางแยกที่สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สะพานพระรามหกไปบรรจบกันที่สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน เพื่อเชื่อมทางรถไฟสายใต้กับทางรถไฟสายเหนือ ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ และสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ความยาวของทางรถไฟสายใต้ นับจากสถานีรถไฟธนบุรี ถึง ชายแดนไทย-มาเลเซีย ที่อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส รวมทั้งสิ้น 1,144.29 กิโลเมตร เป็นทางรถไฟสายที่ยาวที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางรถไฟสายใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงชนบท กบ.1002

ทางหลวงชนบท ก. 1002 สายแยกทางหลวงหมายเลข 4 (กม.ที่ 934+700) - บ้านบางทราย เป็นทางลัดที่เชื่อมสู่ จังหวัดพังงา และ จังหวัดกระบี่ มีความยาวประมาณ 23 กิโลเมตร อยู่ในจังหวัดพังงาประมาณ 5 กิโลเมตร และอยู่ในจังหวัดกระบี่ประมาณ 18 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงชนบท กบ.1002 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 325

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 325 สายบางแพ - สมุทรสงคราม เป็นทางหลวงแผ่นดินเชื่อมต่อระหว่างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 กับจังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อรองรับการคมนาคมทางบก หลังจากที่ในสมัยก่อนมีการสัญจรคมนาคมทางน้ำเป็นหลัก โดยเฉพาะแม่น้ำแม่กลองและคลองดำเนินสะดวก ไม่ปรากฏแน่ชัดถึงการก่อสร้างว่าเกิดขึ้นในสมัยใด แต่เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2493 ในสมัยที่จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการตั้งชื่อทางหลวงแผ่นดินสายบางแพ-ดำเนินสะดวก-สมุทรสงคราม ให้ขนานนามว่า ถนนชูศักดิ์ เพื่อเป็นเกียรติแก่ นายชูศักดิ์ คชเสนี แต่ประชาชนที่สัญจรไปมากลับเรียกว่า ถนนสายสมุทรสงคราม-บางแพ จนถึงปัจจุบัน ทางหลวงสายนี้มีจุดเริ่มต้นที่สี่แยกบางแพ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ผ่านสี่แยกหัวโพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3236 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3237) เข้าเขตอำเภอดำเนินสะดวก ผ่านสี่แยกดอนคลัง (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3336) ผ่านทางแยกตลาดน้ำคลองลัดพลี คลองดำเนินสะดวก ผ่านทางแยกตลาดน้ำดำเนินสะดวก ต่อด้วยทางเข้าอำเภออัมพวา สิ้นสุดเส้นทางที่ทางแยกสมุทรสงคราม บริเวณทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3092 (ถนนเอกชัย) ระยะทาง 42.406 กิโลเมตร ต่อมาเมื่อถนนพระรามที่ 2 ก่อสร้างแล้วเสร็จ ได้มีการก่อสร้างถนนทางเข้าเมืองสมุทรสงคราม ระยะทางประมาณ 1.347 กิโลเมตร ปัจจุบันได้มีการพัฒนาทางหลวงสายนี้เป็น 4-6 ช่องจราจรตลอดสาย อยู่ในความควบคุมของแขวงทางหลวงสมุทรสงคราม สำนักงานทางหลวงที่ 15 (ประจวบคีรีขันธ์) และถนนทางเข้าเมืองสมุทรสงครามบางช่วงได้แบ่งให้เทศบาลเมืองสมุทรสงครามเป็นผู้บำรุงรักษาทางด้วย 325 3-325 325 325.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 325 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 สายชะอำ–ปราณบุรี เป็นถนนเลี่ยงเมืองชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และเลี่ยงเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เริ่มต้นที่ทางแยกต่างระดับชะอำ บริเวณกิโลเมตรที่ 187+682 ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ในตำบลเขาใหญ่ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี มีเส้นทางลงไปทางทิศใต้ ไปสิ้นสุดที่ทางแยกต่างระดับวังยาว บริเวณกิโลเมตรที่ 237+009 ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ในตำบลเขาน้อย อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รวมระยะทาง 47.468 กิโลเมตร เส้นทางสายนี้เดิมกำหนดเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 และในอดีตรหัสทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 เคยใช้กำหนดเป็นหมายเลขของถนนวงแหวนรอบนอก (ตะวันตก) ซึ่งภายหลังได้รับพระบรมราชนุญาตให้ชื่อว่า "ถนนกาญจนาภิเษก" และกำหนดรหัสทางเป็นทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ซึ่งทำให้รหัสทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 ว่างลง จนกระทั่งได้นำมาใช้กำหนดในทางเลี่ยงเมืองช่วงชะอำ–ปราณบุรี ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375 สายบ้านบ่อ–ลำลูกบัว ช่วงแรกเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจรมีเกาะกลาง ส่วนในเขตชุมชนจะเป็นถนนขนาด 6-8 ช่องจราจร แยกจากถนนพระรามที่ 2 กิโลเมตรที่ 38 ตำบลชัยมงคล อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ผ่านเข้าไปในตัวอำเภอบ้านแพ้ว ผ่านบ้านดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม ผ่านมหาวิทยาลัยคริสเตียน ไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษม บริเวณสามแยกพระประโทน ตำบลพระประโทน อำเภอเมืองนครปฐม จากนั้นจะเริ่มเส้นทางอีกครั้งที่ตำบลบ่อพลับ อำเภอเมืองนครปฐม ขึ้นไปทางทิศเหนือผ่านอำเภอดอนตูม ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3297, 3233 และ 3296 ไปสุดที่ตำบลลำลูกบัว อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม เส้นทางในช่วงนี้เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจรตลอดสายยกเว้นในเขตชุมชน เดิมทางหลวงสายนี้ประกอบด้วยทางหลวงสองสาย มีชื่อเรียกตามบัญชีสายทางของกรมทางหลวงว่า "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3097 สายแยกทางหลวงหมายเลข 4 (พระประโทน) - บรรจบทางหลวงหมายเลข 35 (บ้านบ่อ)" ระยะทางรวม 37.521 กิโลเมตร และ "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3036 สายแยกทางหลวงหมายเลข 3095 (นครปฐม) - บรรจบทางหลวงหมายเลข 346 (บางเลน)" จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4009

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4009 สายสุราษฎร์ธานี - บรรจบทางหลวงหมายเลข 4 (อ่าวลึก) มีจุดเริ่มต้นแยกจาก สี่แยกแสงเพชร อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตัดขึ้นไปทางใต้ผ่าน อำเภอบ้านนาสาร อำเภอเวียงสระ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี อำเภอปลายพระยา และอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 มีความยาวประมาณ 145 กิโลเมตร อยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีประมาณ 114 กิโลเมตร อยู่ในจังหวัดกระบี่ประมาณ 31 กิโลเมตร ทางหลวงสายนี้ถูกตัดขาดเมือทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44ได้สร้างเสร็จ แต่ในขณะนี้ กำลังมีการก่อสร้างสะพานข้ามทางหลวงหมายเลข 44 อยู่ ซึ่งสร้างเสร็จแล้ว.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4009 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 สายแยกโคกเคียน–นครศรีธรรมราช เป็นทางหลวงที่อยู่ในเขตควบคุมของสำนักงานทางหลวงสุราษฎร์ธานี (สำนักงานบำรุงทางพังงา) สำนักทางหลวงที่ 14 นครศรีธรรมราช มีระยะทางเริ่มต้นจากชายฝั่งตะวันตกของภาคใต้ โดยแยกจากถนนเพชรเกษมบริเวณกิโลเมตรที่ 762+481 ที่สามแยกโคกเคียน ใกล้ตัวเมืองอำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา จากนั้นตัดไปทางทิศตะวันออกผ่านจังหวัดสุราษฎร์ธานีไปยังชายฝั่งตะวันออก และลงใต้ไปยังจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยสิ้นสุดที่ถนนพัฒนาการคูขวาง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402 สายโคกกลอย–เมืองภูเก็ต หรือ ถนนเทพกระษัตรี เป็นทางหลวงสายหลักที่เชื่อมจังหวัดภูเก็ตเข้ากับแผ่นดินใหญ่ มีความยาวประมาณ 48 กิโลเมตร อยู่ในจังหวัดพังงาประมาณ 8 กิโลเมตร และอยู่ในจังหวัดภูเก็ตประมาณ 40 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบของแขวงการทางภูเก็ต ตลอดสาย ตั้งแต่ด่านตรวจภูเก็ต-ต่อเขตเทศบาลนครภูเก็ตควบคุมแต่เดิมนับหลักกิโลเมตรจากศาลากลางภูเก็ต ปัจจุบันนับหลักกิโลเมตร 0 สี่แยกโคกกลอย - ต่อเขตเทศบาลเมืองนครภูเก็ตควบคุมกิโลเมตรที่ 48+958.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 403

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 403 สายนครศรีธรรมราช–กันตัง แบ่งออกเป็น 3 ช่วง ช่วงแรกเริ่มต้นจากอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จากนั้นก็วิ่งไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ บรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 ที่แยกสวนผัก ช่วงที่ 2 แยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 บริเวณแยกบ้านจำปา วิ่งไปทางตะวันตก เข้าสู่ตัวอำเภอทุ่งสง จากนั้นวิ่งลงใต้ไปบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 419 ช่วงที่ 3 เริ่มต้นจากอำเภอเมืองตรัง ไปทางตะวันตกเฉียงใต้ สิ้นสุดที่อำเภอกันตัง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 403 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4038

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4038 สายแยกทางหลวงหมายเลข 4 (คลองท่อมใต้) - บรรจบทางหลวงหมายเลข 41 (ทุ่งใหญ่) มีจุดเริ่มต้นแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) บริเวณกิโลเมตรที่ 1,009+121 ที่สามแยกคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ตัดขึ้นไปทางตะวันออก ผ่าน อำเภอลำทับ เข้าสู่เขตจังหวัดนครศรีธรรมราช ผ่านอำเภอทุ่งใหญ่ สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41(ถนนสายเอเชีย) มีความยาวประมาณ 65 กิโลเมตร อยู่ในจังหวัดกระบี่ประมาณ 33 กิโลเมตร และอยู่ในจังหวัดนครศรีธรรมราชประมาณ 32 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4038 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 406

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 406 (สายปากจ่า–ตำมะลัง) เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมต่อระหว่าง 2 จังหวัดที่อยู่ภาคใต้ฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก ได้แก่ จังหวัดสงขลากับจังหวัดสตูล มีระยะทางตลอดทั้งสาย 99.89 กิโลเมตร นอกจากนี้ ยังเป็นทางหลวงสายสำคัญที่เชื่อมต่อจากถนนเพชรเกษมไปยังจังหวัดสตูลอีกด้ว.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 406 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407 สายคลองหวะ - สงขลา หรือ ถนนกาญจนวณิชย์ เป็นทางหลวงที่อยู่ในความควบคุมของแขวงการทางสงขลา สังกัดสำนักทางหลวงที่ 15 (สงขลา) เป็นเส้นทางหลักที่เชื่อมตัวเมืองสงขลาเข้ากับตัวเมืองหาดใหญ่ มีระยะทางเริ่มต้นจากทางแยกคลองหวะในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา แล้ววิ่งขึ้นเหนือไปยังอำเภอเมืองสงขลา ไปสิ้นสุดที่ทางแยกสำโรง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา อยู่ในเขตจังหวัดสงขลาทั้งหมด 28.3 กิโลเมตร ในอดีต ทางหลวงแผ่นดินสายนี้เป็นเส้นทางหลักสำหรับรถทุกคันจากถนนเพชรเกษมที่จะเข้าตัวเมืองสงขลา แต่เมื่อมีการก่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414 (ถนนลพบุรีราเมศวร์) ขึ้น รถจำนวนมากได้หันไปใช้เส้นทางนี้แทน เนื่องจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407 จะวิ่งผ่านเข้าไปในตัวเมืองหาดใหญ่ ขณะที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414 จะวิ่งเลี่ยงตัวเมืองหาดใหญ่ รัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ตั้งชื่อทางหลวงสายสงขลา - สะเดาว่า "ถนนกาญจนวณิชย์" เพื่อเป็นเกียรติแก่พระยาประกิตย์กลศาสตร์ (ประกิต รณชิต กาญจนวณิชย์) อดีตนายช่างด้านสงขลา ในช่วงแรกถนนกาญจนวณิชย์ตลอดสายถือเป็นทางหลวงคนละสายกับถนนเพชรเกษม (ซึ่งในขณะนั้นเป็นทางหลวงสายกรุงเทพมหานคร - หาดใหญ่) ต่อมาเมื่อมีการตั้งชื่อทางหลวงโดยใช้ระบบหมายเลข ถนนกาญจนวณิชย์ช่วงหาดใหญ่ถึงสะเดาได้ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ส่วนช่วงสงขลาถึงหาดใหญ่ (ภายหลังเพิ่มระยะทางไปถึงคลองหวะ) ได้รับการกำหนดเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4090

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4090 สายนบปริง–หินดาน เป็นทางหลวงแผ่นดินขนาด 2 ช่องจราจร เป็นเส้นทางหลักของจังหวัดพังงา มีเส้นทางเริ่มจากสามแยกนบปริง แยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ในอำเภอเมืองพังงา จากนั้นวิ่งไปทางตะวันตกผ่านอำเภอกะปง และสิ้นสุดที่อำเภอตะกั่วป่า โดยเชื่อมเข้ากับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 ระยะทางทั้งหมดประมาณ 43 กิโลเมตร เป็นทางลัดจากอำเภอเมืองพังงาไปอำเภอคุระบุรี อำเภอตะกั่วป่า และจังหวัดระนอง ในขณะที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ได้วิ่งอ้อมไปทางตะวันตกผ่านอำเภอตะกั่วทุ่งและอำเภอท้ายเหมือง ทางหลวงแผ่นดินสายนี้จึงเป็นเส้นทางที่ใกล้กว่าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4090 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 สายสี่แยกปฐมพร–พัทลุง เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหลักของภาคใต้ เส้นทางเริ่มต้นจากแยกปฐมพรบนถนนเพชรเกษม ที่จังหวัดชุมพร จากนั้นวิ่งลงใต้ผ่านจังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดนครศรีธรรมราช และสิ้นสุดบนถนนเพชรเกษมที่จังหวัดพัทลุง ระยะทางรวม 382.616 กิโลเมตร ทางหลวงแผ่นดินสายนี้เป็นถนน 4 ช่องจราจรตลอดสาย แบ่งเป็น 2 ช่องจราจรในแต่ละทิศทาง โดยมีคูน้ำกั้นระหว่างทิศทาง ในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 18 (A18) ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 ตลอ.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4135

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4135 สายทางเข้าสนามบินหาดใหญ่ เป็นทางหลวงที่อยู่ในเขตควบคุมของแขวงทางหลวงสงขลาที่ 1 สำนักงานทางหลวงที่ 18 สงขลา มีระยะทางเริ่มต้นจากถนนลพบุรีราเมศวร์ที่หลักกิโลเมตรที่ 22+100 โดยสิ้นสุดที่ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่ ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4135 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414 สายน้ำกระจาย–ท่าท้อน หรือ ถนนลพบุรีราเมศวร์ เป็นทางหลวงที่อยู่ในความควบคุมของแขวงทางหลวงสงขลาที่ 1 สังกัดสำนักงานทางหลวงที่ 18 (สงขลา) มีจุดเริ่มต้นจากห้าแยกน้ำกระจาย อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา วิ่งขึ้นลงใต้ไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษม (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4) โดยเป็นเส้นทางสายใหม่ที่สร้างขึ้นเพื่อเลี่ยงเมืองหาดใหญ่แทนถนนกาญจนวณิช (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 407) มีความยาวทั้งสิ้น 24.315 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 414 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4144

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4144 สายแยกทางหลวงหมายเลข 4 - อ่าวพังงา มีจุดเริ่มต้นแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ที่หลักกิโลเมตร 878+000 อำเภอเมือง จังหวัดพังงา เป็นทางหลวงสายสั้นๆ สิ้นสุดที่ท่าเรืออ่าวพังงา มีความยาวประมาณ 4 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4144 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4147

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4147 สายทางแยกเข้าทับละมุ มีจุดเริ่มต้นแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม)อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา สิ้นสุดที่ฐานทัพเรือทับละมุมีความยาวประมาณ 5 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4147 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415 สายนาเหนือ - พนม เริ่มต้นโดยแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ที่สี่แยกนาเหนือ จังหวัดกระบี่ และสิ้นสุดที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยเชื่อมเข้ากับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 ระยะทาง 46 กิโลเมตร โดยทางสายเลี่ยงเมืองพังงา ได้มีการเปลี่ยนเลขทางหลวง เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 สายคลองแงะ–จุดผ่านแดนถาวรสุไหงโก-ลก (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) หรือที่เรียกกันในช่วงจังหวัดปัตตานีถึงนราธิวาสว่า ถนนเพชรเกษมสายปัตตานี–นราธิวาส หรือ ถนนเกาหลี หรือ บาตะฮ กอลี ในภาษามลายูปัตตานี เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมจังหวัดสงขลาเข้ากับจังหวัดปัตตานี และจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43 สายหาดใหญ่–มะพร้าวต้นเดียว เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานที่สำคัญสายหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 18 โดยทางหลวงสายนี้เป็นทางหลวงเส้นใหม่ที่ตัดขึ้นเพื่อย่นระยะทางจากจังหวัดสงขลาไปยังจังหวัดปัตตานี แทนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 42 โดยเป็นทางหลวงขนาด 4 ช่องจราจรตลอดสาย รวมระยะทาง 94.952 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 43 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 สายพังงา - ทับปุด หรือ ถนนเลี่ยงเมืองพังงา เริ่มต้นโดยแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ที่สามแยกวังหม้อแกง ไปบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ที่สามแยกทับป.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44 สายอ่าวลึก–หินโงก หรือที่เรียกกันว่า ถนนเซาท์เทิร์น เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เป็นส่วนหนึ่งของโครงการสะพานเศรษฐกิจ (Land Bridge) เชื่อมโยงระหว่างทะเลอันดามันกับอ่าวไทย ซึ่งเกิดขึ้นจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 44 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงในประเทศไทย

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางหลวงในประเทศไทย เป็นเครือข่ายของทางหลวงที่อยู่ในประเทศไทย โดยปกติมักหมายถึงทางหลวงแผ่นดินซึ่งอยู่ในความควบคุมของกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม ทางหลวงในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติทางหลวง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 ได้แก่ ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงชนบท ทางหลวงท้องถิ่น และทางหลวงสัมปทาน ทั้งนี้ กรมทางหลวงรับผิดชอบดูแล 3 ประเภท คือ ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน นอกจากทางหลวง 5 ประเภทดังกล่าว ยังมี ทางพิเศษ ที่รับผิดชอบในการก่อสร้างและบูรณะทางด่วนโดย การทางพิเศษแห่งประเทศไทย และการดำเนินการก่อสร้างทางเฉพาะกิจของหน่วยงานต่าง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 123

ทางหลวงเอเชียสาย 123 (AH123) ถนนเครือข่ายทางหลวงสายเอเชีย ประเภทสายรอง เริ่มต้นจากพรมแดนพม่าที่ช่องทางผ่านแดนบ้านพุน้ำร้อน ตำบลบ้านเก่า อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ไปตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3229 ข้ามสะพานแม่น้ำแควน้อย ข้ามทางรถไฟสายกาญจนบุรี-น้ำตกไทรโยคน้อย จนถึงแยกเข้าบ้านเก่า ตำบลลาดหญ้า อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี แยกขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 (ถนนแสงชูโต) ใช้ถนนเลี่ยงเมืองกาญจนบุรี ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 367 แล้วแยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 อีกครั้ง จนถึงสามแยกกระจับ ตำบลหนองอ้อ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) ผ่านจังหวัดนครปฐม ถึงทางแยกต่างระดับนครชัยศรี แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 (ถนนบรมราชชนนี) ถึงกรุงเทพมหานคร จากนั้นเริ่มต้นที่ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (ถนนกรุงเททพฯ ชลบุรี หรือมอเตอร์เวย์) ถึงทางแยกต่างระดับโป่ง ตำบลโป่ง อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36 ถึงแยกปลวกเกตุ ตำบลเชิงเนิน อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง แยกซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) ผ่านจังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด สิ้นสุดที่พรมแดนกัมพูชา ด่านพรมแดนบ้านหาดเล็ก ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ระยะทาง 643 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงเอเชียสาย 123 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 2

ทางหลวงเอเชียสาย 2 (AH2) เป็นเครือข่ายทางหลวงสายเอเชีย ระยะทาง 8,230 ไมล์ (13,177 กม.) จากเดนพาซาร์, อินโดนีเซีย ถึง โคสราวี, อิหร่าน โดยช่วงที่ผ่านประเทศไทย เริ่มจากพรมแดนพม่าที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ลงมาจนจรดชายแดนบ้านจังโหลน จังหวัดสงขลา เป็นระยะทาง 2,254 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางหลวงเอเชียสาย 2 · ดูเพิ่มเติม »

ทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ

ทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ (Lebuhraya Utara–Selatan Jajaran Utara) ซึ่งมีหมายเลขเป็น E1 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 เป็นทางหลวงในมาเลเซียตะวันตกที่มีการควบคุมการเข้าออก และมีการชำระค่าผ่านทาง มีระยะทาง เป็นเส้นทางในส่วนเหนือของทางด่วนเหนือ–ใต้ของประเทศมาเลเซีย เส้นทางผ่านรัฐทางตะวันตกเฉียงเหนือ ได้แก่ รัฐเกอดะฮ์ รัฐปีนัง รัฐเประก์ และรัฐเซอลาโงร์ มีจุดเริ่มต้นทางทิศเหนือที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองบูกิตกายูฮีตัมในรัฐเกอดะฮ์ ซึ่งตั้งอยู่บนชายแดนมาเลเซีย-ไทย และสิ้นสุดที่บูกิตลันจัน ในรัฐเซอลาโงร์ ซึ่งตัดกับทางด่วนหุบเขากลังใหม่ ทางด่วนสายนี้ดำเนินการโดยพลัสเอกซ์เพรสเวย์ ทางด่วนสายนี้มีแนวเส้นทางจากเหนือไปใต้ ใกล้กับชายฝั่งทะเลทางทิศตะวันเฉียงเหนือของคาบสมุทร เชื่อมเมืองใหญ่ต่าง ๆ ได้แก่ อลอร์สตาร์ บัตเตอร์เวิร์ท ไตปิง อีโปะฮ์ และราวัง และผ่านหมู่บ้านชนบทต่าง ๆ ทางด่วนสายนี้มีเส้นทางขนานไปกับทางหลวงมาเลเซียหมายเลข 1 ที่มีอยู่แล้ว และมีการใช้เส้นทางร่วมกันกับทางด่วนสายนี้จากเมืองบูกิตกายูฮีตัมถึงเมือง Jitra.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับวังมะนาว

ทางแยกต่างระดับวังมะนาว (Wang Manao Interchange) หรือ แยกวังมะนาว เป็นทางแยกต่างระดับแห่งหนึ่งในอำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี ตั้งอยู่บนถนนพระรามที่ 2 บริเวณกิโลเมตรที่ 84+041 ตัดกับถนนเพชรเกษม บริเวณกิโลเมตรที่ 125+223.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางแยกต่างระดับวังมะนาว · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับปฐมพร

ทางแยกต่างระดับปฐมพร (Pathom Phon Interchange) เป็นทางแยกต่างระดับในอำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร โดยเป็นจุดตัดระหว่างถนนเพชรเกษม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 41 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 327.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางแยกต่างระดับปฐมพร · ดูเพิ่มเติม »

ทางแยกต่างระดับนครชัยศรี

ทางแยกต่างระดับนครชัยศรี (Nakhon Chai Si Interchange) เป็นชุมทางแยกต่างระดับแห่งหนึ่งในจังหวัดนครปฐม ตั้งอยู่ที่อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม บริเวณถนนเพชรเกษมและถนนบรมราชชนนี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและทางแยกต่างระดับนครชัยศรี · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานหัวหิน

ท่าอากาศยานหัวหิน หรือเดิมคือ สนามบินบ่อฝ้าย ตั้งอยู่ในเขต ตำบลบ่อฝ้าย อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีอาคารผู้โดยสารขนาด 7,200 ตารางเมตร และพื้นที่ลานจอดเครื่องบินขนาด 31,000 ตารางเมตร สามารถรองรับผู้โดยสารได้ 240 คนต่อชั่วโมง นอกจากนี้ท่าอากาศยานหัวหินยังเป็นที่ตั้งของศูนย์ฝึกการบิน สถาบันการบินพลเรือน และ ศูนย์ฝนหลวงหัวหิน ซึ่งดูแลพื้นที่ภาคใต้ตอนบน หัวทางวิ่งของท่าอากาศยานหัวหินด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือจะอยู่คร่อมทางรถไฟสายใต้ และถนนเพชรเกษม ซึ่งอยู่ในเขตอำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ผู้ใช้เส้นทางเข้าตัวเมืองหัวหินจะต้องขับรถลอดผ่านอุโมงค์ใต้ทางวิ่งไป.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและท่าอากาศยานหัวหิน · ดูเพิ่มเติม »

ข่าวสด

วสด เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย เสนอข่าวทั่วไป ออกจำหน่ายเป็นยุคแรก ด้วยขนาดแท็บลอยด์ เมื่อราวปี พ.ศ. 2524 ซึ่งดำเนินงานโดยเผด็จ ภูรีปติภาน (นามปากกา: พญาไม้) แต่ผู้อ่านไม่ค่อยนิยมเท่าที่ควร ต่อมาเครือมติชน โดยขรรค์ชัย บุนปาน เข้าช่วยเหลือกิจการ จึงเริ่มทดลองออกจำหน่าย โดยนำชื่อหัวหนังสือกีฬาเดิมของเครือมติชน รวมเข้าด้วยกันเป็น "ข่าวสด-สปอร์ตนิวส์" พร้อมทั้งปรับขนาดหน้ากระดาษเป็นบรอดชีต โดยเริ่มนับเป็นปีที่ 1 ฉบับที่ 1 และตรงกับปีที่ 10 ฉบับที่ 2798 ของข่าวสดยุคแรก ตั้งแต่วันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2533 จนถึงวันจันทร์ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2534 เป็นจำนวน 129 ฉบับ ก่อนที่จะเริ่มใช้เพียงชื่อเดียวคือ "ข่าวสด" ตั้งแต่ฉบับที่ 130 ประจำวันอังคารที่ 9 เมษายน..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและข่าวสด · ดูเพิ่มเติม »

คลองบางกอกใหญ่

ปากคลองบางกอกใหญ่ บรรจบกับแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกใหญ่ช่วงที่ผ่านวัดอินทารามวรวิหาร (วัดบางยี่เรือนอก) การขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วงที่ ๑ ซึ่งทำให้แม่น้ำสายเดิมกลายเป็นคลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบัน คลองบางกอกใหญ่ หรือชื่อในอดีตว่า คลองบางหลวง เดิมเคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยามาก่อน กล่าวคือบริเวณตั้งแต่ปากคลองบางกอกน้อย ตรงข้ามมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ไปจนถึงปากคลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบันนั้น ยังเป็นแผ่นดินอยู่ แม่น้ำเจ้าพระยาเดิมจะอ้อมเลี้ยวจากหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นคุ้งกว้างมาทะลุออกข้างวัดท้ายตลาด ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช (พ.ศ. 2077 - 2089) โปรดเกล้าให้ขุดคลองลัดระหว่างคุ้งแม่น้ำทั้งสอง เพื่อย่นระยะทางและอำนวยความสะดวกให้กับบรรดาพ่อค้าทูตานุทูตชาวตะวันตกที่เริ่มเข้ามาติดต่อค้าขายและเจริญสัมพันธไมตรีกับอาณาจักรเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในสมัยนั้น ต่อมาคลองลัดเริ่มกว้างใหญ่ขึ้นกลายเป็นแม่น้ำ ส่วนแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมก็เล็กลงกลายเป็นคลองบางกอกน้อยและคลองบางกอกใหญ่ ถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิน ราชสำนักย้ายมาอยู่ที่กรุงธนบุรี คลองบางกอกใหญ่กลายมาเป็นชุมชนของข้าหลวง และโปรดเกล้าให้บรรดาชาวจีนซึ่งได้เคยช่วยเหลือพระองค์มาตั้งบ้านเรือนอยู่ริมคลองบางกอกใหญ่ ผู้คนจึงนิยมเรียกกันติดปากว่า "คลองบางข้าหลวง" หรือ "คลองบางหลวง" สืบมาถึงในปัจจุบัน รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร กำหนดให้คลองบางกอกใหญ่เป็นคลองสำคัญซึ่งจะต้องอนุรักษ์ไว้ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2510 ปากคลองบางกอกใหญ่แยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งขวาของป้อมวิไชยประสิทธิ์ ไปสิ้นสุดที่คลองมอญ ตรงข้ามปากคลองชักพระ มีความยาวประมาณ 6 กิโลเมตร คลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบันนั้นถือเป็นเส้นทางสัญจรและระบายน้ำ และยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สำคัญอย่างมาก มีศาสนสถานตั้งอยู่อย่างหนาแน่นทั้งสองฝั่ง วัดและมัสยิดริมคลองบางกอกใหญ่ได้แก.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและคลองบางกอกใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำท่าจีน

แม่น้ำท่าจีน เป็นแม่น้ำที่แยกตัวออกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ ตำบลท่าซุงบริเวณปากคลองมะขามเฒ่า จึงเรียกแม่น้ำนั้นว่า คลองมะขามเฒ่า และมาหักเลี้ยวเป็นแยกแม่น้ำที่ไหลไปเชื่อมกับแม่น้ำเจ้าพระยาได้อีกที ตรงที่เป็นพื้นที่ปากคลอง ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท กับ ฝั่งตะวันตกที่อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ไหลผ่านจังหวัดชัยนาท จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร ก่อนจะไหลออกสู่อ่าวไทยที่ตำบลบางหญ้าแพรก อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 325 กิโลเมตร แม่น้ำท่าจีนมีชื่อเรียกหลายชื่อ ตอนที่ไหลผ่านจังหวัดชัยนาทเรียกว่า "แม่น้ำมะขามเฒ่า" ตอนที่ผ่านจังหวัดสุพรรณบุรี เรียกว่า "แม่น้ำสุพรรณบุรี" ตอนที่ผ่านจังหวัดนครปฐมเรียกว่า "แม่น้ำนครชัยศรี" ส่วนตอนที่ไหลผ่านจังหวัดสมุทรสาครและไหลลงสู่อ่าวไทยเรียกว่า "แม่น้ำท่าจีน".

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและแม่น้ำท่าจีน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแม่กลอง

แม่น้ำแม่กลอง ขณะไหลผ่านจังหวัดสมุทรสงคราม แม่น้ำแม่กลอง เป็นแม่น้ำสำคัญสายหนึ่งในภาคตะวันตก เกิดจากแม่น้ำแควใหญ่และแควน้อย ไหลมาบรรจบกันที่ตำบลปากแพรก อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ไหลผ่านจังหวัดราชบุรี สมุทรสงคราม และไหลลงสู่ปากอ่าวไทยที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม มีความยาวประมาณ 132 กิโลเมตร พื้นที่รับน้ำที่ปากแม่น้ำแม่กลอง 30,106 ตารางกิโลเมตร โดยช่วงที่ไหลผ่านจังหวัดราชบุรี ได้อีกชื่อหนึ่งว่า "แม่น้ำราชบุรี" มีพื้นที่ลุ่มน้ำ 30,837 ตร.กม.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและแม่น้ำแม่กลอง · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเพชรบุรี

แม่น้ำเพชรบุรี ต้นน้ำจากเทือกเขาสูงชันทางด้านตะวันตกของจังหวัดเพชรบุรี ไหลผ่านอำเภอแก่งกระจาน อำเภอท่ายาง อำเภอบ้านลาด อำเภอเมือง ลงสู่อ่าวไทย ที่อำเภอบ้านแหลม มีความยาว 210 กิโลเมตร เป็นแม่น้ำที่มีความสำคัญของจังหวัด ซึ่งเมื่อมาถึงอำเภอบ้านแหลม แม่น้ำจะแยกออกเป็นสองสาย สายหนึ่งออกสู่อ่าวไทยที่ตำบลบ้านแหลม อีกสายไหลไปทางทิศเหนืออกสู่อ่าวไทยที่ตำบลบางตะบูน เรียกว่า แม่น้ำบางตะบูน เพชรบุรีตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน พื้นที่การเกษตรส่วนใหญ่ของจังหวัดเพชรบุรีจะอยู่ตามบริเวณสองฟากฝั่งของแม่น้ำนี้ แม่น้ำเพชรบุรีส่งตะกอนมาตกสะสมเกิดเป็นที่งอกและดินดอนชายฝั่ง มีปริมาณตะกอน 46 ตัน/ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและแม่น้ำเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

แยกเอเชีย (จังหวัดพัทลุง)

สี่แยกเอเชียพัทลุง ตั้งอยู่บนจุดตัดของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (กรุงเทพ-สะเดา) และ ถนนสายเอเชีย (ชุมพร-พัทลุง) ที่อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง เอเชียพัทลุง.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและแยกเอเชีย (จังหวัดพัทลุง) · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครอ้อมน้อย

อ้อมน้อย เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลนครแห่งหนึ่งในอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร มีพื้นที่ 30.40 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตำบลอ้อมน้อยทั้งตำบล มีประชากรในปี..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและเทศบาลนครอ้อมน้อย · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครตรัง

ตรัง เป็นเทศบาลนครแห่งหนึ่งในอำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดตรัง มีพื้นที่ 14.77 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมเขตตำบลทับเที่ยง ซึ่งอาจเรียกตัวเมืองตรังได้อีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองทับเที่ยง" มีประชากรในปี..

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและเทศบาลนครตรัง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองพังงา

เทศบาลเมืองพังงา ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา เป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยภูเขา ดังนี้ จึงได้ฉายานามว่า "เมืองสวยในหุบเขา" ในตอนเช้าบริเวณภูเขาจะมีหมอกครอบคลุม ตลอดแนวยอดเขาอากาศสดชื่น พังงา พังงา หมวดหมู่:อำเภอเมืองพังงา.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและเทศบาลเมืองพังงา · ดูเพิ่มเติม »

เขาตะเกียบ

ตะเกียบ เป็นเขาหินปูน ที่ตั้งยื่นออกไปในทะเล โดยเป็นสถานที่ชมวิวที่สามารถมองเห็นชายหาดหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จากโค้งหาดของ หาดตะเกียบ เขาตะเกียบ thumbnail.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและเขาตะเกียบ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกอกใหญ่

ตบางกอกใหญ่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและเขตบางกอกใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางแค

ตบางแค เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ ซึ่งถือเป็นเขตเกษตรกรรมผสมผสานแหล่งที่อยู่อาศัยสภาพแวดล้อมดีทางฝั่งธนบุรี ปัจจุบันเขตบางแคเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตคลองสามว.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและเขตบางแค · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เขตภาษีเจริญ

ตภาษีเจริญ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพโดยทั่วไปมีลักษณะกึ่งชนบทกึ่งชุมชนเมือง แต่ในพื้นที่เนื่องจากมีการขยายตัวของระบบสาธารณูปโภค (โดยเฉพาะด้านการคมนาคม) จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงจากชุมชนเกษตรเป็นชุมชนเมืองมากขึ้น.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและเขตภาษีเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

เขตหนองแขม

ตหนองแขม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม สภาพเศรษฐกิจดั้งเดิมขึ้นอยู่กับการเกษตรกรรม แต่ปัจจุบันสภาพพื้นที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากชุมชนเมืองขยายตัวจากพื้นที่ชั้นใน มีผู้ย้ายถิ่นเข้ามาอยู่อาศัยและประกอบอาชีพมากขึ้น พื้นที่การเกษตรจึงเริ่มถูกเปลี่ยนแปลงเป็นสถานที่ราชการ สถานศึกษา โรงพยาบาล สาธารณสุข สถานีโทรทัศน์ โรงงานอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย์ และหมู่บ้านจัดสรร.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและเขตหนองแขม · ดูเพิ่มเติม »

เขตธนบุรี

ตธนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและเขตธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ถนนเพชรเกษมและ10 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ถ.เพชรเกษมถนนกาญจนวนิชทางหลวงหมายเลข 4ทางหลวงที่ยาวที่สุดในประเทศไทยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »