สารบัญ
4 ความสัมพันธ์: กรดไฮโดรคลอริกสารประกอบอนินทรีย์คาร์บอนเตตระคลอไรด์แอลกอฮอล์
- คลอไรด์
- สารประกอบโคออร์ดิเนชัน
- เฮไลด์โลหะ
กรดไฮโดรคลอริก
รเจนคลอไรด์โอเวน กรดไฮโดรคลอริก หรือ กรดเกลือ (hydrochloric acid) เป็นสารประกอบเคมีประเภทกรดละลายในน้ำ โดยเป็นสารละลายของไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) เป็นกรดแก่, เป็นส่วนประกอบหลักของกรดกระเพาะ (gastric acid) และใช้กันอย่างกว้างในอุตสาหกรรมเป็นของเหลวที่มีพลังการกัดกร่อนสูง กรดไฮโดรคลอริก หรือ มูเรียติกแอซิด ถูกค้นพบโดย "จาเบียร์ เฮย์ยัน" (Jabir ibn Hayyan) ราวปี ค.ศ.
ดู เซอร์โคเนียม(IV) คลอไรด์และกรดไฮโดรคลอริก
สารประกอบอนินทรีย์
รประกอบอนินทรีย์ (inorganic compound) คือสารประกอบเคมีที่นิยามตรงข้ามกับสารประกอบอินทรีย์ เป็นการจัดแบ่งสารเคมีตามความเชื่อแต่ดั้งเดิม ที่ให้สารเคมีที่ไม่ได้เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตเป็นสารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบอนินทรีย์มักไม่มีพันธะเชื่อมระหว่างอะตอมของคาร์บอนและไฮโดรเจน ถึงแม้สารประกอบอนินทรีย์จะมีอยู่มากมายแต่เทียบไม่ได้กับจำนวนของสารประกอบอินทรีย์ที่มีอยู่ในโลก สารประกอบคาร์บอนเกือบทั้งหมดถูกจัดให้เป็นสารประกอบอินทรีย์แต่ก็มีบางตัวถูกกำหนดชัดเจนว่าเป็นสารประกอบอนินทรีย์ เช่น.
ดู เซอร์โคเนียม(IV) คลอไรด์และสารประกอบอนินทรีย์
คาร์บอนเตตระคลอไรด์
คาร์บอนเตตระคลอไรด์ (carbon tetrachloride) เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีสูตรทางเคมี CCl4 ใช้เป็นตัวทำละลายอินทรีย์ ในอดีตนิยมใช้เป็นสารดับเพลิงและเป็นสารตั้งต้นในการผลิตสารทำความเย็นและสารทำความสะอาด เป็นของเหลวไม่มีสีแต่มีกลิ่น "หวาน" ซึ่งสามารถรับรู้ได้แม้จะมีปริมาณน้อย ตามกฎการตั้งชื่อของ IUPAC ทั้ง คาร์บอนเตตระคลอไรด์ และ เตเตระคลอโรมีเทน ต่างเป็นชื่อที่ถูกต้องของสารนี้ ในห้องปฏิบัติการทั่วไปมักเรียกโดยย่อว่า คาร์บอนเตตฯ หมวดหมู่:แก๊สเรือนกระจก หมวดหมู่:สารประกอบคาร์บอน หมวดหมู่:คลอไรด์.
ดู เซอร์โคเนียม(IV) คลอไรด์และคาร์บอนเตตระคลอไรด์
แอลกอฮอล์
รงสร้างของแอลกอฮอล์ ในทางเคมี แอลกอฮอล์ (alcohol) คือสารประกอบอินทรีย์ ที่มีหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) ต่อกับอะตอมคาร์บอนของหมู่แอลคิลหรือหมู่ที่แทนแอลคิล สูตรทั่วไปของแอลกอฮอล์แบบอะลิฟาติกไฮโดรคาร์บอน (สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เป็นสายตรง) คือ CnH2n+1OH โดยทั่วไป แอลกอฮอล์ มักจะอ้างถึงเอทานอลเกือบจะเพียงอย่างเดียว หรือเรียกอีกอย่างว่า grain alcohol ซึ่งเป็นของเหลวที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และสามารถระเหยได้ ซึ่งเกิดจากการหมักน้ำตาล นอกจากนี้ยังสามารถใช้อ้างถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นที่มาของคำว่าโรคพิษสุรา (alcoholism) เอทานอลเป็นยาเสพติดที่มีฤทธิ์กดประสาท ที่ลดการตอบสนองของระบบประสาทส่วนกลาง แอลกอฮอล์ชนิดอื่น ๆ จะอธิบายด้วยคำวิเศษณ์เพิ่มเติม เช่น isopropyl alcohol (ไอโซโพรพิล แอลกอฮอล์) หรือด้วยคำอุปสรรคว่า -ol เช่น isopropanol (ไอโซโพรพานอล).
ดู เซอร์โคเนียม(IV) คลอไรด์และแอลกอฮอล์
ดูเพิ่มเติม
คลอไรด์
- กรดไฮโดรคลอริก
- ซิส-ไดคลอโรบิส(เอทิลีนไดเอมีน)โคบอลต์(III) คลอไรด์
- ตริส(ไบไพรีดีน)รูทีเนียม(II) คลอไรด์
- นิกเกิล(II) คลอไรด์
- ยาเหลือง
- เซอร์โคเนียม(IV) คลอไรด์
- เพนตาเอมีน(ไดไนโตรเจน)รูทีเนียม(II) คลอไรด์
- เมอร์คิวรี(I) คลอไรด์
- แกโดลิเนียม(III) คลอไรด์
- แคดเมียมคลอไรด์
- แบเรียมคลอไรด์
- แอมโมเนียมคลอไรด์
- โกลด์(III) คลอไรด์
- โครเมียม(III) คลอไรด์
- โซเดียมคลอไรด์
- โพแทสเซียมคลอไรด์
- ไอเอิร์น(III) คลอไรด์
- ไฮโดรเจนคลอไรด์
สารประกอบโคออร์ดิเนชัน
- ซิสพลาติน
- ซีนอนเฮกซะฟลูออโรแพลทิเนต
- ตริส(8-ไฮดรอซีควิโนลินาโต)อะลูมิเนียม
- นิกเกิล(II) คลอไรด์
- บิส(ไดไนโตรเจน)บิส(1,2-(ไดฟีนิลฟอสฟิโน)อีเทน)โมลิบดีนัม(0)
- สารประกอบโคออร์ดิเนชัน
- เซอร์โคเนียม(IV) คลอไรด์
- เพนตาเอมีน(ไดไนโตรเจน)รูทีเนียม(II) คลอไรด์
- แกโดลิเนียม(III) คลอไรด์
- แอมโมเนียมซีเรียม(IV) ไนเตรต
- โครเมียม(III) คลอไรด์
- โพแทสเซียมเตตระไอโอโดเมอคูเรต(II)
- ไซโคลเพนตาไดอีนิลไอเอิร์น ไดคาร์โบนิล ไอโอไดด์
- ไอเอิร์น(III) คลอไรด์
เฮไลด์โลหะ
- ซิส-ไดคลอโรบิส(เอทิลีนไดเอมีน)โคบอลต์(III) คลอไรด์
- นิกเกิล(II) คลอไรด์
- ลิเทียมโบรไมด์
- เซอร์โคเนียม(IV) คลอไรด์
- เมอร์คิวรี(I) คลอไรด์
- เมอร์คิวรีโมโนฟลูออไรด์
- แคดเมียมคลอไรด์
- โกลด์(III) คลอไรด์
- โครเมียม(III) คลอไรด์
- โซเดียมคลอไรด์
- โซเดียมฟลูออไรด์
- โซเดียมไอโอไดด์
- โพแทสเซียมคลอไรด์
- โพแทสเซียมไอโอไดด์
- ไอเอิร์น(III) คลอไรด์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Zirconium(IV) chloride