สารบัญ
6 ความสัมพันธ์: การเร่งปฏิกิริยาสารประกอบทรงแปดหน้าของแข็งแอซีโทนเอทานอล
- คลอไรด์
- สารประกอบโคออร์ดิเนชัน
- เฮไลด์โลหะ
การเร่งปฏิกิริยา
การเร่งปฏิกิริยา (Catalysis) คือ การทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น โดยการใส่วัตถุที่ทำให้ปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงความเร็วเรียกว่า ตัวเร่งhttp://goldbook.iupac.org/C00876.html ซึ่งการเร่งปฏิกิรยาจะไม่มีผลต่อผลิตภัณฑ์เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา มีทั้งตัวเร่งปฏิกิริยาทางเคมี เช่น โลหะ และตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เช่น เอนไซม.
ดู โครเมียม(III) คลอไรด์และการเร่งปฏิกิริยา
สารประกอบ
น้ำ ถือเป็นสารประกอบทางเคมีอย่างหนึ่ง สารประกอบ เป็นสารเคมีที่เกิดจากธาตุเคมีตั้งแต่สองตัวขึ้นไปมารวมตัวกันโดย พันธะเคมีด้วยอัตราส่วนของส่วนประกอบที่แน่นอน ตัวอย่าง เช่น ไดไฮโรเจนโมน็อกไซด์ หรือ น้ำ มีสูตรเคมีคือ H2Oซึ่งเป็นสารที่ประกอบด้วย ไฮโดรเจน 2 อะตอม และ ออกซิเจน 1 อะตอม ในสารประกอบอัตราส่วนของส่วนประกอบจะต้องคงที่และตัวชี้วัดความเป็นสารประกอบที่สำคัญคือ คุณสมบัติทางกายภาพ ซึ่งจะแตกต่างจาก ของผสม (mixture) หรือ อัลลอย (alloy) เช่น ทองเหลือง (brass) ซูเปอร์คอนดักเตอร์ YBCO, สารกึ่งตัวนำ อะลูมิเนียม แกลเลียม อาร์เซไนด์ (aluminium gallium arsenide) หรือ ช็อคโกแลต (chocolate) เพราะเราสามารถกำหนดอัตราส่วนของ ของผสมได้ ตัวกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของสารประกอบที่สำคัญคือ สูตรเคมี (chemical formula) ซึ่งจะแสดงอัตราส่วนของอะตอมในสารประกอบนั้น ๆ และจำนวนอะตอมในโมเลกุลเดียว เช่น สูตรเคมีของ อีทีน (ethene) จะเป็นC2H4 ไม่ใช่ CH2) สูตรไม่ได้ระบุว่าสารประกอบประกอบด้วยโมเลกุล เช่น โซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง, NaCl) เป็น สารประกอบไอออนิก (ionic compound).
ดู โครเมียม(III) คลอไรด์และสารประกอบ
ทรงแปดหน้า
ทรงแปดหน้าปรกติ ทรงแปดหน้า (octahedron, พหูพจน์: -dra) เป็นคำทั่วไปที่ใช้เรียกทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่มี 8 หน้า ทรงแปดหน้าอาจเป็นรูปทรงที่สมมาตรหรือไม่สมมาตรก็ได้ มีจำนวนจุดยอดและขอบที่ไม่แน่นอนและอาจมีมากที่สุดถึง 12 จุดยอด (vertex) และ 18 ขอบ (edge) ตัวอย่างรูปทรงเช่น.
ดู โครเมียม(III) คลอไรด์และทรงแปดหน้า
ของแข็ง
ของแข็ง (Soild) เป็นสถานะหนึ่งในสี่ของสถานะพื้นฐานของสสาร (สถานะอื่นได้แก่ ของเหลว แก๊ส พลาสมา) ซึ่งมีลักษณะที่สามารถทนและต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงรูปร่วงหรือปริมาตร แตกต่างกับของเหลว วัตถุที่เป็นของแข็งไม่สามารถไหลได้และไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างและปริมาตรไปตามภาชนะที่บรรจุ อะตอมภายในโมเลกุลของของแข็งอยู่ชิดกันมากและมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคที่หนาแน่นกับอนุภาคอื่น ๆ สาขาของฟิสิกส์มีสาขาหนึ่งที่มีเพื่อศึกษาของแข็งโดยเฉพาะ เรียกว่าฟิสิกส์ของแข็งและมันยังเป็นสาขาหลักของฟิสิกส์สสารอัดแน่น (ซึ่งจะมีการศึกษาเกี่ยวกับของเหลวรวมอยู่ด้วย) ของแข็งที่มีความหนาแน่นน้อยที่สุดในโลกคือ ซิลิกานาโนโฟม (silica nanofoam) มีความหนาแน่นประมาณ 1 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งน้อยกว่าความหนาแน่นของอากาศ เป็นผลิตภัณฑ์ของแอโรเจล (aerogel) ที่ดูดอากาศออก หมวดหมู่:สถานะของสสาร หมวดหมู่:ของแข็ง หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์.
ดู โครเมียม(III) คลอไรด์และของแข็ง
แอซีโทน
แอซีโทน (acetone) หรือตามระบบตั้งชื่อเรียก โพรพาโนน (propanone) เป็นสารเคมีที่พื้นฐานที่สุดของคีโตน (ketone) แอซีโทน เป็นของเหลวที่ระเหยง่ายไม่มีสีมีจุดหลอมเหลวที่ -95.4 °C และจุดเดือดที่ 56.53 °C มันมี ความหนาแน่นสัมพัทธ์ เท่ากับ 0.819 (ที่ 0 °C) ละลายได้ดีใน น้ำ เอทานอล อีเทอร์ ฯลฯ และเป็นตัวทำละลายที่สำคัญมาก การใช้งานแอซีโทนที่คุ้นเคยกันมากที่สุดคือใช้ในน้ำยาล้างเล็บ แอซีโทน ยังใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม พลาสติก ไฟเบอร์ ยา และ สารเคมีอื่น.
ดู โครเมียม(III) คลอไรด์และแอซีโทน
เอทานอล
อทานอล (ethanol) หรือ เอทิลแอลกอฮอล์ (ethyl alcohol) (สูตรเคมี C2H5OH) เป็นแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่งซึ่งเกิดจากการนำเอาพืชมาหมักเพื่อเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาล จากนั้นจึงเปลี่ยนจากน้ำตาลเป็นแอลกอฮอล์ โดยใช้เอนไซม์หรือกรดบางชนิดช่วยย่อย เมื่อทำให้เป็นแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 95% โดยการกลั่น ส่วนใหญ่ผลิตจากพืช สองประเภทคือ พืชประเภทน้ำตาล เช่นอ้อย บีทรูท และพืชจำพวกแป้งเช่น มันสำปะหลัง ข้าว ข้าวโพด เป็นต้น.
ดู โครเมียม(III) คลอไรด์และเอทานอล
ดูเพิ่มเติม
คลอไรด์
- กรดไฮโดรคลอริก
- ซิส-ไดคลอโรบิส(เอทิลีนไดเอมีน)โคบอลต์(III) คลอไรด์
- ตริส(ไบไพรีดีน)รูทีเนียม(II) คลอไรด์
- นิกเกิล(II) คลอไรด์
- ยาเหลือง
- เซอร์โคเนียม(IV) คลอไรด์
- เพนตาเอมีน(ไดไนโตรเจน)รูทีเนียม(II) คลอไรด์
- เมอร์คิวรี(I) คลอไรด์
- แกโดลิเนียม(III) คลอไรด์
- แคดเมียมคลอไรด์
- แบเรียมคลอไรด์
- แอมโมเนียมคลอไรด์
- โกลด์(III) คลอไรด์
- โครเมียม(III) คลอไรด์
- โซเดียมคลอไรด์
- โพแทสเซียมคลอไรด์
- ไอเอิร์น(III) คลอไรด์
- ไฮโดรเจนคลอไรด์
สารประกอบโคออร์ดิเนชัน
- ซิสพลาติน
- ซีนอนเฮกซะฟลูออโรแพลทิเนต
- ตริส(8-ไฮดรอซีควิโนลินาโต)อะลูมิเนียม
- นิกเกิล(II) คลอไรด์
- บิส(ไดไนโตรเจน)บิส(1,2-(ไดฟีนิลฟอสฟิโน)อีเทน)โมลิบดีนัม(0)
- สารประกอบโคออร์ดิเนชัน
- เซอร์โคเนียม(IV) คลอไรด์
- เพนตาเอมีน(ไดไนโตรเจน)รูทีเนียม(II) คลอไรด์
- แกโดลิเนียม(III) คลอไรด์
- แอมโมเนียมซีเรียม(IV) ไนเตรต
- โครเมียม(III) คลอไรด์
- โพแทสเซียมเตตระไอโอโดเมอคูเรต(II)
- ไซโคลเพนตาไดอีนิลไอเอิร์น ไดคาร์โบนิล ไอโอไดด์
- ไอเอิร์น(III) คลอไรด์
เฮไลด์โลหะ
- ซิส-ไดคลอโรบิส(เอทิลีนไดเอมีน)โคบอลต์(III) คลอไรด์
- นิกเกิล(II) คลอไรด์
- ลิเทียมโบรไมด์
- เซอร์โคเนียม(IV) คลอไรด์
- เมอร์คิวรี(I) คลอไรด์
- เมอร์คิวรีโมโนฟลูออไรด์
- แคดเมียมคลอไรด์
- โกลด์(III) คลอไรด์
- โครเมียม(III) คลอไรด์
- โซเดียมคลอไรด์
- โซเดียมฟลูออไรด์
- โซเดียมไอโอไดด์
- โพแทสเซียมคลอไรด์
- โพแทสเซียมไอโอไดด์
- ไอเอิร์น(III) คลอไรด์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Chromium(III) chloride