สารบัญ
10 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2538กลุ่มดาวหมีใหญ่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลหลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยาอวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิลทางช้างเผือกดาราจักรเอกภพ18 ธันวาคม28 ธันวาคม
- กลุ่มดาวหมีใหญ่
- จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ
- ผลงานในปี พ.ศ. 2538
- ภารกิจอวกาศในปี พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2538
ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู อวกาศห้วงลึกของฮับเบิลและพ.ศ. 2538
กลุ่มดาวหมีใหญ่
กลุ่มดาวหมีใหญ่ เป็นกลุ่มดาวที่มีตำนานเกี่ยวข้องกับคัลลิสโตในเทพนิยายกรีก ดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุด 7 ดวง ทำให้เกิดดาวเรียงเด่นซึ่งคนไทยเรียกว่า ดาวจระเข้ คนลาว เรียกว่า ดาวหัวช้าง ในสหราชอาณาจักรเรียกว่า คันไถ ในจีนและอเมริกาเหนือ เรียกว่า กระบวยใหญ่ กลุ่มดาวหมีใหญ่ เป็นกลุ่มดาวสำคัญ ช่วยชี้หาดาวเหนือได้ โดยไล่จากขาหน้าขวา (βUMa) ไปทางขาหน้าซ้าย (αUMa) เลยออกไปอีกประมาณ 5 ช่วง นอกจากกลุ่มดาวหมีใหญ่ ยังมีอีกกลุ่มที่ใช้หาดาวเหนือได้คือ กลุ่มดาวแคสซิโอเปีย หรือดาวค้างคาว สำหรับคนในซีกโลกเหนือ กลุ่มดาวหมีใหญ่เป็นกลุ่มดาวที่มองเห็นได้ตลอดทั้งปีเช่นเดียวกับดาวเหนือ แต่ในทางกลับกันเนื่องจากเป็นกลุ่มดาวที่อยู่ในซีกฟ้าเหนือ ผู้ที่อาศัยอยู่ทางซีกโลกใต้มาก ๆ จะเห็นได้ลำบาก เพราะตำแหน่งดาวบนทรงกลมท้องฟ้า จะอยู่ใต้พื้นโลกเกือบตลอดเวลา สิ่งที่น่ารู้อีกอย่างเกี่ยวกับกลุ่มดาวหมีใหญ่คือ กลุ่มดาวหมีใหญ่มีโลกที่สดใสและเป็นสีชมพูตลอดเวลาเนื่องจากกลุ่มดาวหมีใหญ่มีดาวบีตา(β)ชื่อว่า"มีรัก(Merak)".
ดู อวกาศห้วงลึกของฮับเบิลและกลุ่มดาวหมีใหญ่
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) คือ กล้องโทรทรรศน์ในวงโคจรของโลกที่กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีนำส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อเดือนเมษายน..
ดู อวกาศห้วงลึกของฮับเบิลและกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา
ในการศึกษาจักรวาลวิทยา หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา เป็นสมมุติฐานที่ใช้งานอยู่ในการอธิบายถึงโครงสร้างขนาดใหญ่ของจักรวาล โดยระบุว่า กล่าวโดยละเอียดดังนี้ หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยานี้ทำให้มีทฤษฎีทางจักรวาลที่เป็นไปได้เพียงจำนวนหนึ่ง ซึ่งได้ผลสอดคล้องกับการสังเกตการณ์ คือ (1) การกระจายตัวของดาราจักรในอวกาศ (2) การกระจายตัวของแหล่งกำเนิดคลื่นวิทยุ และ (3) การแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล ปี..
ดู อวกาศห้วงลึกของฮับเบิลและหลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา
อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล
อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล ประกอบด้วยกาแล็กซีที่มีอายุ ขนาด รูปร่าง และสีแตกต่างกัน อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล (Hubble Ultra Deep Field) คือ ภาพถ่ายพื้นที่เล็กๆในกลุ่มดาวเตาหลอมจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล เริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน ค.ศ.
ดู อวกาศห้วงลึกของฮับเบิลและอวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล
ทางช้างเผือก
ทางช้างเผือก คือดาราจักรที่มีระบบสุริยะและโลกของเราอยู่ เมื่อมองบนท้องฟ้าจะปรากฏเป็นแถบขมุกขมัวคล้ายเมฆของแสงสว่างสีขาว ซึ่งเกิดจากดาวฤกษ์จำนวนมากภายในดาราจักรที่มีรูปร่างเป็นแผ่นจาน ส่วนที่สว่างที่สุดของทางช้างเผือกอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู ซึ่งเป็นทิศทางไปสู่ใจกลางดาราจักร แต่เดิมนั้น นักดาราศาสตร์คิดว่าดาราจักรทางช้างเผือกมีลักษณะเป็นดาราจักรชนิดก้นหอยธรรมดา แต่หลังจากผ่านการประเมินครั้งใหม่ในปี พ.ศ.
ดู อวกาศห้วงลึกของฮับเบิลและทางช้างเผือก
ดาราจักร
ราจักร '''NGC 4414''' ซึ่งเป็นดาราจักรชนิดก้นหอย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 56,000 ปีแสง และอยู่ห่างจากโลกประมาณ 60 ล้านปีแสง ดาราจักร หรือ กาแล็กซี (galaxy) เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์นับล้านดวง กับสสารระหว่างดาวอันประกอบด้วยแก๊ส ฝุ่น และสสารมืด รวมอยู่ด้วยกันด้วยแรงโน้มถ่วง คำนี้มีที่มาจากภาษากรีกว่า galaxias หมายถึง "น้ำนม" ซึ่งสื่อโดยตรงถึงดาราจักรทางช้างเผือก (Milky Way) ดาราจักรโดยทั่วไปมีขนาดน้อยใหญ่ต่างกัน นับแต่ดาราจักรแคระที่มีดาวฤกษ์ประมาณสิบล้านดวง ไปจนถึงดาราจักรขนาดยักษ์ที่มีดาวฤกษ์นับถึงล้านล้านดวง.
ดู อวกาศห้วงลึกของฮับเบิลและดาราจักร
เอกภพ
อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล ที่ประกอบด้วยกาแล็กซีที่มีอายุ ขนาด รูปร่าง และสีแตกต่างกัน เอกภพ หรือ จักรวาล โดยทั่วไปนิยามว่าเป็นผลรวมของการดำรงอยู่ รวมทั้งดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ ดาราจักร สิ่งที่บรรจุอยู่ในอวกาศระหว่างดาราจักร และสสารและพลังงานทั้งหมด การสังเกตเอกภพทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเชื่อกันว่ามีเส้นผ่านศูนย์กลาง 9,999 ล้านปีแสง นำไปสู่อนุมานขั้นแรกเริ่มของเอกภพ การสังเกตเหล่านี้แนะว่า เอกภพถูกควบคุมด้วยกฎทางฟิสิกส์และค่าคงที่เดียวกันตลอดขนาดและประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ทฤษฎีบิกแบงเป็นแบบจำลองจักรวาลวิทยาทั่วไปซึ่งอธิบายพัฒนาการแรกเริ่มของเอกภพ ซึ่งในจักรวาลวิทยากายภาพเชื่อว่าเกิดขึ้นเมื่อราว 13,700 ล้านปีก่อน มีนักฟิสิกส์มากมายเชื่อสมมุติฐานเกี่ยวกับพหุภพ ซึ่งกล่าวไว้ว่าเอกภพอาจเป็นหนึ่งในภพจำนวนมากที่มีอยู่เช่นกัน ระยะทางไกลสุดที่เป็นไปได้ทางทฤษฎีแก่มนุษย์ที่จะมองเห็นอธิบายว่าเป็น เอกภพที่สังเกตได้ การสังเกตได้แสดงว่า เอกภพดูจะขยายตัวในอัตราเร่ง และมีหลายแบบจำลองเกิดขึ้นเพื่อพยากรณ์ชะตาสุดท้ายของเอกภพ แผนภาพตำแหน่งของโลกในสถามที่ต่างๆของเอก.
ดู อวกาศห้วงลึกของฮับเบิลและเอกภพ
18 ธันวาคม
วันที่ 18 ธันวาคม เป็นวันที่ 352 ของปี (วันที่ 353 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 13 วันในปีนั้น.
ดู อวกาศห้วงลึกของฮับเบิลและ18 ธันวาคม
28 ธันวาคม
วันที่ 28 ธันวาคม เป็นวันที่ 362 ของปี (วันที่ 363 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 3 วันในปีนั้น.
ดู อวกาศห้วงลึกของฮับเบิลและ28 ธันวาคม
ดูเพิ่มเติม
กลุ่มดาวหมีใหญ่
- 3ซี 268.3
- 47 หมีใหญ่
- กลุ่มดาวจระเข้
- กลุ่มดาวหมีใหญ่
- กลุ่มเคลื่อนที่หมีใหญ่
- อวกาศห้วงลึกของฮับเบิล
- เมซีเย 82
- เอ็นจีซี 3949
- ไอ ซวิกกี 18
จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ
- กฎของฮับเบิล
- การพองตัวของจักรวาล
- การเลื่อนไปทางแดง
- ความเป็นโลหะ (ดาราศาสตร์)
- จักรวาล
- จักรวาลวิทยา
- จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ
- ดาราศาสตร์ดาราจักรนอกระบบ
- ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล
- ทฤษฎีการรวมแรงครั้งใหญ่
- ทฤษฎีสตริง
- ที่ตั้งของโลกในเอกภพ
- บันไดระยะห่างของจักรวาล
- บิกแบง
- ประวัติศาสตร์ทฤษฎีบิกแบง
- ปัญหาขอบฟ้า
- ปัญหาความแบนของเอกภพ
- พลังงานมืด
- พหุภพ
- รูปร่างของเอกภพ
- หลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา
- หลักการพื้นฐานโคเปอร์นิคัส
- อวกาศห้วงลึกของฮับเบิล
- อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล
- เส้นเวลากราฟิกของจักรวาล
- เส้นเวลากราฟิกของบิกแบง
- เส้นเวลากราฟิกของยุคแห่งดวงดาว
- เอกภพ
- เอกภพที่สังเกตได้
- แบบจำลองเอกภพสถิต
- แบริโอเจเนซิส
ผลงานในปี พ.ศ. 2538
- อวกาศห้วงลึกของฮับเบิล
- เสาแห่งการก่อกำเนิด
ภารกิจอวกาศในปี พ.ศ. 2538
- อวกาศห้วงลึกของฮับเบิล
หรือที่รู้จักกันในชื่อ สนามลึกฮับเบิล