โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล

ดัชนี กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) คือ กล้องโทรทรรศน์ในวงโคจรของโลกที่กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีนำส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อเดือนเมษายน..

143 ความสัมพันธ์: บรรยากาศของโลกชอน โอคีฟชั้นโอโซนพ.ศ. 2533พ.ศ. 2537พ.ศ. 2547พ.ศ. 2549กฎของฮับเบิลกระสวยอวกาศกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีกระสวยอวกาศแอตแลนติสกระสวยอวกาศโคลัมเบียกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์กล้องสำรวจขั้นสูงกล้องถ่ายภาพวัตถุมัวกล้องถ่ายภาพสนามกว้าง 3กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2กล้องใกล้อินฟราเรดและสเปกโตรมิเตอร์หลายวัตถุกล้องโทรทรรศน์กล้องโทรทรรศน์วิลเลียม เฮอร์เชลกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสงกล้องโทรทรรศน์อวกาศกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรากล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตันกล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชลกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์การบินอวกาศการเลี้ยวเบนกิโลกรัมกิโลเมตรภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ภัยพิบัติกระสวยอวกาศโคลัมเบียมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสันมหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์มหานวดารามิวนิกรัฐมิสซูรีรัฐสภาสหรัฐรัฐแมริแลนด์รังสีอัลตราไวโอเลตลิปดาลูว์ อัลเลนวอยเอจเจอร์ 2วารสารวิชาการวุฒิสภาวงโคจรวงโคจรต่ำของโลก...ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลศูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรปสมาคมมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยด้านดาราศาสตร์สมาคมดาราศาสตร์ไทยสถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศสถาบันสมิธโซเนียนสถานีอวกาศนานาชาติสงครามโลกครั้งที่สองสเปกตรัมมองเห็นได้สเปกโตรกราฟกล้องโทรทรรศน์อวกาศสเปกโตรกราฟวัตถุมัวสเปกโตรกราฟความละเอียดสูงก็อดเดิร์ดสเปกโตรกราฟต้นกำเนิดจักรวาลหลุมดำหอดูดาวแมกดาลีนาริดจ์หุ่นยนต์อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิลอวกาศห้วงลึกของฮับเบิลอะลูมิเนียมอิริเดียมอินฟราเรดอุปกรณ์สังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในวงโคจรอุปกรณ์ถ่ายเทประจุองค์การอวกาศยุโรปองค์การอวกาศแคนาดาอเมริกันฮีตซิงก์จักรวาลจานดาวเคราะห์ก่อนเกิดทวีปยุโรปทิฟฟ์ดอลลาร์สหรัฐดาราศาสตร์ดาราจักรดาวพฤหัสบดีดาวพลูโตดาวพุธดาวฤกษ์ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9ดาวอีริสดาวแปรแสงดาวแปรแสงชนิดเซเฟอิดความยาวคลื่นความละเอียดเชิงมุมความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ความคลาดทรงกลมความโน้มถ่วงความเร่งคอมพิวเตอร์คอนสตันติน ซีออลคอฟสกีตารางเมตรปอนด์นักบินอวกาศนักดาราศาสตร์นาซานิ้วแก้วแว่นตาแสงวาบรังสีแกมมาแฮร์มัน โอแบร์ธโฟตอนโรเบิร์ต ก็อดเดิร์ดโลกโครงการหอดูดาวเอกโซลิดสเตตไดรฟ์ไมโครเมตรไมเคิล กริฟฟินไลแมน สปิตเซอร์ไจโรสโคปไนโตรเจนเมตรเมตรต่อวินาทีเยอรมันเอ็ดวิน ฮับเบิลเอเรียล 3เจมส์ อี. เวบบ์เจอรัลด์ ฟอร์ดเจเพ็กเครื่องวัดความสว่างความเร็วสูงเครื่องแก้ไขภาพกล้องโทรทรรศน์อวกาศเซลล์แสงอาทิตย์เซ็นเซอร์นำทางความละเอียดสูงเนบิวลากระดูกงูเรือเนบิวลาอินทรีเนบิวลานายพราน11 สิงหาคม13 มกราคม13 มิถุนายน24 เมษายน29 มกราคม3 สิงหาคม31 ตุลาคม ขยายดัชนี (93 มากกว่า) »

บรรยากาศของโลก

ลักษณะบรรยากาศของโลก บรรยากาศของโลก คือ อากาศที่ห่อหุ้มโลกอยู่โดยรอบ วันที่สืบค้น 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและบรรยากาศของโลก · ดูเพิ่มเติม »

ชอน โอคีฟ

อน โอคีฟ ชอน โอคีฟ (Sean O'Keefe) เกิดเมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1956 เคยเป็นผู้อำนวยการองค์การนาซา สหรัฐอเมริกา ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2001 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2005 ตลอดช่วงการบริหารของเขามีเรื่องราวเกิดขึ้นกับนาซามากมายทั้งดีมากและร้ายมาก ตั้งแต่ความสำเร็จในการส่งยานลงสำรวจดาวอังคาร ไปจนถึงโศกนาฏกรรมกระสวยอวกาศโคลัมเบีย 21 กุมภาพันธ์ 2005 หลังจากลาออกจากนาซาแล้ว โอคีฟได้เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยหลุยเซียนา และลาออกเมื่อ 16 มกราคม 2008 ดาวเคราะห์น้อย 78905 ชอนโอคีฟ ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่เขาสำหรับผลงานการปฏิบัติหน้าที่ที่องค์การนาซ.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและชอน โอคีฟ · ดูเพิ่มเติม »

ชั้นโอโซน

ั้นโอโซน (ozone layer, ozone shield) เป็นส่วนหนึ่งของชั้นบรรยากาศโลกที่ดูดซับรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์มากที่สุด โดยประกอบด้วยโอโซน (O3) ในปริมาณมากกว่าชั้นบรรยากาศอื่น แม้จะยังถือว่าน้อยเมื่อเทียบกับแก๊สชนิดอื่นในชั้นสตราโทสเฟียร์ ชั้นโอโซนมีโอโซน 10 ส่วนในล้านส่วน ขณะที่ปริมาณเฉลี่ยของโอโซนในชั้นบรรยากาศโลกโดยรวมอยู่ที่ประมาณ 0.3 ส่วนในล้านส่วน ชั้นโอโซนพบได้ ชั้นโอโซนดูดซับ 97 ถึง 99 เปอร์เซ็นต์ของรังสียูวีความถี่กลางของดวงอาทิตย์ (ความยาวคลื่นตั้งแต่ประมาณ 200 นาโนเมตร จนถึง 315 นาโนเมตร) ที่อาจสร้างความเสียหายแก่สิ่งมีชีวิตบนผิวโลก ชั้นโอโซนในช่วงล่างของชั้นสตราโทสเฟียร์ โดยอยู่อยู่ห่างจากผิวโลก ประมาณ 20 ถึง 30 กิโลเมตร และความหนาของชั้นบรรยากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูและภูมิศาสตร์ ชั้นโอโซนจะช่วยป้องกันไม่ให้รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ส่องมาถึงโลกของเรา ดวงอาทิตย์ทำให้ชีวิตบนโลกดำรงอยู่ได้ ความอบอุ่นและพลังงานของดวงอาทิตย์ ส่งผลต่อดิน น้ำ อากาศ และสิ่งมีชีวิตทุกอย่าง แต่ดวงอาทิตย์ทำให้เกิดรังสีที่เป็นอันตรายต่อชีวิตด้วย ชั้นโอโซนมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะทำหน้าที่เป็นเกราะคุ้มกัน ปกป้องพืชและสัตว์จากรังสีที่เป็นอันตรายของดวงอาทิตย์ ดังนั้นเมื่อใดที่โอโซนบางลงเราก็ได้รับการปกป้องน้อยลงด้วย เราเรียกรังสีที่เป็นอันตรายจากดวงอาทิตย์ว่า อัลตราไวโอเลต อัลตราไวโอเลตเป็นรังสีที่ไม่สามารถมองเห็นได้ หากมีปริมาณน้อยรังสีอัลตราไวโอเลตจะปลอดภัยและมีประโยชน์ โดยช่วยให้ร่างกายของเราได้รับวิตามินอี แต่รังสีอัลตราไวโอเลตที่มากเกินไป เป็นสาเหตุที่ทำให้ผิวหนังของเราอักเสบเนื่องจากแพ้แดด ปริมาณของรังสีอัลตราไวโอเลตจำนวนมาก อาจทำให้ผิวหนังเกิดอาการอักเสบรุนแรง เกิดโรคผิวหนังและปัญหาเกี่ยวกับดวงตา รังสีอัลตราไวโอเลตยัง ลดความสามารถของร่างกายมนุษย์ ในการต่อสู้กับโรคต่าง ๆ นอกจากนี้รังสีอัลตราไวโอเลตปริมาณมาก ยังทำลายพืชในไร่และต้นพืชเล็ก ๆ ในทะเลซึ่งเป็นอาหารของปลา หากต้องไปอยู่ท่ามกลางแสงแดด ควรทาครีมป้องกันผิว ครีมทาผิวเหล่านี้จะมีตัวเลขบอกปริมาณการปกป้องผิวจากรังสีอัลตราไวโอเลตได้.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและชั้นโอโซน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กฎของฮับเบิล

กฎของฮับเบิล เป็นสมการในวิชาฟิสิกส์จักรวาลวิทยาที่อธิบายปรากฏการณ์การเคลื่อนไปทางแดงของแสงที่ได้รับจากดาราจักรอันห่างไกลซึ่งมีค่าแปรผันไปตามระยะห่าง กฎนี้คิดค้นขึ้นครั้งแรกโดย เอ็ดวิน ฮับเบิล ในปี ค.ศ. 1929 หลังจากเขาได้เฝ้าสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์มานับสิบปี นับได้ว่าการเฝ้าสังเกตการณ์ของฮับเบิลเป็นหลักฐานชิ้นแรกของแนวคิดการขยายตัวของจักรวาล ซึ่งเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญของแนวคิดบิกแบง ข้อมูลในการคำนวณล่าสุดใช้ข้อมูลในปี 2003 ซึ่งได้จากดาวเทียม WMAP ร่วมกับข้อมูลทางดาราศาสตร์อื่นๆ ได้ค่าคงที่ของฮับเบิลเท่ากับ 70.1 ± 1.3 (กม./วินาที)/เมกะพาร์เซก ซึ่งสอดคล้องกับค่าที่คำนวณได้จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลเมื่อปี 2001 คือ 72 ± 8 (กม./วินาที)/เมกะพาร์เซก.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกฎของฮับเบิล · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศ

ลัมเบีย STS-1 พ.ศ. 2524 กระสวยอวกาศ (space shuttle) คือ เครื่องบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นโดยองค์การนาซ่า (NASA) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า Space Transportation System (STS) ผลิตโดยบริษัท North American Aviation ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Rockwell International สเปซชัทเทิลทะยานขึ้นเหมือนจรวดและไปโคจรรอบโลก มีปีกและตอนกลับสู่โลกจะร่อนลงตามรันเวย์ กระสวยอวกาศสามารถนำมาใช้ได้หลาย ๆ ครั้ง กระสวยอวกาศถูกออกแบบมาให้ใช้งานซ้ำได้ 100 ครั้ง หรือปฏิบัติการได้ 10 ปี โครงการถูกเริ่มขึ้นในท้ายยุค 60 หลังจากนั้นก็มีบทบาทสำคัญในปฏิบัติการที่ต้องใช้คนเข้าร่วมของนาซามาโดยตลอด ส่วนสำคัญของกระสวยอวกาศ เรียกว่า ออร์บิเตอร์ (orbiter หมายถึง ยานโคจร) จะพาลูกเรือและสัมภาระไปยังอวกาศในขณะที่จะส่งกระสวยอวกาศขึ้นไป กระสวยจะอยู่ที่ฐานส่งโดยจะตั้งชี้ขึ้นไปคล้ายจรวด ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์จะมีแทงค์น้ำมันขนาดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า แทงค์ด้านนอก (External Tank) ซึ่งมันจะเก็บออกซิเจนและไฮโดรเจนในขณะที่มันขึ้นเชื้อเพลิงเหล่านี้จะถูกสูบเข้าไปยังเครื่องยนต์หลัก 3 เครื่อง ของออร์บิเตอร์ นอกจากนี้ยังมีแทงค์ขนาดเล็กที่อยู่ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์บนฐานส่งเพื่อให้แรงผลักดันพิเศษในขณะส่งกระสวยขึ้น ซึ่งเรียกว่า Solid Fuel Rocket Booster หรือ SRB ทำงานคล้ายกับจรวดดอกไม้ไฟขนาดใหญ่ เมื่อกระสวยอวกาศทะยานขึ้น หลังจากนั้นประมาณ 2 นาที เชื้อเพลิงในแทงค์เชื้อเพลิง SRB จะหมดลง และตกลงในทะเลกับร่มชูชีพ อัตราความเร็วของกระสวยค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วประมาณ 72 ไมล์ จากนั้นเครื่องยนต์หลักจึงหยุดทำงาน และถังเชื้อเพลิงภายนอกซึ่งว่างเปล่าจะถูกปล่อยตกลงสู่ทะเล เครื่องยนต์ของจรวดสองลำจะรับภาระต่อไป ซึ่งเรียกว่า ระบบการยักย้ายการโคจร ในระหว่างการโคจร เมื่อถึงเวลากลับสู่โลก เครื่องยนต์ระบบการยักย้ายการโคจรจะถูกยิงคล้ายกับตอนล่างของจรวด และยานจะหลุดออกจากการโคจร แล้วกลับลงมาสู่บรรยากาศโลกในอัตราความเร็ว 15,900 ไมล์ต่อชั่วโมง (หรือประมาณ 25,700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) แผ่นกำบังความร้อนข้างใต้กระสวยอวกาศจะเปล่งแสงสีแดงจัดพร้อมกับความร้อนในการกลับเข้ามาสู่โลก แผ่นกระเบื้องพิเศษบนกระสวยอวกาศจะป้องกันลูกเรือและยานอวกาศออร์บิเตอร์จะช้าลงเมื่อเข้ามาถึงบริเวณส่วนล่างของบรรยากาศ จะร่อนลงบนพื้นดินบนรันเวย์ด้วยความเร็วประมาณ 210 ไมล์แล้วภารกิจก็จะจบลง.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกระสวยอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์

กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ (Shuttle Orbiter Challenger) รหัสประจำยานคือ OV-099 เป็นกระสวยอวกาศลำที่สองที่ใช้ปฏิบัติภารกิจในอวกาศขององค์การนาซ่า สร้างถัดจากกระสวยอวกาศโคลัมเบีย เริ่มปล่อยสู่อวกาศครั้งแรก(ภารกิจที่ STS-6) ในวันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี

STS-92, พ.ศ. 2543 (ภาพจากองค์การนาซา) กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี (Orbiter Vehicle Designation: OV-103) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 3 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-103 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ แอตแลนติส และ เอนเดฟเวอร์) เริ่มบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ดิสคัฟเวอรี ถือเป็นกระสวยอวกาศปฏิบัติการลำที่สาม (ไม่รวมกระสวยอวกาศ''เอนเทอร์ไพรซ์'' ซึ่งเป็นยานทดสอบ) และเป็นกระสวยอวกาศลำที่มีระยะปฏิบัติการยาวนานที่สุด ในบรรดากระสวยอวกาศทั้งหมด ดิสคัฟเวอรีมีปฏิบัติการหลายชนิด ทั้งงานวิจัย และภารกิจร่วมกับสถานีอวกาศนานาชาติ กระสวยอวกาศลำนี้ได้ชื่อมาจากเรือสำรวจหลายลำในอดีตที่ชื่อ ดิสคัฟเวอรี โดยเรือดิสคัฟเวอรีลำแรก คือ HMS Discovery ของอังกฤษ ซึ่งเป็นเรือสำรวจที่พา เจมส์ คุก เดินทางครั้งสำคัญ นอกจากนี้ยังมีเรือดิสคัฟเวอรีอื่น ๆ อีกมากมาย กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรียังมีชื่อตรงกับยานอวกาศในภาพยนตร์เรื่อง 2001: A Space Odyssey ด้วย ยานดิสคัฟเวอรีเป็นกระสวยอวกาศที่ขึ้นไปปล่อยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) รวมทั้งภารกิจซ่อมแซมกล้องฮับเบิลในครั้งที่สองและสามด้วย นอกจากนี้ยังมีภารกิจปล่อยโพร้บยูลิสซิส (Ulysses) และดาวเทียม TDRS สามดวง ยานดิสคัฟเวอรีได้รับเลือกถึงสองครั้งให้ทำหน้าที่แทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ และกระสวยอวกาศโคลัมเบีย ที่ระเบิดเมื่อ ค.ศ. 1986 และ ค.ศ. 2003 ตามลำดั.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศแอตแลนติส

STS-129 กระสวยอวกาศ แอตแลนติส (Orbiter Vehicle Designation OV-104) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 4 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-104 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ดิสคัฟเวอรี และ เอนเดฟเวอร์) กระสวยอวกาศแอตแลนติส ถูกตั้งชื่อตามเรือสำรวจหลักของสถาบันสมุทรศาสตร์ เริ่มทำการบินครั้งแรกในเที่ยวบิน STS-51-J วันที่ 19 มกราคม..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกระสวยอวกาศแอตแลนติส · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศโคลัมเบีย

กระสวยอวกาศโคลัมเบีย (Orbiter Vehicle Designation: OV-102) เป็นกระสวยอวกาศลำแรกที่ใช้งานจริงของนาซา ซึ่งภารกิจแรกในเที่ยวบิน STS-1 เมื่อวันที่ 12 เมษายน ถึง 14 เมษายน ในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ.1981) จนมาถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 กระสวยอวกาศโคลัมเบียได้เกิดอุบัติเหตุระเบิดขึ้นเหนือรัฐเทกซัสขณะกลับสู่โลก หลังภารกิจครั้งที่ 28 เสร็จสิ้น ทำให้ลูกเรือในยานทั้ง 7 คนเสียชีวิต.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกระสวยอวกาศโคลัมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์

กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ (Orbiter Vehicle Designation: OV-105) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 5 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-105 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ''ดิสคัฟเวอรี'' และ ''แอตแลนติส'') เอนเดฟเวอร์เป็นกระสวยอวกาศที่นาซาสร้างขึ้นใช้งานเป็นลำสุดท้าย เอนเดฟเวอร์ สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เริ่มบินครั้งแรกในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ในภารกิจที่ STS-49 ยานเอนเดฟเวอร์ได้รับเลือกให้ปฏิบัติภารกิจสำคัญมากมาย เช่น ปล่อยดาวเทียม เชื่อมต่อกับสถานีอวกาศเมียร์ของรัสเซีย และลำเลียงชิ้นส่วนของสถานีอวกาศนานาชาติ กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ปฏิบัติภารกิจสุดท้ายคือ STS-134 วันที่ 16 พฤษภาคม..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องสำรวจขั้นสูง

กล้องสำรวจขั้นสูงตั้งอยู่ในห้องควบคุมความสะอาดที่ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดก่อนที่จะนำไปติดตั้งบนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล นักบินอวกาศกำลังถอดกล้องถ่ายภาพวัตถุมัวออกเพื่อติดตั้งกล้องสำรวจขั้นสูง กล้องสำรวจขั้นสูง (Advanced Camera for Surveys) คือ อุปกรณ์วิทยาศาสตร์รุ่นที่สามของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ได้รับออกแบบเบื้องต้นโดยทีมจากมหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ สร้างและทดสอบโดยบริษัท Ball Aerospace & Technologies Corp และศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด และทดสอบความพร้อมที่ศูนย์อวกาศเคนเนดีก่อนที่จะบรรจุในกระสวยอวกาศโคลัมเบีย ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 2002 ในภารกิจซ่อมบำรุง 3B และติดตั้งบนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลเมื่อวันที่ 7 มีนาคม แทนที่กล้องถ่ายภาพวัตถุมัว (Faint Object Camera) กล้องสำรวจขั้นสูงเป็นกล้องที่มีความสามารถหลายอย่างจนทำให้มันกลายเป็นเครื่องมือหลักของกล้องฮับเบิลไปอย่างรวดเร็ว ข้อได้เปรียบของมันเหนือเครื่องมืออื่นๆ ได้แก่ มันสามารถเคลื่อนที่ได้ตามแกนสามแกนอิสระ ตรวจจับคลื่นย่านอัลตราไวโอเลตจนถึงอินฟราเรด มีพื้นที่สำรวจกว้างและมีประสิทธิภาพควอนตัมสูง ทำให้กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิลมีประสิทธิภาพในการค้นหามากเพิ่มขึ้นสิบเท่า นอกจากนี้มันยังมีมีฟิลเตอร์เป็นจำนวนมาก มีความสามารถในการป้องกันแสงความเข้มสูงจากดาวฤกษ์ การวัดโพลาไรเซชันของแสง และการเลือกแสงในช่วงความยาวคลื่นที่ต้องการ การที่มันมีความไวต่อแสงสูงมากทำให้นักดาราศาสตร์สามารถถ่ายภาพจักรวาลอันไกลโพ้นอย่างภาพอวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล (Hubble Ultra Deep Field) ได้และสามารถถ่ายภาพปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ตั้งแต่ดาวหางในระบบสุริยะของเราไปจนถึงควอซาร์ที่ไกลที่สุดเท่าที่มนุษย์ค้นพบ หมวดหมู่:กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องสำรวจขั้นสูง · ดูเพิ่มเติม »

กล้องถ่ายภาพวัตถุมัว

นักบินอวกาศกำลังถอดกล้องถ่ายภาพวัตถุมัวออกเพื่อให้มีพื้นที่ติดตั้งกล้องสำรวจขั้นสูง กล้องถ่ายภาพวัตถุมัว (Faint Object Camera; FOC) เป็นกล้องถ่ายภาพที่ติดตั้งอยู่บนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลนับแต่เริ่มขึ้นสู่อวกาศในปี ค.ศ. 1990 จนกระทั่งถึงปี 2002 จึงถูกถอดออกแทนที่ด้วยกล้องสำรวจขั้นสูง กล้องนี้สร้างโดยบริษัทเยอรมัน Dornier โดยได้รับทุนอุดหนุนจากองค์การอวกาศยุโรป ประกอบด้วยระบบกล้องสองชุดที่สมบูรณ์และเป็นอิสระจากกันที่ออกแบบมาเพื่อให้ได้ภาพความละเอียดสูงมาก คือละเอียดกว่า 0.05 ฟิลิปดา ใช้สำหรับจับภาพวัตถุที่จางมากๆ เช่นในคลื่นแสงอัลตราไวโอเลตตั้งแต่ 115 ถึง 650 นาโนเมตร หมวดหมู่:กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องถ่ายภาพวัตถุมัว · ดูเพิ่มเติม »

กล้องถ่ายภาพสนามกว้าง 3

กล้องถ่ายภาพสนามกว้าง 3 (Wide Field Camera 3) คือ กล้องที่จะถูกนำไปติดตั้งบนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลในวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 2008 ใช้สำหรับถ่ายคลื่นที่ตามองเห็น มันจะเป็นอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ที่ทันสมัยที่สุดที่ใช้ถ่ายคลื่นที่ตามองเห็นของกล้องฮับเบิลและเป็นอุปกรณ์ตัวสุดท้ายของกล้องฮับเบิล.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องถ่ายภาพสนามกว้าง 3 · ดูเพิ่มเติม »

กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์

กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ (Wide Field/Planetary Camera) คือ กล้องที่ติดตั้งอยู่บนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่ถูกติดตั้งตั้งแต่ตอนขนส่งขึ้นสู่วงโคจร ประสิทธิภาพของมันมันลดลงเนื่องจากข้อบกพร่องของกระจกหลักในกล้องโทรทรรศน์ อย่างไรก็ตาม มันยังคงถ่ายภาพวัตถุทางดาราศาสตร์ที่สว่างมากด้วยความละเอียดสูง ทำให้เกิดการค้นพบที่สำคัญต่างๆมากมาย กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์เกิดจากแนวคิดของ James A. Westphal ศาสตราจารย์วิชาอวกาศดาวเคราะห์จากสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย ถูกออกแบบและก่อสร้างโดยห้องทดลองการขับเคลื่อนด้วยไอพ่นขององค์การนาซา ในเวลานั้น อุปกรณ์ถ่ายเทประจุ (CCD) ยังไม่ถูกนำมาใช้งานทางดาราศาสตร์มากนัก แต่ประสิทธิภาพของมันก็ทำให้นักดาราศาสตร์เห็นว่าควรใช้มันในกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ประกอบด้วยกล้องสองตัวแยกจากกัน ได้แก่ กล้องถ่ายภาพสนามกว้าง และกล้องถ่ายภาพดาวเคราะห์ กล้องแต่ละตัวมีอุปกรณ์ถ่ายเทประจุ (CCD) ขนาด 800 x 800 พิกเซล จำนวน 4 ตัว วางติดกันให้สามารถถ่ายรูปได้โดยไร้รอยต่อ กล้องถ่ายภาพสนามกว้างมีพิกเซลขนาด 0.1 พิลิปดา ใช้สำหรับถ่ายภาพวัตถุมัวในมุมกว้าง กล้องถ่ายภาพดาวเคราะห์มีพิกเซลขนาด 0.043 พิลิปดา ใช้สำหรับถ่ายภาพความละเอียดสูง พีระมิดสี่หน้าที่เอียง 45 องศาเป็นตัวเลือกว่าจะใช้กล้องใด กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ถูกเปลี่ยนเป็นกล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2 ในภารกิจซ่อมบำรุงกล้องฮับเบิลครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2

ที่ได้จากกล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2 มีรูปร่างเป็นขั้นบันได กล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2 (Wide Field and Planetary Camera 2) คือ กล้องที่ติดตั้งอยู่บนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ถูกนำขึ้นไปติดตั้งในภารกิจซ่อมบำรุงกล้องฮับเบิลครั้งที่หนึ่งเมื่อ ค.ศ. 1993 มันถ่ายภาพสนามลึกฮับเบิลเมื่อ..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องถ่ายภาพสนามกว้างและดาวเคราะห์ 2 · ดูเพิ่มเติม »

กล้องใกล้อินฟราเรดและสเปกโตรมิเตอร์หลายวัตถุ

กล้องใกล้อินฟราเรดและสเปกโตรมิเตอร์หลายวัตถุ (Near Infrared Camera and Multi-Object Spectrometer; NICMOS) เป็นเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ใช้ในการศึกษาดาราศาสตร์อินฟราเรด ติดตั้งใช้งานอยู่บนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องใกล้อินฟราเรดและสเปกโตรมิเตอร์หลายวัตถุ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์

กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง กล้องโทรทรรศน์ คืออุปกรณ์ที่ใช้ขยายวัตถุท้องฟ้าโดยอาศัยหลักการรวมแสง เพื่อให้สามารถมองเห็นวัตถุท้องฟ้าที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือทำให้มองเห็นได้ชัดขึ้น และมีขนาดใหญ่ขึ้น กล้องโทรทรรศน์ได้ถูกคิดค้นขึ้นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1608 โดยฮานส์ ช่างทำแว่นคนหนึ่งซึ่งต่อมาค้นพบว่าหากนำเลนส์มาวางเรียงกับให้ได้ระยะที่ถูกต้องเลนส์สามารถขยายภาพที่อยู่ไกลๆได้ใกล้ขึ้น และ 1 ปีต่อมา กาลิเลโอ กาลิเลอิ ก็ได้ นำมาสำรวจท้องฟ้าเป็นครั้งแรกซึ่งในตอนนั้นเป็นกล้องหักเหแสงที่มีกำลังขยายไม่ถึง 30 เท่า เท่านั้นแต่ก็ทำให้เห็นรายละเอียดต่างๆมากมายของดวงดาวต่างๆที่ยังไม่เคยเห็นมาก่อนทำให้เป็นจุดเริ่มต้นของการเริ่มมาสำรวจท้องฟ้าโดยใช้กล้องโทรทรรศน.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องโทรทรรศน์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์วิลเลียม เฮอร์เชล

กล้องโทรทรรศน์วิลเลียม เฮอร์เชล (William Herschel Telescope; WHT) เริ่มกำเนิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 เมื่อเริ่มมีการออกแบบหอดูดาวอังโกล-ออสเตรเลียน สมาคมดาราศาสตร์อังกฤษเห็นว่ามีความจำเป็นที่ต้องมีกล้องโทรทรรศน์สำหรับการเปรียบเทียบกำลังในเขตซีกโลกเหนือ การวางแผนก่อสร้างเริ่มในปี 1974 แต่เมื่อถึงปี 1979 โครงการก็เกือบถูกยกเลิกไปเนื่องจากงบประมาณที่บานปลายไปมาก มีการออกแบบใหม่เพื่อลดค่าใช้จ่ายลง และกลุ่มนักดาราศาสตร์ชาวดัตช์ได้เข้ามามีส่วนร่วมในโครงการด้วย 20% ทำให้โครงการสามารถเดินหน้าต่อได้ในปี 1981 ปีนั้นเป็นปีเฉลิมฉลองครบรอบ 200 ปี การค้นพบดาวยูเรนัสของวิลเลียม เฮอร์เชล กล้องโทรทรรศน์นี้จึงได้ชื่อว่า "วิลเลียม เฮอร์เชล" เพื่อเป็นเกียรติ กล้องนี้เป็นสมาชิกหนึ่งในบรรดากลุ่มกล้องโทรทรรศน์ไอแซก นิวตัน ด้วย การก่อสร้างกล้องโทรทรรศน์เริ่มในปี ค.ศ. 1983 กล้องถูกส่งไปลาพัลมาในปี 1985 และเปิดรับแสงแรกเมื่อปี 1987 มีฐานติดตั้งแบบ altazimuth และมีการปรับตั้งกระจกอยู่เสมอเพื่อให้ค่าความละเอียดสูงสุดตามทฤษฎีไม่เกิน 0.2 พิลิปดา กล้องโทรทรรศน์วิลเลียม เฮอร์เชล ต้องรองรับงานวิจัยค่อนข้างมาก โดยปกติคำร้องขอใช้กล้องจะได้รับตอบเพียงหนึ่งในสามเท่านั้น การค้นพบที่สำคัญผ่านกล้องโทรทรรศน์วิลเลียม เฮอร์เชล เช่น การพบฟองอากาศร้อนของแก๊สที่กำลังขยายตัวบริเวณศูนย์กลางของดาราจักรของเรา เป็นหลักฐานแสดงถึงการมีอยู่ของหลุมดำมวลยวดยิ่ง นอกจากนี้ยังมีการค้นพบแสงวาบรังสีแกมมาเป็นครั้งแรก และล่าสุดคือการค้นพบดาว Wolf-Rayet ที่มีลมดาวฤกษ์ความเร็วสูงที่สุดเท่าที.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องโทรทรรศน์วิลเลียม เฮอร์เชล · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง

วนประกอบและทางเดินแสงของกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงhttp://www.garyseronik.com/?q.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศ

กล้องโทรทรรศน์อวกาศ คืออุปกรณ์สำหรับการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ที่อยู่ในอวกาศภายนอกในระดับวง โคจรของโลกเพื่อทำการสังเกตการณ์ดาวเคราะห์อันห่างไกล ดาราจักร และวัตถุท้องฟ้าต่างๆ ที่ช่วยให้มนุษย์ทำความเข้าใจกับจักรวาลได้ดีขึ้นการสังเกตการณ์ในระดับวงโคจรช่วยแก้ปัญหาทัศนวิสัยในการสังเกตการณ์บนโลกที่ มีอุปสรรคต่างๆ เช่น การแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในชั้นบรรยากาศ เป็นต้น นอกจากนี้การถ่ายภาพวัตถุท้องฟ้ายังสามารถทำได้ที่ความยาวคลื่นต่างๆ กัน ซึ่งบางอย่างไม่สามารถทำได้บนผิวโลก โครงการกล้องโทรทรรศน์อวกาศที่ สำคัญของนาซา คือโครงการหอดูดาวเอก (Great Observatories) ซึ่งประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์อวกาศ 4 ชุดได้แก่ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล กล้องรังสีแกมมาคอมพ์ตัน กล้องรังสีเอกซ์จันทรา และกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ นอกจากนี้ยังมีกล้องโทรทรรศน์อวกาศอื่นๆ อีกที่อยู่ในวงโคจรแล้ว และกำลังจะขึ้นสู่วงโคจรในอนาคต.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องโทรทรรศน์อวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์

กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ (Spitzer Space Telescope) หรือเดิมชื่อ Space Infrared Telescope Facility (SIRTF) เป็นกล้องสังเกตการณ์อวกาศอินฟราเรด เป็นกล้องอันดับที่สี่และสุดท้ายของโครงการหอดูดาวเอกของนาซา ตั้งชื่อตาม ดร.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา

กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา หรือ กล้องรังสีเอกซ์จันทรา (Chandra X-ray Observatory) เป็นดาวเทียมของนาซา ที่มี detector ที่สามารถตรวจจับรังสีเอกซ์ได้ จึงเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับการศึกษารังสี X-ray ในห้วงอวก.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน

กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมพ์ตัน หรือ กล้องรังสีแกมมาคอมพ์ตัน (Compton Gamma-ray Observatory) เป็นหอสังเกตการณ์ดวงที่สองของนาซาในโครงการหอดูดาวเอกที่ส่งขึ้นสู่อวกาศ หลังจากที่ส่งกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลขึ้นไปก่อนหน้านั้น กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมพ์ตันตั้งชื่อตาม ดร.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชล

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชล (Herschel Space Observatory) เป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศขององค์การอวกาศยุโรป ริเริ่มโครงการตั้งแต..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชล · ดูเพิ่มเติม »

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ (James Webb Space Telescope; JWST) เป็นโครงการหอดูดาวอินฟราเรดในอวกาศขององค์การนาซาที่วางแผนไว้ในอนาคต เพื่อสืบทอดภารกิจของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล มีเป้าหมายทางวิทยาศาสตร์ในการสังเกตการณ์วัตถุอันห่างไกลในเอกภพ ซึ่งอยู่ไกลเกินกว่าความสามารถของกล้องฮับเบิลจะจับภาพได้ กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างองค์การนาซา กับองค์การอวกาศยุโรป (ESA) และองค์การอวกาศแคนาดา (CSA) เดิมมีชื่อเรียกโครงการว่า กล้องโทรทรรศน์อวกาศแห่งยุคหน้า (Next Generation Space Telescope; NGST) ต่อมาในปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ · ดูเพิ่มเติม »

การบินอวกาศ

การบินอวกาศ (spaceflight) คือการบินที่เกิดขึ้นในอวกาศโดยมีนักบินเป็นมนุษย์และอาจมีผู้โดยสารร่วมในการบินด้วย ซึ่งแตกต่างกับการสำรวจอวกาศด้วยหุ่นยนต์หรือดาวเทียมควบคุมระยะไกล บางครั้งก็เรียกอย่างเฉพาะเจาะจงว่า การบินในอวกาศโดยมนุษย์ (manned spaceflight) สำหรับปี ค.ศ. 2008 มีโครงการอวกาศการบินที่ยังดำเนินการอยู่ได้แก่ โครงการโซยูส (Soyuz) ขององค์การอวกาศสหพันธ์รัสเซีย โครงการอวกาศยานขององค์การนาซา และโครงการเสินโจวขององค์กรอวกาศแห่งชาติจีน.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและการบินอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

การเลี้ยวเบน

กไปจะมีขนาดเท่ากับรูนั้น การเลี้ยวเบนของคลื่นเกิดขึ้นได้ เมื่อคลื่นจากแหล่งกำเนิดเดินทางไปพบสิ่งกีดขวางที่มีลักษณะเป็นขอบหรือช่อง ทำให้คลื่นเคลื่อนที่เลี้ยวอ้อมผ่านสิ่งกีดขวางไปได้  อธิบายได้โดยใช้ เบน.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและการเลี้ยวเบน · ดูเพิ่มเติม »

กิโลกรัม

กิโลกรัม อักษรย่อ กก. (kilogram: kg) เป็นหน่วยฐานเอสไอของมวล นิยามไว้เท่ากับมวลของมวลต้นแบบระหว่างชาติของกิโลกรัม โดยสร้างจากโลหะเจือแพลตินัม-อิริเดียม.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกิโลกรัม · ดูเพิ่มเติม »

กิโลเมตร

กิโลเมตร อักษรย่อ กม. (mètre, km) เป็นหน่วยวัดความยาว มีขนาดเท่ากับ 1 × 103 เมตร.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์

''ชาเลนเจอร์''ระเบิด คร่าชีวิตลูกเรือทั้งหมด 7 คน ไมเคิล เจ. สมิท, ดิก สโคบี, โรนัลด์ แมคแนร์; (แถวหลัง) เอลลิสัน โอนิซึกะ, คริสตา แมคออลิฟ, เกรกอรี จาร์วิส, จูดิธ เรสนิค ภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์เกิดเมื่อวันที่ 28 มกราคม..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภัยพิบัติกระสวยอวกาศโคลัมเบีย

right โศกนาฏกรรมกระสวยอวกาศโคลัมเบีย เกิดขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 เมื่อกระสวยอวกาศโคลัมเบียของ องค์การนาซา แตกออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยตกลงมาสู่โลกเหนือเขตรัฐเทกซัสพร้อมกับการสูญเสียลูกเรือทั้งหมดเจ็ดคน หลังจากเสร็จสิ้นภารกิจในเที่ยวบินที่ 28 STS-107 และกำลังเดินทางกลับสู่พื้นโลก การสูญเสียของกระสวยอวกาศโคลัมเบียเกิดจากความเสียหายที่เกิดขึ้นระหว่างการส่ง ชิ้นส่วนแผ่นโฟมกันความร้อนชิ้นหนึ่งเกิดปริแตกออก และหลุดออกจากบริเวณถังเชื้อเพลิงด้านนอก พุ่งมากระทบปลายปีกด้านซ้ายของกระสวยอวกาศ ทำให้ระบบป้องกันความร้อนของกระสวย (Shuttle's thermal protection system (TPS)) ได้รับความเสียหาย วิศวกรจำนวนหนึ่งสังเกตเห็นความผิดปกติตั้งแต่กระสวยอวกาศยังอยู่ในวงโคจร แต่ผู้จัดการภาคพื้นดินของนาซาให้จำกัดขอบเขตการสอบสวนไว้ก่อนเพราะเห็นว่ายังไม่สามารถทำอะไรได้ คณะกรรมการสอบสอนอุบัติเหตุกระสวยอวกาศโคลัมเบีย ระบุถึงปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งในทางเทคนิคและด้านการจัดการภายในองค์กร ทำให้โครงการด้านกระสวยอวกาศต้องหยุดชะงักไปกว่าสองปีหลังจากอุบัติเหตุครั้งนี้ นับเป็นเหตุโศกนาฏกรรมครั้งใหญ่หลังจากเหตุการณ์โศกนาฏกรรมกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและภัยพิบัติกระสวยอวกาศโคลัมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน

มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน (University of Wisconsin-Madison) หรือนิยมเรียก มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองแมดิสัน ในรัฐวิสคอนซิน มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ. 2391 (ค.ศ. 1848) ในปัจจุบัน (ปี 2548 เทอมฤดูใบไม้ร่วง) มีนึกศึกษาทั้งหมด 41,480 คน ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน มีนักศึกษามากเป็นอันดับ 10 ของมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน มีชื่อเสียงในด้านแพทยศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมศาสตร์ นิติศาสตร์ และ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยตั้งอยู่ในตัวเมืองโดยด้านหลังมหาวิทยาลัยเป็นทะเลสาบขนาดใหญ่ และด้านหน้ามหาวิทยาลัยเป็นถนนชื่อสเตต เป็นแหล่งชอปปิงชื่อดังของเมืองแมดิสัน ภาพในมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ด้านหลังเป็นตึกแคปิตอลของรัฐวิสคอนซิน.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์

ห้องสมุดในมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจอนส์ ฮอปกินส์ (Johns Hopkins University ตัวย่อ JHU) หรือเรียกอย่างย่อว่า ฮอปกินส์ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในสหรัฐอเมริกา ริเริ่มก่อตั้งโดยประธานาธิบดี เดวิด คอยต์ กิลแมน ตั้งอยู่ที่เมืองบัลติมอร์ รัฐแมริแลนด์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2419 (ค.ศ. 1876) โดยมีการเปิดการเรียนการสอบในหลายระดับ มีนักศึกษาระดับปริญญาตรีประมาณ 4,500 คน และในระดับสูงกว่าระดับปริญญาตรี 15,000 คน จอนส์ ฮอปกินส์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในสหรัฐอเมริกาที่ใช้รูปแบบการจัดการศึกษาแบบมหาวิทยาลัยในเยอรมนี และเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในสหรัฐอเมริกาที่จัดการเรียนการสอนโดยใช้การสัมมนาแทนการสอนโดยการบรรยายเพียงอย่างเดียว รวมทั้งเป็นมหาวิทยาลัยอเมริกันแห่งแรกที่จัดให้มีวิชาเอก (major) แทนหลักสูตรศิลปศาสตร์ทั่วไป ดังนั้นจอนส์ ฮอปกินส์จึงเป็นต้นแบบของมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ในสหรัฐอเมริกา และเป็นหนึ่งใน 14 สมาชิกก่อตั้งสมาคมมหาวิทยาลัยอเมริกัน หรือ Association of American Universities จากสถิติของกองทุนวิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Science Foundation) ของสหรัฐอเมริกา จอนส์ ฮอปกินส์เป็นมหาวิทยาลัยที่ครองอันดับ 1 ในด้านการใช้งบประมาณการวิจัยและพัฒนาในสาขาวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และวิศวกรรมศาสตร์ เป็นเวลา 30 ปีต่อเนื่องกันและเป็นสถาบันที่ได้รับการอ้างอิงมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก จอห์น ฮอปกินส์ มีชื่อเสียงในด้านการแพทย์ สาธารณสุข และ การพยาบาล โดยได้รับการจัดอันดับจากยูเอสนิวส์ในอันดับต้นของประเทศหลายครั้ง นอกจากนั้นจอนส์ฮอปกินส์ยังมีสถาบันชั้นนำระดับโลกในสาขาอื่น อาทิ สถาบันด้านการดนตรีพีบอดี (Peabody Institute) และด้านการระหว่างประเทศ (The Paul H. Nitze School of Advanced International Studies หรือ SAIS) จนถึงพ.ศ. 2552 มีบุคคลที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์จำนวน 33 คนที่ได้รับรางวัลโนเบล.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและมหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ · ดูเพิ่มเติม »

มหานวดารา

ำลองจากศิลปินแสดงให้เห็นมหานวดารา SN 2006gy ที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศรังสีเอกซ์จันทราจับภาพได้ อยู่ห่างจากโลก 240 ล้านปีแสง มหานวดารา นิพนธ์ ทรายเพชร, อารี สวัสดี และ บุญรักษา สุนทรธรรม.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและมหานวดารา · ดูเพิ่มเติม »

มิวนิก

มิวนิก (Munich) หรือในภาษาเยอรมันว่า มึนเชิน (München) เป็นเมืองที่อยู่ทางใต้ของประเทศเยอรมนี และเป็นเมืองหลวงของรัฐบาวาเรีย ถือเป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสามของประเทศรองจากเบอร์ลินและฮัมบวร์ค และเป็นหนึ่งในเมืองมั่งคั่งที่สุดของยุโรปตัวเมืองมีประชากร 1.3 ล้านคน และ 2.7 ล้านคนในเขตเมือง ตัวเมืองตั้งอยู่บนแม่น้ำอีซาร์ เหนือเทือกเขาแอลป์ มิวนิกเป็นเมืองที่มีเศรษฐกิจเข้มแข็งที่สุดในประเทศเยอรมนี โครงการริเริ่ม “Neue Soziale Marktwirtschaft (INSM)” (เศรษฐกิจตลาดสังคมใหม่) และนิตยสาร “Wirtschafts Woche” (ธุรกิจรายสัปดาห์) ให้คะแนนมิวนิกสูงที่สุดในการสำรวจเปรียบเทียบ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 (เป็นครั้งที่สาม) มิวนิกยังเป็นอันดับหนึ่งในการจัดอันดับโดยนิตยสาร “Capital” ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ที่จัดอันดับแนวโน้มเศรษฐกิจระหว่าง..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและมิวนิก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมิสซูรี

รัฐมิสซูรี เป็นรัฐที่อยู่ทางตอนกลางของประเทศสหรัฐอเมริกา ล้อมรอบด้วยรัฐไอโอวา อิลลินอยส์ เคนทักกี เทนเนสซี อาร์คันซอ โอคลาโฮมา แคนซัส และเนแบรสกา มิสซูรีเป็นรัฐที่มีจำนวนประชากรเป็นอันดับที่ 18 ของประเทศ ประกอบด้วย 114 เคาน์ทีและ 1 เมืองอิสระ เมืองหลวงของรัฐคือ เจฟเฟอร์สัน ซิตี้ เมืองขนาดใหญ่ของรัฐเรียงตามลำดับ คือ เซนต์หลุยส์ แคนซัสซิตี สปริงฟิลด์ และโคลัมเบีย ดั้งเดิมนั้น มิสซูรีเป็นส่วนหนึ่งของฝรั่งเศสจากการซื้อหลุยส์เซียนาและต่อมากลายเป็นดินแดนมิสซูรี ส่วนของดินแดนมิสซูรีได้เข้าร่วมเป็นสหพันธ์ลำดับรัฐที่ 24 ในวันที่ 10 สิงหาคม..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและรัฐมิสซูรี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาสหรัฐ

รัฐสภาสหรัฐ (United States Congress) เป็นสภานิติบัญญัติสูงสุดในระบบการปกครองสหรัฐ ซึ่งเป็นระบบสภาคู่ ที่ประกอบด้วย วุฒิสภา (Senate) และ สภาผู้แทนราษฎร (House of Representatives) สมาชิกของทั้งสองสภาได้รับเลือกจากประชาชนโดยตรง สมาชิก 435 คนของสภาผู้แทนราษฎรเป็นตัวแทนจากเขตการปกครอง (district) และมีหน้าที่สองปี ผู้แทนราษฎรได้รับเลือกตั้งมาจากเขตการปกครองตามจำนวนประชากรที่ระบุไว้ในเขตการเลือกตั้งสหรัฐซึ่งเปลื่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ฉะนั้นทุกสองปีหนึ่งในสามของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องได้รับเลือกตั้งใหม่ ส่วนสมาชิกวุฒิสภา 100 คนของวุฒิสภารับหน้าที่ครั้งละหกปี แต่ละมลรัฐมีสิทธิในการเลือกสมาชิกวุฒิสภาสองคนไม่ว่าจะเป็นรัฐมีประชากรมากหรือน้อยเท่าใด รัฐธรรมนูญสหรัฐให้อำนาจในการออกกฎหมายแก่รัฐสภาทั้งวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรมีอำนาจเท่ากันในกระบวนการออกกฎหมาย กฎหมายทุกฉบับที่นำมาปฏิบัติได้ต้องได้รับการอนุมัติจากทั้งสองสภา แต่รัฐธรรมนูญให้อำนาจพิเศษที่เป็นเอกลักษณ์บางอย่างแก่ทั้งสองสภา เช่นวุฒิสภามีอำนาจในการอนุมัติสนธิสัญญา และ การแต่งตั้งตำแหน่งของหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาลที่เสนอโดยประธานาธิบดี แต่กฎหมายเกี่ยวกับการหารายได้เพิ่มเป็นหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรที่จะเสนอ นอกจากนั้นสภาผู้แทนราษฎรก็ยังมีอำนาจฟ้องขับเจ้าหน้าที่ชั้นสูงออกจากตำแหน่ง (impeachment) ขณะที่วุฒิสภามีอำนาจในการพิจารณาฟ้องดังกล่าว ปัจจุบันเป็นสมัยประชุมที่ 115 เริ่มเมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและรัฐสภาสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐแมริแลนด์

รัฐแมริแลนด์ (Maryland) เป็นรัฐทางฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. และอยู่ทางตอนใต้ของรัฐเพนซิลเวเนีย เมืองหลวงของรัฐคือ แอนแนโพลิส เมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือ บอลทิมอร์ มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในรัฐได้แก่ มหาวิทยาลัยจอหนส์ฮอปกินส์ และ มหาวิทยาลัยแมริแลนด์ ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ บอลทิมอร์ โอเรี่ยลส์ (เบสบอล) และ บอลทิมอร์ เรเวนส์ (อเมริกันฟุตบอล) จุดสูงสุดในรัฐคือภูเขาแบ็กโบน และจุดต่ำสุดคือมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและรัฐแมริแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รังสีอัลตราไวโอเลต

แสงออโรราจากดาวพฤหัสบดีในช่วงรังสีอัลตราไวโอเลต ถ่ายโดยองค์การนาซา รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสียูวี (ultraviolet) หรือในชื่อภาษาไทยว่า รังสีเหนือม่วง เป็นช่วงหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าแสงที่มองเห็น แต่ยาวกว่ารังสีเอกซ์อย่างอ่อน มีความยาวคลื่นในช่วง 400-10 นาโนเมตร และมีพลังงานในช่วง 3-124 eV มันได้ชื่อดังกล่าวเนื่องจากสเปกตรัมของมันประกอบด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นที่มนุษย์มองเห็นเป็นสีม่วง.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและรังสีอัลตราไวโอเลต · ดูเพิ่มเติม »

ลิปดา

ลิปดา (minute of arc, arcminute หรือ MOA) เป็นหน่วยหนึ่งในการวัดมุม มีค่าเท่ากับ ของหนึ่งองศา เนื่องจากหนึ่งองศาเท่ากับ ของวงกลม ดังนั้น 1 ลิปดาจึงเท่ากับ ของวงกลม หน่วยวัดขนาดเล็กเช่นนี้มักใช้ในการวัดค่าที่ละเอียดมากๆ เช่นในวิชาดาราศาสตร์หรือการกำหนดพิกัดการยิงอาวุธ ส่วน พิลิปดา (second of arc, arcsecond) (บ้างก็เขียนว่า วิลิปดา) เป็นหน่วยที่มีขนาดเป็น ของหนึ่งลิปดาอีกต่อหนึ่ง หรือเท่ากับ องศา หรือเท่ากับ ของวงกลม ลิปดาและพิลิปดาเป็นคำไทย การเขียน "ฟิลิปดา" ไม่ถูกต้องและมาจากความเข้าใจที่ผิดว่าคำนี้มาจากภาษาต่างประเทศ ตารางแสดงสัดส่วนและความสัมพันธ์ระหว่าง องศา ลิปดา พิลิปดา และมิลลิพิลิปดา แสดงได้ดังนี้.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและลิปดา · ดูเพิ่มเติม »

ลูว์ อัลเลน

ลูว์ อัลเลน นายพล ลูว์ อัลเลน จูเนียร์ (Lew Allen, Jr.) เกิดเมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1925 ที่ไมอามี รัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา เป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ (Chief of Staff) ของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาคนที่ 10 ช่วงระหว่างปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและลูว์ อัลเลน · ดูเพิ่มเติม »

วอยเอจเจอร์ 2

มเดลของยานในโครงการวอยเอจเจอร์ วอยเอจเจอร์ 2 (Voyager 2) คือยานสำรวจอวกาศแบบไม่มีคนบังคับที่เดินทางระหว่างดาวเคราะห์ ขึ้นสู่อวกาศเมื่อ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1977 เป็นยานสำรวจอวกาศในโครงการวอยเอจเจอร์ ซึ่งมียานพี่อีกลำหนึ่งคือยานวอยเอจเจอร์ 1 ยานวอยเอจเจอร์ 2 ถูกส่งขึ้นไปให้โคจรเป็นเส้นโค้งตามระนาบสุริยวิถี โดยเตรียมการให้สามารถเดินทางเข้าใกล้ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน ด้วยการอาศัยแรงเหวี่ยงจากแรงโน้มถ่วงของดาวเสาร์ซึ่งมันจะต้องเดินทางผ่านในปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและวอยเอจเจอร์ 2 · ดูเพิ่มเติม »

วารสารวิชาการ

วารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์นับเป็นวาสารวิชาการสาขาหนึ่ง วารสารวิชาการ (academic / scientific / scholarly journal) หมายถึงวารสารที่ตีพิมพ์เป็นระยะอย่างสม่ำเสมอและจะต้องผ่านการตรวจคุณภาพบทความโดยผู้รู้ในสาขาวิชานั้นๆ หรือที่เรียกวารสารประเภทนี้เป็นการเฉพาะว่าวารสารผ่านการทบทวน (peer-reviewed periodical) วารสารวิชาการเป็นเวทีสำหรับการแนะนำและนำเสนอผลงานค้นคว้าวิจัยใหม่หรือความเห็นทางวิชาการใหม่ๆ เพื่อรับการตรวจสอบและการวิพากษ์วิจารณ์ในหมู่ผู้รู้ด้วยกัน ปกติเนื้อหาสาระในวารสารจะอยู่ในรูปของบทความเสนอ งานวิจัยที่มีความเริ่มแรก บทปริทัศน์ และการวิจารณ์หนังสือ งานตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพที่ไม่มีการตรวจรับคุณภาพเรียกโดยทั่วไปว่า นิตยสารวิชาชีพ (professional magazine) คำ วารสารวิชาการ ใช้กับสิ่งตีพิมพ์วิชาการทุกสาขา วารสารเหล่านี้อภิปรายถึงแง่มุมต่างๆ ในเชิงวิชาการของสาขานั้น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและวารสารวิชาการ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภา

วุฒิสภา เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาสูงในระบบสภาคู่ วุฒิสภาดั้งเดิมนั้นคือวุฒิสภาโรมัน.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและวุฒิสภา · ดูเพิ่มเติม »

วงโคจร

นีอวกาศนานาชาติ (The International Space Station) กำลังโคจรอยู่เหนือโลก ดาวเทียมโคจรรอบโลกจะมีความเร็วแนวเส้นสัมผัสและความเร่งสู่ภายใน เทหวัตถุสองอย่างที่มีความแตกต่างกันของมวลโคจร แบบ barycenter ที่พบได้บ่อย ๆ ขนาดสัมพัทธ์และประเภทของวงโคจรมีลักษณะที่คล้ายกับระบบดาวพลูโต-แครัน (Pluto–Charon system) ในฟิสิกส์, วงโคจรเป็นเส้นทางโค้งแห่งแรงโน้มถ่วงของวัตถุรอบ ๆ จุดในอวกาศ, ตัวอย่างเช่นวงโคจรของดาวเคราะห์รอบจุดศูนย์กลางของระบบดาว, อย่างเช่นระบบสุริยะ วงโคจรของดาวเคราะห์มักจะเป็นวงรี วงโคจร คือ เส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุหนึ่งรอบอีกวัตถุหนึ่ง โดยอยู่ภายใต้อิทธิพลแรงสู่ศูนย์กลาง อาทิ ความโน้มถ่วง ตัวอย่างเช่น วงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก คำกริยาใช้ว่า "โคจร" เช่น โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ดาวเทียมไทยคมโคจรรอบโลก คนทั่วไปมักเข้าใจว่าดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงกลม แต่ในความเป็นจริง ส่วนใหญ่แล้ววัตถุหนึ่งจะโคจรรอบอีกวัตถุหนึ่งในวงโคจรที่เป็นวงรี ความเข้าใจในปัจจุบันในกลศาสตร์ของการเคลื่อนที่ในวงโคจรอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ซึ่งคิดสำหรับแรงโน้มถ่วงอันเนื่องจากความโค้งของอวกาศ-เวลาที่มีวงโคจรตามเส้น จีโอแดสิค (geodesics) เพื่อความสะดวกในการคำนวณ สัมพัทธภาพจะเป็นค่าประมาณโดยทั่วไปของทฤษฎีพื้นฐานแห่งแรงโน้มถ่วงสากลตามกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของเคปเลอร.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและวงโคจร · ดูเพิ่มเติม »

วงโคจรต่ำของโลก

แสดงทิศทางการยิงวัตถุ และความเป็นไปได้ที่จะเข้าสู่วงโคจร วงโคจรระดับต่างๆ รอบโลก เขตสีเขียวคือเขตวงโคจรต่ำของโลก วงโคจรต่ำของโลก (Low Earth Orbit; LEO) เป็นคำที่ใช้หมายถึงวงโคจรในระดับโลกัสที่ออกจากพื้นผิวโลกไปไม่เกินระดับ 2,000 กิโลเมตร โดยทั่วไประดับที่ยอมรับกันคือที่ความสูงระหว่าง 160-2000 กิโลเมตรเหนือพื้นผิวโลก.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและวงโคจรต่ำของโลก · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด

ทางอากาศ ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด (Goddard Space Flight Center; GSFC) เป็นห้องทดลองด้านอวกาศที่สำคัญแห่งหนึ่งขององค์การนาซา ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1959 เป็นศูนย์การบินอวกาศแห่งแรกของนาซา มีเจ้าหน้าที่พลเรือนประมาณ 10,000 คน ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ห่างออกไปประมาณ 6.5 ไมล์ ในเขตเมืองกรีนเบลท์ รัฐแมริแลนด์ สหรัฐอเมริกา ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดเป็นองค์กรที่ใหญ่ที่สุดซึ่งรวบรวมนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรมาไว้ด้วยกันเพื่อศึกษาเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับโลก ระบบสุริยะ และเอกภพ โดยอาศัยการสังเกตการณ์ผ่านอุปกรณ์สังเกตการณ์ในอวกาศ รวมถึงเป็นห้องทดลองในการวิจัยพัฒนาและควบคุมการทำงานของยานอวกาศสำหรับงานวิทยาศาสตร์ที่ไม่ต้องใช้มนุษย์ควบคุม นอกเหนือจากงานวิจัยเกี่ยวกับอวกาศ ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดยังศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนภารกิจการปฏิบัติงานในอวกาศรวมถึงการออกแบบและสร้างยานอวกาศด้วย นักวิทยาศาสตร์ของศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดคนหนึ่งคือ จอห์น ซี. เมเทอร์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชล

ทางอากาศ ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชล ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชล (George C. Marshall Space Flight Center; MSFC) เป็นที่ตั้งดั้งเดิมขององค์การนาซา ปัจจุบันเป็นศูนย์กลางในการออกแบบและก่อสร้างส่วนประกอบต่างๆ ของยานอวกาศ ได้แก่ส่วนขับดันกระสวยอวกาศ ถังเชื้อเพลิงภายนอก การฝึกอบรมนักบินอวกาศ ทั้งทางด้านงานเครือข่ายและการจัดการข้อมูล รวมถึงเป็นศูนย์กลางออกแบบสถานีอวกาศนานาชาติ (International Space Station; ISS) ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลตั้งอยู่ที่เรดสโตนอาร์เซนอล ที่เมืองฮันท์สวิลล์ รัฐแอละแบมา สหรัฐอเมริกา ชื่อของศูนย์ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่นายพลจอร์จ มาร์แชล ศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลยังเป็นที่ตั้งของศูนย์สนับสนุนการปฏิบัติการฮันท์สวิลล์ (Huntsville Operations Support Center; HOSC) ซึ่งทำหน้าที่งานสนับสนุนต่างๆ ของภารกิจการปล่อยกระสวยอวกาศ การบรรทุก และการทดลองต่างๆ ที่ศูนย์อวกาศเคนเนดี้ที่ฟลอริดา รวมถึงภารกิจการนำส่งยานและการทดลองต่างๆ บนสถานีอวกาศนานาชาติ นอกจากนี้ กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทราก็อยู่ในความดูแลของศูนย์การบินอวกาศมาร์แชลนี้ด้ว.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและศูนย์การบินอวกาศมาร์แชล · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรป

ูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรป (Space Telescope - European Coordinating Facility; ST-ECF) เป็นสถาบันที่ตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่สนับสนุนและบริหารงานบริการเบื้องต้นสำหรับนักดาราศาสตร์ชาวยุโรปเพื่อเข้าใช้งานกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล อันเป็นโครงการร่วมระหว่างองค์การนาซากับองค์การอวกาศยุโรป ศูนย์นี้ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1984 โดยองค์การอวกาศยุโรปและหอดูดาวยุโรปใต้ ตั้งอยู่ที่สำนักงานใหญ่ของหอดูดาวยุโรปใต้ที่เมือง การ์ชิง ไบ มึนเชน ประเทศเยอรมัน ศูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรปจะให้รายละเอียดทางเทคนิคเกี่ยวกับกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ บนยาน ให้ความช่วยเหลือเหล่านักดาราศาสตร์ยุโรปเพื่อเตรียมเอกสารขอใช้เวลาสังเกตการณ์ของกล้อง รวมถึงการพัฒนาและปรับแต่งซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์สำหรับการประมวลผลข้อมูลเฉพาะทางที่ผู้ใช้งานกล้องฮับเบิลจำเป็นต้องใช้ การทำงานของศูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรปจะประสานงานอย่างใกล้ชิดกับสถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศ ที่เมืองบัลติมอร์ สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีหน้าที่ดูแลการปฏิบัติงานของกล้องฮับเบิลโดยตรง.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและศูนย์ประสานงานกล้องโทรทรรศน์อวกาศยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยด้านดาราศาสตร์

มาคมมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยด้านดาราศาสตร์ (Association of Universities for Research in Astronomy; AURA) เป็นหน่วยงานความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยและสถาบันหลายแห่งเพื่อร่วมกันทำงานในโครงการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์และการใช้งานกล้องโทรทรรศน์ ดาวเคราะห์น้อย 19912 Aurapenenta ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติในโอกาสครบรอบปีที่ 50 ขององค์กรเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 2007.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและสมาคมมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยด้านดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมดาราศาสตร์ไทย

ตราสัญลักษณ์ของสมาคมดาราศาสตร์ไทย สมาคมดาราศาสตร์ไทย (Thai Astronomical Society) ชื่อย่อว่า สดท.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและสมาคมดาราศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศ

ันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศ (Space Telescope Science Institute; STScI) เป็นศูนย์ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์เพื่อดูแลกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (ขึ้นสู่วงโคจรตั้งแต่ ค.ศ. 1990) และกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ (จะขึ้นสู่วงโคจรประมาณ ค.ศ. 2013) สถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยจอห์นส์ฮอปกินส์ วิทยาเขตโฮมวูด ในเมืองบัลติมอร์ รัฐแมริแลนด์ สหรัฐอเมริกา เริ่มก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 1981 ในฐานะศูนย์ข้อมูลวิทยาศาสตร์ภายใต้การดูแลของสภามหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยด้านดาราศาสตร์ (Association of Universities for Research in Astronomy; AURA) ทำหน้าบริหารข้อมูลที่ได้รับจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลให้เกิดประโยชน์ต่อวงการดาราศาสตร์สูงสุด นอกเหนือจากงานดูแลปฏิบัติการตามปกติของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล และเตรียมการรองรับการปฏิบัติงานของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์แล้ว สถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศยังทำหน้าที่บริหารและปฏิบัติภารกิจด้านข้อมูลของกล้องโทรทรรศน์อวกาศ (Multi-mission Archive at Space Telescope; MAST) งานบริหารศูนย์ข้อมูลปฏิบัติการเคปเลอร์ (Kepler mission) และกิจกรรมอื่นๆ ที่จำเป็นต้องใช้ความชำนาญพิเศษหรือโครงสร้างพื้นฐานที่สถาบันมีเพื่อรองรับการทำงานอื่นใดในการสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในอวกาศ รายได้ของสถาบันส่วนใหญ่มาจากสัญญาจ้างโดยศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ดขององค์การนาซา นอกนั้นเป็นเงินรายได้เล็กน้อยที่ได้จาก ศูนย์ข้อมูลเอมส์ขององค์การนาซา ห้องทดลองการขับเคลื่อนด้วยไอพ่นของนาซาและจากองค์การอวกาศยุโรป เจ้าหน้าที่ของสถาบันประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์ (ส่วนใหญ่เป็นนักดาราศาสตร์และนักฟิสิกส์ดาราศาสตร์) วิศวกรซอฟต์แวร์ เจ้าหน้าที่ข้อมูล เจ้าหน้าที่ควบคุมกล้องโทรทรรศน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาและการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ รวมถึงธุรการและเจ้าหน้าที่สนับสนุนทางธุรกิจอีกจำนวนหนึ่ง ประมาณว่ามีนักวิทยาศาสตร์ระดับปริญญาเอกมากกว่า 100 คนทำงานอยู่ที่สถาบันแห่งนี้ โดยเป็นเจ้าหน้าที่จากองค์การอวกาศยุโรปที่ได้รับมอบหมายมาในโครงการกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลจำนวน 15 คน รวมเจ้าหน้าที่ทั้งหมดของสถาบันประมาณ 350 คน.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและสถาบันวิทยาศาสตร์กล้องโทรทรรศน์อวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันสมิธโซเนียน

อาคารสถาบันวิจัยสมิธโซเนียน หรือ "The Castle" เป็นอาคารสำนักงานใหญ่ของสถาบัน สถาบันสมิธโซเนียน (Smithsonian Institution) เป็นสถาบันวิจัย สถาบันการศึกษา และพิพิธภัณฑ์ ที่บริหารจัดการและได้รับทุนจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาและจากผู้บริจาคต่างๆ รวมถึงรายได้การจำหน่ายออกร้านและค่าสมาชิกนิตยสาร หน่วยงานส่วนใหญ่ของสถาบันตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. แต่ยังมีพิพิธภัณฑ์อีกกว่า 19 แห่ง สวนสัตว์ ศูนย์วิจัย และหน่วยงานสนามอีกมากมายอยู่ในเมืองนิวยอร์ก เวอร์จิเนีย ปานามา และที่อื่นๆ มีวัตถุสิ่งของต่างๆ ในความดูแลของพิพิธภัณฑ์มากกว่า 136 ล้านชิ้น สถาบันสมิธโซเนียนก่อตั้งขึ้นตามความประสงค์ของนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เจมส์ สมิธสัน (James Smithson; ค.ศ. 1765-1829) ซึ่งระบุพินัยกรรมว่า หากหลานชายของเขา เฮนรี เจมส์ ฮังเกอร์ฟอร์ด ไม่มีทายาท ก็ให้ยกมรดกทั้งหมดให้แก่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเพื่อก่อตั้งองค์กรที่สามารถ "เพิ่มพูนและเผยแพร่ความรู้" ให้แก่มนุษยชาติ ปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและสถาบันสมิธโซเนียน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอวกาศนานาชาติ

นีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS, Междунаро́дная косми́ческая ста́нция, МКС, Station spatiale internationale, SSI) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นในวงโคจรต่ำของโลก การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและสถานีอวกาศนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สเปกตรัมมองเห็นได้

การกระจายของแสงเมื่อเดินทางผ่านปริซึม สเปกตรัมมองเห็นได้ (visible spectrum) เป็นช่วงหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่สามารถมองเห็นได้ด้วยดวงตาของมนุษย์ การแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความยาวคลื่นนี้บางครั้งก็เรียกว่า "แสงที่ตามองเห็น" หรือ "แสง" เฉยๆ ความยาวคลื่นช่วงนี้อยู่ระหว่าง 380-750 นาโนเมตร สเปคตรัมของแสงไม่ได้มีสีทุกสีที่ตาและสมองของมนุษย์สามารถรับรู้ บางสีที่หายไปเช่นชมพู หรือม่วงอมแดง แต่สามารถเกิดขึ้นได้จากการผสมช่วงคลื่นที่มีความยาวคลื่นหลายแ.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและสเปกตรัมมองเห็นได้ · ดูเพิ่มเติม »

สเปกโตรกราฟกล้องโทรทรรศน์อวกาศ

ปกโตรกราฟกล้องโทรทรรศน์อวกาศ (Space Telescope Imaging Spectrograph) คือ สเปกโตรกราฟที่ติดตั้งอยู่บนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ทำงานตั้งแต่ปี 1997 จนถึงปี 2004 ทำหน้าที่สังเกตการณ์สำคัญๆ หลายอย่าง เช่น แยกสเปกตรัมของชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะชื่อโอซิริส สเปกโตรกราฟกล้องโทรทรรศน์อวกาศถูกติดตั้งบนกล้องโทรทรรศน์ฮับเบิลระหว่างการซ่อมบำรุงครั้งที่สองในปี 1997 โดย มาร์ก ลี และ สตีเวน สมิธ แทนที่สเปกโตรกราฟความละเอียดสูง (High Resolution Spectrograph) และสเปกโตรกราฟวัตถุมัว (Faint Object Spectrograph) ที่เสีย มันถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้ 5 ปี วันที่ 3 สิงหาคม ค.ศ. 2004 ความเสียหายทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นทำให้มันใช้งานไม่ได้ มันจะได้รับการซ่อมแซมโดยนักบินอวกาศในภารกิจซ่อมบำรุงครั้งที่สี่ซึ่งมีกำหนดการในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและสเปกโตรกราฟกล้องโทรทรรศน์อวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

สเปกโตรกราฟวัตถุมัว

ปกโตรกราฟวัตถุมัว (Faint Object Spectrograph; FOS) เป็นเครื่องมือสเปกโตรกราฟที่ติดตั้งบนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ต่อมาถูกถอดออกแทนที่ด้วยสเปกโตรกราฟกล้องโทรทรรศน์อวกาศในปี ค.ศ. 1997.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและสเปกโตรกราฟวัตถุมัว · ดูเพิ่มเติม »

สเปกโตรกราฟความละเอียดสูงก็อดเดิร์ด

ปกโตรกราฟความละเอียดสูงก็อดเดิร์ด (Goddard High Resolution Spectrograph; GHRS หรือ HRS) เป็นเครื่องวัดสเปกโตรกราฟที่ติดตั้งอยู่บนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ซึ่งต่อมาถูกเปลี่ยนแทนที่ด้วยกล้องใกล้อินฟราเรดและสเปกโตรมิเตอร์หลายวัตถุ (Near Infrared Camera and Multi-Object Spectrometer; NICMOS) เมื่อปี ค.ศ. 1997.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและสเปกโตรกราฟความละเอียดสูงก็อดเดิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

สเปกโตรกราฟต้นกำเนิดจักรวาล

ปกโตรกราฟต้นกำเนิดจักรวาล (Cosmic Origins Spectrograph; COS) เป็นเครื่องมือวัดชิ้นหนึ่งที่อยู่ในแผนงานติดตั้งบนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล จะนำขึ้นสู่อวกาศในภารกิจซ่อมบำรุงครั้งสุดท้ายในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 ออกแบบมาเพื่อถ่ายภาพสเปกโตรกราฟของคลื่นอัลตราไวโอเลตของแหล่งกำเนิดแสงแบบจุด เป้าหมายทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องมือนี้รวมถึงการศึกษาจุดกำเนิดของโครงสร้างขนาดใหญ่ในเอกภพ การก่อตัวและวิวัฒนาการของดาราจักร รวมถึงการกำเนิดของกลุ่มดาวและระบบดาวเคราะห์ต่างๆ สเปกโตรกราฟต้นกำเนิดจักรวาลได้รับการพัฒนาและสร้างขึ้นโดยห้องวิจัยฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่ศูนย์ศึกษาฟิสิกส์ดาราศาสตร์และดาราศาสตร์อวกาศ (Center for Astrophysics and Space Astronomy; CASA) ที่มหาวิทยาลัยโคโลราโดที่เมือง Boulder เครื่องมือนี้จะนำขึ้นไปติดตั้งแทนที่เครื่องแก้ไขภาพกล้องโทรทรรศน์อวกาศ (COSTAR) เพื่อให้ช่วยเหลือการทำงานของสเปกโตรกราฟกล้องโทรทรรศน์อวกาศซึ่งจะมีการซ่อมแซมในภารกิจซ่อมบำรุงคราวเดียวกัน โดยที่สเปกโตรกราฟกล้องโทรทรรศน์อวกาศจะทำงานที่ช่วงความยาวคลื่นที่กว้างกว่า ส่วนสเปกโตรกราฟต้นกำเนิดจักรวาลจะทำงานที่ละเอียดมากกว่าโดยเฉพาะในช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลต.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและสเปกโตรกราฟต้นกำเนิดจักรวาล · ดูเพิ่มเติม »

หลุมดำ

มุมมองจำลองของหลุมดำด้านหน้าของทางช้างเผือก โดยมีมวลเทียบเท่าดวงอาทิตย์ 10 ดวงจากระยะทาง 600 กิโลเมตร หลุมดำ (black hole) หมายถึงเทหวัตถุในเอกภพที่มีแรงโน้มถ่วงสูงมาก ไม่มีอะไรออกจากบริเวณนี้ได้แม้แต่แสง ยกเว้นหลุมดำด้วยกัน เราจึงมองไม่เห็นใจกลางของหลุมดำ หลุมดำจะมีพื้นที่หนึ่งที่เป็นขอบเขตของตัวเองเรียกว่าขอบฟ้าเหตุการณ์ ที่ตำแหน่งรัศมีชวาร์สชิลด์ ถ้าหากวัตถุหลุดเข้าไปในขอบฟ้าเหตุการณ์ วัตถุจะต้องเร่งความเร็วให้มากกว่าความเร็วแสงจึงจะหลุดออกจากขอบฟ้าเหตุการณ์ได้ แต่เป็นไปไม่ได้ที่วัตถุใดจะมีความเร็วมากกว่าแสง วัตถุนั้นจึงไม่สามารถออกมาได้อีกต่อไป เมื่อดาวฤกษ์ที่มีมวลมหึมาแตกดับลง มันอาจจะทิ้งสิ่งที่ดำมืดที่สุด ทว่ามีอำนาจทำลายล้างสูงสุดไว้เบื้องหลัง นักดาราศาสตร์เรียกสิ่งนี้ว่า "หลุมดำ" เราไม่สามารถมองเห็นหลุมดำด้วยกล้องโทรทรรศน์ใดๆ เนื่องจากหลุมดำไม่เปล่งแสงหรือรังสีใดเลย แต่สามารถตรวจพบได้ด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ และคลื่นโน้มถ่วงของหลุมดำ (ในเชิงทฤษฎี โครงการแอลไอจีโอ) และจนถึงปัจจุบันได้ค้นพบหลุมดำในจักรวาลแล้วอย่างน้อย 6 แห่ง หลุมดำเป็นซากที่สิ้นสลายของดาวฤกษ์ที่ถึงอายุขัยแล้ว สสารที่เคยประกอบกันเป็นดาวนั้นได้ถูกอัดตัวด้วยแรงดึงดูดของตนเองจนเหลือเป็นเพียงมวลหนาแน่นที่มีขนาดเล็กยิ่งกว่านิวเคลียสของอะตอมเดียว ซึ่งเรียกว่า ภาวะเอกฐาน หลุมดำแบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ หลุมดำมวลยวดยิ่ง เป็นหลุมดำในใจกลางของดาราจักร, หลุมดำขนาดกลาง, หลุมดำจากดาวฤกษ์ ซึ่งเกิดจากการแตกดับของดาวฤกษ์, และ หลุมดำจิ๋วหรือหลุมดำเชิงควอนตัม ซึ่งเกิดขึ้นในยุคเริ่มแรกของเอกภพ แม้ว่าจะไม่สามารถมองเห็นภายในหลุมดำได้ แต่ตัวมันก็แสดงการมีอยู่ผ่านการมีผลกระทบกับวัตถุที่อยู่ในวงโคจรภายนอกขอบฟ้าเหตุการณ์ ตัวอย่างเช่น หลุมดำอาจจะถูกสังเกตเห็นได้โดยการติดตามกลุ่มดาวที่โคจรอยู่ภายในศูนย์กลางหลุมดำ หรืออาจมีการสังเกตก๊าซ (จากดาวข้างเคียง) ที่ถูกดึงดูดเข้าสู่หลุมดำ ก๊าซจะม้วนตัวเข้าสู่ภายใน และจะร้อนขึ้นถึงอุณหภูมิสูง ๆ และปลดปล่อยรังสีขนาดใหญ่ที่สามารถตรวจจับได้จากกล้องโทรทรรศน์ที่โคจรอยู่รอบโลก การสำรวจให้ผลในทางวิทยาศาสตร์เห็นพ้องต้องกันว่าหลุมดำนั้นมีอยู่จริงในเอกภพ แนวคิดของวัตถุที่มีแรงดึงดูดมากพอที่จะกันไม่ให้แสงเดินทางออกไปนั้นถูกเสนอโดยนักดาราศาสตร์มือสมัครเล่นชาวอังกฤษ จอห์น มิเชล ในปี 1783 และต่อมาในปี 1795 นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส ปีแยร์-ซีมง ลาปลาส ก็ได้ข้อสรุปเดียวกัน ตามความเข้าใจล่าสุด หลุมดำถูกอธิบายโดยทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ซึ่งทำนายว่าเมื่อมีมวลขนาดใหญ่มากในพื้นที่ขนาดเล็ก เส้นทางในพื้นที่ว่างนั้นจะถูกทำให้บิดเบี้ยวไปจนถึงศูนย์กลางของปริมาตร เพื่อไม่ให้วัตถุหรือรังสีใดๆ สามารถออกมาได้ ขณะที่ทฤษฏีสัมพัทธภาพทั่วไปอธิบายว่าหลุมดำเป็นพื้นที่ว่างที่มีความเป็นภาวะเอกฐานที่จุดศูนย์กลางและที่ขอบฟ้าเหตุการณ์บริเวณขอบ คำอธิบายนี่เปลี่ยนไปเมื่อค้นพบกลศาสตร์ควอนตัม การค้นคว้าในหัวข้อนี้แสดงให้เห็นว่านอกจากหลุมดำจะดึงวัตถุไว้ตลอดกาล แล้วยังมีการค่อย ๆ ปลดปล่อยพลังงานภายใน เรียกว่า รังสีฮอว์คิง และอาจสิ้นสุดลงในที่สุด อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีคำอธิบายเกี่ยวกับหลุมดำที่ถูกต้องตามทฤษฎีควอนตัม.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและหลุมดำ · ดูเพิ่มเติม »

หอดูดาวแมกดาลีนาริดจ์

กล้องดูดาวเรียงแถว จากเอกสารประชาสัมพันธ์หอดูดาวแมกดาลีนาริดจ์ หอดูดาวแมกดาลีนาริดจ์ (Magdalena Ridge Observatory; MRO) เป็นหอสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ ตั้งอยู่ที่โซคอร์โรเคาน์ตี้ รัฐนิวเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันตกประมาณ 32 กิโลเมตร เป็นส่วนหนึ่งของสำนักวิจัยและพัฒนาเศรษฐกิจของสถาบันเทคโนโลยีนิวเม็กซิโก หอดูดาวตั้งอยู่บนยอดเขาเซาท์บัลดี ในเทือกเขาแมกดาลีนา ที่ระดับความสูง 10,600 ฟุต (3,180 เมตร) จากระดับน้ำทะเล ถือเป็นองค์กรความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์นานาชาติแห่งหนึ่งของโลก หอดูดาวแมกดาลีนาริดจ์ ตั้งอยู่ห่างจาก Very Large Array ไปทางทิศตะวันออกประมาณ 42 กิโลเมตร.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและหอดูดาวแมกดาลีนาริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

หุ่นยนต์

อาซีโม คือ android หุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทฮอนด้า ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะโครงสร้างและรูปร่างแตกต่างกันและคล้ายคลึงกับมนุษย์ หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าที่การทำงานในด้านต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์ การควบคุมระบบต่าง ๆ ในการสั่งงานระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ สามารถทำได้โดยทางอ้อมและอัตโนมัติ โดยทั่วไปหุ่นยนต์ถูกสร้างขึ้นเพื่อสำหรับงานที่มีความยากลำบากเช่น งานสำรวจในพื้นที่บริเวณแคบหรืองานสำรวจดวงจันทร์ดาวเคราะห์ที่ไม่มีสิ่งมีชีวิต ปัจจุบันเทคโนโลยีของหุ่นยนต์เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เริ่มเข้ามามีบทบาทกับชีวิตของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านอุตสาหกรรมการผลิต แตกต่างจากเมื่อก่อนที่หุ่นยนต์มักถูกนำไปใช้ ในงานอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมีการนำหุ่นยนต์มาใช้งานมากขึ้น เช่น หุ่นยนต์ที่ใช้ในทางการแพทย์ หุ่นยนต์สำหรับงานสำรวจ หุ่นยนต์ที่ใช้งานในอวกาศ หรือแม้แต่หุ่นยนต์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นเครื่องเล่นของมนุษย์ จนกระทั่งในปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาให้หุ่นยนต์นั้นมีลักษณะที่คล้ายมนุษย์ เพื่อให้อาศัยอยู่ร่วมกันกับมนุษย์ ให้ได้ในชีวิตประจำวันได้ หุ่นยนต์ถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการใช้งาน คือ 1.หุ่นยนต์ชนิดที่ติดตั้งอยู่กับที่ (fixed robot) เป็นหุ่นยนต์ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปไหนได้ด้วยตัวเอง มีลักษณะเป็นแขนกล สามารถขยับและเคลื่อนไหวได้เฉพาะแต่ละข้อต่อ ภายในตัวเองเท่านั้น มักนำไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เช่นโรงงานประกอบรถยนต์ 2.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและหุ่นยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล

อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล ประกอบด้วยกาแล็กซีที่มีอายุ ขนาด รูปร่าง และสีแตกต่างกัน อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล (Hubble Ultra Deep Field) คือ ภาพถ่ายพื้นที่เล็กๆในกลุ่มดาวเตาหลอมจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล เริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 2003 จนถึงวันที่ 16 มกราคม ค.ศ. 2004 เป็นภาพถ่ายคลื่นที่ตามองเห็นของจักรวาลที่อยู่ลึกที่สุดเท่าที่เคยมีมา ภาพถ่ายนี้ประกอบด้วยกาแล็กซีประมาณ 10,000 กาแล็กซี เมื่อมองดูจากโลกแล้วภาพถ่ายนี้จะมีขนาดประมาณ 1 ใน 10 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของดวงจันทร์ แม้ว่ากาแล็กซีส่วนใหญ่ในภาพนี้จะสามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องโทรทรรศน์บนพื้นโลกที่มีความสามารถในการถ่ายคลื่นอินฟราเรด แต่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลก็เป็นอุปกรณ์เพียงตัวเดียวที่สามารถถ่ายภาพคลื่นที่ตามองเห็นของกาแล็กซีเหล่านี้ได้ กาแล็กซีเหล่านี้อยู่ในครึ่งทรงกลมใต้ของกลุ่มดาวเตาหลอม ที่ไรต์แอสเซนชัน 3 ชั่วโมง 32 นาที 40.0 วินาที เดคลิเนชัน -27° 47' 29" ครอบคลุมพื้นที่ 36.7 ตารางลิปดา มุมบนซ้ายของภาพชี้ไปยังทิศเหนือ (-46.4°) ของทรงกลมฟ้า ดาวฤกษ์ที่อยู่ตรงกลางภาพคือ USNO-A2.0 0600-01400432 มีความส่องสว่างปรากฏ 18.95 การถ่ายภาพอวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิลต้องใช้ปริมาณการรับแสงถึง 800 หน่วย โดยกินเวลาถึง 400 รอบการโคจรของกล้องโทรทรรศน์ฮับเบิล.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและอวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล · ดูเพิ่มเติม »

อวกาศห้วงลึกของฮับเบิล

อวกาศห้วงลึกของฮับเบิล อวกาศห้วงลึกของฮับเบิล (Hubble Deep Field (HDF)) เป็นภาพของห้วงอวกาศส่วนหนึ่งในเขตกลุ่มดาวหมีใหญ่ ซึ่งได้จากผลการสังเกตการณ์อย่างต่อเนื่องของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ได้เป็นภาพถ่ายจำนวน 342 ชิ้นที่ถ่ายจากกล้อง Wide Field and Planetary Camera 2 เป็นเวลา 10 วันติดต่อกัน ระหว่าง 18-28 ธันวาคม ค.ศ. 1995 ห้วงอวกาศส่วนนี้ค่อนข้างเล็ก มีดาวในทางช้างเผือกเพียงไม่กี่ดวงเท่านั้นที่บังอยู่ ดังนั้นจึงสามารถมองเห็นดาราจักรต่างๆ ในห้วงอวกาศส่วนนี้มากกว่า 3,000 แห่ง ดาราจักรเหล่านี้จำนวนหนึ่งเป็นดาราจักรที่อายุน้อยที่สุดและอยู่ห่างไกลที่สุดเท่าที่เคยมีการค้นพบ ผลจากการตรวจพบดาราจักรอายุน้อยได้เป็นจำนวนมาก ทำให้ภาพอวกาศห้วงลึกของฮับเบิลเป็นแผนภาพสำคัญที่ใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ยุคแรกๆ ของเอกภพ และเป็นแหล่งข้อมูลในการผลิตงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ออกมาแล้วมากกว่า 400 ชิ้น หลังจากการถ่ายภาพสังเกตการณ์ของ HDF ไปได้สามปี มีการถ่ายภาพห้วงอวกาศในลักษณะเดียวกันที่ซีกโลกใต้ ใช้ชื่อว่า อวกาศห้วงลึกของฮับเบิลด้านใต้ (Hubble Deep Field South) ภาพที่ได้จากการสังเกตการณ์ทั้งสองครั้งมีความคล้ายคลึงกัน ซึ่งเป็นการยืนยันแนวคิดที่ว่า เอกภพมีความเป็นหนึ่งเดียวกันในระดับมหภาค และโลกตั้งอยู่ในตำแหน่งทั่วไปในเอกภพ (ตามหลักการพื้นฐานจักรวาลวิทยา (cosmological principle)) ปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและอวกาศห้วงลึกของฮับเบิล · ดูเพิ่มเติม »

อะลูมิเนียม

มื่อวัดในทั้งปริมาณและมูลค่า การใช้อะลูมิเนียมมีมากกว่าโลหะอื่น ๆ ยกเว้นเหล็ก และมีความสำคัญในเศรษฐกิจโลกทุกด้าน อะลูมิเนียมบริสุทธิ์มีแรงต้านการดึงต่ำ แต่สามารถนำไปผสมกับธาตุต่าง ๆ ได้ง่าย เช่น ทองแดง สังกะสี แมกนีเซียม แมงกานีส และซิลิกอน (เช่น duralumin) ในปัจจุบันวัสดุเกือบทั้งหมดที่เรียกว่าอะลูมิเนียมเป็นโลหะผสมของอะลูมิเนียม อะลูมิเนียมบริสุทธิ์พบเฉพาะเมื่อต้องการความทนต่อการกัดกร่อนมากกว่าความแข็งแรงและความแข็ง เมื่อรวมกับกระบวนการทางความร้อนและกลการ (thermo-mechanical processing) โลหะผสมของอะลูมิเนียมมีคุณสมบัติทางกลศาสตร์ที่ดีขึ้น โลหะผสมอะลูมิเนียมเป็นส่วนสำคัญของเครื่องบินและจรวดเนื่องจากมีอัตราความแข็งแรงต่อน้ำหนักสูง อะลูมิเนียมสามารถสะท้อนแสงที่มองเห็นได้ดีเยี่ยม (~99%) และสามารถสะท้อนแสงอินฟราเรดได้ดี (~95%) อะลูมิเนียมชั้นบาง ๆ สามารถสร้างบนพื้นผิวเรียบด้วยวิธีการควบแน่นของไอสารเคมี (chemical vapor deposition) หรือวิธีการทางเคมี เพื่อสร้างผิวเคลือบออปติคัล (optical coating) และกระจกเงา ผิวเคลือบเหล่านี้จะเกิดชั้นอะลูมิเนียมออกไซด์ที่บางยิ่งกว่า ที่ไม่สึกกร่อนเหมือนผิวเคลือบเงิน กระจกเงาเกือบทั้งหมดสร้างโดยใช้อะลูมิเนียมชั้นบางบนผิวหลังของแผ่นกระจกลอย (float glass).

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและอะลูมิเนียม · ดูเพิ่มเติม »

อิริเดียม

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและอิริเดียม · ดูเพิ่มเติม »

อินฟราเรด

มนุษย์ในย่าน mid-infrared เป็นภาพที่เกิดจากรังสีความร้อนที่แผ่ออกมาจากคน รังสีอินฟราเรด (Infrared (IR)) มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า รังสีใต้แดง หรือรังสีความร้อน เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นอยู่ระหว่างคลื่นวิทยุและแสงมีความถี่ในช่วง 1011 – 1014 เฮิร์ตซ์หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 1-1000 ไมโครเมตร มีความถี่ในช่วงเดียวกับไมโครเวฟ มีความยาวคลื่นอยู่ระหว่างแสงสีแดงกับคลื่นวิทยุสสารทุกชนิดที่มีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง -200 องศาเซลเซียสถึง 4,000 องศาเซลเซียส จะปล่อยรังสีอินฟราเรดออกมา คุณสมบัติเฉพาะตัวของรังสีอินฟราเรด เช่น ไม่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แตกต่างกันก็คือ คุณสมบัติที่ขึ้นอยู่กับความถี่ คือยิ่งความถี่สูงมากขึ้น พลังงานก็สูงขึ้นด้วย  ถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ คือ Sir William Herschel ซึ่งได้ค้นพบ รังสีอินฟราเรดสเปกตรัมในปี.. 1800จากการทดลองโดยทดสอบว่าในเลนส์แต่ละสี จะเปลี่ยนค่าแสดงความร้อนของดวงอาทิตย์หรือไม่ จึงประดิษฐ์อุปกรณ์การทดลองเพื่อหาคำตอบใช้ปริซึมแยกแสง แล้วให้แสงต่างๆมาตกที่เทอร์โมมิเตอร์ก็ตั้งเทอร์โมมิเตอร์ตัวหนึ่งนอกเหนือจากแสงสีต่าง ๆ นั้น เพื่อเป็นตัวควบคุมการทดลอง ปรากฏว่า แสงสีต่าง มีอุณหภูมิสูงกว่าแสงสีขาว และอุณหภูมิสูงขึ้นจาก สีม่วง ไปหาสีแดง ปรากฏว่า เทอร์โมมิเตอร์ ตัวที่อยู่นอกเหนือจากแสงสีแดงนั้น กลับวัดได้อุณหภูมิสูงกว่าทุกตัว พบว่า ส่วนของแสงที่มองไม่เห็นแต่ร้อนกว่าสีแดงนี้ มีคุณสมบัติทางกายภาพเช่นเดียวกับคลื่นแสงที่มองเห็นได้ทุกประการ เช่น การหักเห ดูดซับ ส่องผ่านหรือไม่ผ่านตัวกลาง รังสีที่ถูกค้นพบใหม่นี้ตั้งชื่อว่า " รังสีอินฟราเรด " (ขอบเขตที่ต่ำกว่าแถบสีแดงหรือรังสีใต้แดง)  ในการใช้ประโยชน์ ใช้ในการควบคุมเครื่องใช้ระบบไกล (remote control) สร้างกล้องอินฟราเรดที่สามารถมองเห็นวัตถุในความมืดได้ เช่น อเมริกาสามารถใช้กล้องอินฟราเรดมองเห็นเวียตกงได้ตั้งแต่สมัยสงครามเวียดนาม และสัตว์หลายชนิดมีนัยน์ตารับรู้รังสีชนิดนี้ได้ ทำให้มองเห็นหรือล่าเหยื่อได้ในเวลากลางคืน เรามองไม่เห็นรังสีอินฟราเรด แต่เราก็รู้สึกถึงความร้อนได้ สัตว์บางชนิด เช่น งู มีประสาทสัมผัสรังสีอินฟราเรด มันสามารถทราบตำแหน่งของเหยื่อได้ โดยการสัมผัสรังสีอินฟราเรดซึ่งแผ่ออกมาจากร่างกายของเหยื่อ รังสีที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่าแสงสีม่วงเรียกว่า “รังสีอุลตราไวโอเล็ต” โลกและสิ่งชีวิตแผ่รังสีอินฟราเรดออกมา เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้ำ ในบรรยากาศดูดซับรังสีนี้ไว้ ทำให้โลกมีความอบอุ่น เหมาะกับการดำรงชีวิต .

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและอินฟราเรด · ดูเพิ่มเติม »

อุปกรณ์สังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในวงโคจร

วเทียม OAO-3 ในห้องคลีนรูม อุปกรณ์สังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในวงโคจร (Orbiting Astronomical Observatory; OAO) เป็นชุดหอดูดาวในอวกาศสี่ตัวขององค์การนาซาที่ส่งขึ้นสู่อวกาศระหว่างปี ค.ศ. 1966 - 1972 ซึ่งให้ผลสังเกตการณ์คุณภาพสูงสำหรับวัตถุท้องฟ้าในช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลตได้เป็นครั้งแรก แม้อุปกรณ์สังเกตการณ์ 2 ตัวไม่ประสบความสำเร็จ แต่อุปกรณ์อีกสองตัวก็ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งและช่วยกระตุ้นความสนใจในแวดวงนักดาราศาสตร์ให้มองเห็นความสำคัญของการสังเกตการณ์ในห้วงอวกาศ เป็นจุดเริ่มต้นที่นำไปสู่ความสำเร็จของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและอุปกรณ์สังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในวงโคจร · ดูเพิ่มเติม »

อุปกรณ์ถ่ายเทประจุ

CCD ที่พัฒนาขึ้นเป็นพิเศษเพื่อจับภาพในช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลต อุปกรณ์ถ่ายเทประจุ (charge-coupled device) หรือ CCD เป็นอุปกรณ์สำหรับการเคลื่อนย้ายประจุไฟฟ้าจากภายในเครื่องไปยังพื้นที่ที่ประจุสามารถถูกจัดการหรือแก้ไขดัดแปลง ตัวอย่างเช่นการแปลงให้เป็นค่าดิจิทัล งานนี้จะทำได้โดย"การเลื่อน" (shifting)สัญญาณไปตามขั้นตอนต่างๆภายในอุปกรณ์ ทีละหนึ่งขั้นตอน CCDs จะเคลื่อนย้ายประจุระหว่างถังเก็บประจุในอุปกรณ์ ด้วยตัวเลื่อนที่ยอมให้มีการถ่ายโอนประจุระหว่างแต่ละถัง CCD เป็นชิ้นส่วนสำคัญของเทคโนโลยีในการถ่ายภาพดิจิทัล ในเซนเซอร์รูปภาพของ CCD, พิกเซลจะถูกแสดงความหมายโดยตัวเก็บประจุ MOS แบบ p-doped ตัวเก็บประจุเหล่านี้จะถูกไบอัสเหนือค่าเกณฑ์สำหรับการผกผันเมื่อการควบรวมภาพเริ่มต้นขึ้น ช่วยให้การแปลงของโฟตอนที่เข้ามาให้เป็นประจุอิเล็กตรอนที่รอยต่อระหว่างเซมิคอนดักเตอร์กับออกไซด์(semiconductor-oxide interface); จากนั้น CCD จะถูกใช้อ่านประจุเหล่านี้ แม้ว่า CCDs ไม่ได้เป็นเทคโนโลยีเดียวที่จะทำการตรวจจับแสง เซนเซอร์รูปภาพของ CCD ถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลายในระดับการใช้งานมืออาชีพ, การแพทย์ และวิทยาศาสตร์ ในที่ซึ่งข้อมูลภาพคุณภาพสูงเป็นที่ต้องการ ในการใช้งานที่มีความต้องการคุณภาพน้อยลงเช่นกล้องดิจิทัลของมือสมัครเล่น และมืออาชีพ เซนเซอร์พิกเซลตอบสนอง(active pixel sensors)แบบ CMOS จะถูกนำมาใช้โดยทั่วไป; CCDs ได้เปรียบด้านคุณภาพอย่างสูงที่ใช้ได้ดีในช่วงต้น ข้อได้เปรียบนั้นได้ถูกทำให้แคบลงเมื่อเวลาผ่านไป.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและอุปกรณ์ถ่ายเทประจุ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การอวกาศยุโรป

องค์การอวกาศยุโรป หรือ อีเอสเอ (European Space Agency, ESA; Agence spatiale européenne, ASE) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1975 โดยเป็นองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในยุโรป มีเป้าหมายเพื่อการสำรวจอวกาศ ปัจจุบันมีสมาชิก 20 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีจำนวนพนักงานเกือบ 2,000 คน และมีงบประมาณประจำปีราว 2.9 พันล้านยูโรในปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและองค์การอวกาศยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

องค์การอวกาศแคนาดา

องค์การอวกาศแคนาดา (Canadian Space Agency หรือ CSA; l'Agence spatiale canadienne หรือ ASC) เป็นหน่วยงานด้านกิจการอวกาศของรัฐบาลแคนาดา รับผิดชอบโครงการอวกาศของประเทศแคนาดา ก่อตั้งขึ้นในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและองค์การอวกาศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกัน

อเมริกัน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ฮีตซิงก์

ำลองของฮีตซิงก์ ฮีตซิงก์พร้อมพัดลม สำหรับซีพียู ฮีตซิงก์ หรือ แผงระบายความร้อน (Heat sink) ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นชิ้นส่วนซึ่งทำหน้าที่ลดอุณหภูมิขณะทำงานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เอิเล็กทรอนิกส์ โดยเพิ่มพื้นที่สัมผัสอากาศ ทำให้การพาความร้อนจากตัวอุปกรณ์สู่อากาศโดยรอบทำได้เร็วขึ้น โดยปกติ จะมีการติดตั้งแผงระบายความร้อนกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความร้อนสูง เช่นทรานซิสเตอร์กำลัง, ไดโอดเปล่งแสงบางชนิด, หลอดเลเซอร์ และในคอมพิวเตอร์ มักจะมีการติดตั้งแผงระบายความร้อนที่หน่วยประมวลผลกลาง กับที่หน่วยประมวลผลกราฟิกส์ วัสดุที่นิยมนำมาทำแผงระบายความร้อนในปัจจุบันมีอยู่ 3 รูปแบบคือ อะลูมิเนียม, ทองแดง และทองแดง+อะลูมิเนียม ซึ่งมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันไป.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและฮีตซิงก์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวาล

การแกะลายแบบ Flammarion, กรุงปารีส ค.ศ. 1888 จักรวาล (cosmos) คือ เอกภพซึ่งอยู่ในรูปแบบที่ซับซ้อนและเป็นระบบระเบียบ เป็นสิ่งที่ตรงข้ามกับความยุ่งเหยิง (chaos) นักปรัชญา พีทาโกรัส ใช้คำว่า จักรวาล (cosmos) เพื่อกล่าวถึงความเป็นระเบียบของเอกภพ ทว่าคำนี้ไม่ถูกใช้ในภาษาสมัยใหม่จนคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อนักภูมิศาสตร์ อเล็กซันเดอร์ ฟอน ฮุมโบลท์ ได้นำคำนี้จากกรีกโบราณกลับมาใช้อีกครั้ง ในชุดหนังสือของเขา Kosmos ซึ่งส่งผลกระทบต่อมุมมองสมัยใหม่องค์รวม ที่มองเอกภพเป็นสิ่งสิ่งเดียวซึ่งปฏิสัมพันธ์กัน.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและจักรวาล · ดูเพิ่มเติม »

จานดาวเคราะห์ก่อนเกิด

นดาวเคราะห์ก่อนเกิด ในเนบิวลานายพราน จานดาวเคราะห์ก่อนเกิด (Protoplanetary disk) คือแผ่นจานสสารระหว่างดาวอัดแน่นไปด้วยแก๊สที่หมุนวนไปรอบๆ ดาวฤกษ์ที่กำลังก่อตัวขึ้นใหม่ ซึ่งเรียกว่า ดาวฤกษ์ชนิด T Tauri หรือดาวเฮอร์บิก (Herbig) จานดาวเคราะห์ก่อนเกิดอาจเป็นจานพอกพูนมวลชนิดหนึ่ง เพราะสสารแก๊สอาจจะตกจากขอบจานด้านในเข้าไปบนพื้นผิวของดาวฤกษ์ได้ แต่กระบวนการทั้งสองนี้แตกต่างกันและไม่ควรนำมาใช้สับสนปนเปกัน จานดาวเคราะห์ก่อนเกิดที่อยู่รอบดาวฤกษ์ T Tauri แตกต่างจากแผ่นจานที่อยู่รอบวัตถุโบราณชนิดอื่นในระบบดาวคู่ เนื่องจากความแตกต่างด้านขนาดและอุณหภูมิ จานดาวเคราะห์ก่อนเกิดมีรัศมีราว 1000 หน่วยดาราศาสตร์ และค่อนข้างเย็น มีเพียงเฉพาะส่วนในของแผ่นจานเท่านั้นจะมีอุณหภูมิสูงถึง 1000 เคลวิน โดยทั่วไป ดาวฤกษ์ก่อนเกิดจะก่อตัวในเมฆโมเลกุลซึ่งมีโมเลกุลไฮโดรเจนดั้งเดิมอยู่เป็นจำนวนมาก เมื่อบางส่วนของเมฆโมเลกุลดำเนินไปถึงจุดวิกฤตของขนาด มวล หรือความหนาแน่น มันจะแตกสลายลงด้วยแรงโน้มถ่วงภายในของมันเอง เมฆที่แตกสลายลงนี้เรียกว่า เนบิวลาสุริยะ ซึ่งเป็นกลุ่มเมฆที่มีความหนาแน่นมากยิ่งขึ้น แก๊สที่เคยเคลื่อนที่แบบสะเปะสะปะจะเริ่มเคลื่อนไปตามทิศทางของโมเมนตัมเชิงมุมของเนบิวลานั้น การพยายามรักษาโมเมนตัมเชิงมุมไว้ทำให้มีการหมุนวนเพิ่มมากขึ้น และเนบิวลามีขนาดเล็กลง แต่อัดแน่นมากขึ้น กลายเป็นกลุ่มเมฆที่แบนลงคล้ายกับแผ่นพิซซา แล้วจึงกลายเป็นแผ่นจาน การแตกสลายครั้งแรกกินเวลาราว 100,000 ปี หลังจากนั้นอุณหภูมิพื้นผิวของดาวฤกษ์จึงเพิ่มขึ้นจนถึงระดับของดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลัก เรียกดาวฤกษ์ในระดับนี้ว่า ดาวฤกษ์ T Tauri แก๊สจะพอกพูนไปบนดาวฤกษ์มากขึ้นเรื่อยๆ ไปตลอด 10 ล้านปีถัดไป ก่อนที่แผ่นจานจะสลายตัวหายไปหมด ซึ่งอาจเป็นผลจากแรงดันของลมสุริยะขับไล่มันไป แผ่นจานดาวเคราะห์ก่อนเกิดที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่ค้นพบมีอายุ 25 ล้านปี.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและจานดาวเคราะห์ก่อนเกิด · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทิฟฟ์

รูปแบบแฟ้มภาพพร้อมป้ายระบุ หรือ ทิฟฟ์ (Tagged Image File Format: TIFF) เป็นไฟล์ภาพที่มีการจัดเก็บแบบบิตแมป ใช้ในงานโปรแกรมสิ่งพิมพ์ เช่น เพจเมเกอร์ โฟโตชอป เป็นต้น เป็นรูปแบบบิตแมป ที่ใช้อย่างกว้างขวาง ถูกพัฒนาขึ้น โดยการร่วมมือ Aldus Corporation กับ ไมโครซอฟท์ เป็นรูปแบบที่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ รูปแบบTIF เป็นรูปแบบไฟล์แบบบิตแมปที่ค่อนข้างแข็งแรง มันสามารถทำบางสิ่ง ที่รูปแบบอื่นไม่สามารถทำได้ นอกจากนั้นข้อดีคือ สามารถเปลี่ยนไปมาระหว่างพีซี กับเครื่องแมคอินทอช ได้ เนื่องจากสนับสนุนทั้งสองระบบ แต่เนื่องจากลักษณะการจัดเก็บภาพ ไม่มีการบีบอัดข้อมูลเลย จึงทำให้ขนาดของภาพค่อนข้างใหญ่เมื่อเทียบกับรูปแบบการจัดเก็บภาพในลักษณะอื่น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและทิฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดอลลาร์สหรัฐ

100 ดอลลาร์สหรัฐ ธนบัตรที่มีค่ามากสุดในสหรัฐในปัจจุบัน ดอลลาร์สหรัฐ (United States dollar; ในเอกสารเก่าอาจพบการใช้ เหรียญสหรัฐ) เป็นสกุลเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา และยังใช้เป็นสกุลเงินสำรองในหลายประเทศทั่วโลก รหัสสากลคือ ISO 4217 ใช้ตัวย่อว่า USD และสัญลักษณ์ $ โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐมีค่าเท่ากับเกือบ 34 บาท (baht) สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่ใช้หน่วยเงิน ดอลลาร์ เป็นสกุลเงินประจำชาติ และยังมีประเทศอื่นที่มีเงินดอลลาร์เช่นกัน แต่ใช้ชื่อเรียกอื่น เช่น ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์ไต้หวัน นอกจากนี้ ดอลลาร์สหรัฐ ยังเป็นสกุลเงินหลักในหลายประเทศ และในบางประเทศถึงแม้ว่าดอลลาร์สหรัฐไม่ใช่สกุลเงินหลัก แต่ยังมีการยอมรับในการใช้จ่ายสินค้าทั่วไป ชื่อเล่นที่ชาวอเมริกันเรียก 1 เซนต์ ว่า "เพนนี" (penny), 5 เซนต์ ว่า "นิกเกิล" (nickel), 10 เซนต์ ว่า "ไดม์" (dime), 25 เซนต์ ว่า "ควอเตอร์" (quarter), 1 ดอลลาร์สหรัฐ ว่า "บั๊ก (ภาษาสแลง, ภาษาพูด)" (buck) และเรียก หนึ่งพันดอลลาร์สหรัฐ ว่า แกรนด์ (grand).

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและดอลลาร์สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์

ราจักรทางช้างเผือก ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง และดาราจักร) รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากนอกชั้นบรรยากาศของโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี การค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน ในปี ค.ศ. 2009 นี้เป็นการครบรอบ 400 ปีของการพิสูจน์แนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลของอริสโตเติลที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปีนี้เป็นปีดาราศาสตร์สากล มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาราจักร

ราจักร '''NGC 4414''' ซึ่งเป็นดาราจักรชนิดก้นหอย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 56,000 ปีแสง และอยู่ห่างจากโลกประมาณ 60 ล้านปีแสง ดาราจักร หรือ กาแล็กซี (galaxy) เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์นับล้านดวง กับสสารระหว่างดาวอันประกอบด้วยแก๊ส ฝุ่น และสสารมืด รวมอยู่ด้วยกันด้วยแรงโน้มถ่วง คำนี้มีที่มาจากภาษากรีกว่า galaxias หมายถึง "น้ำนม" ซึ่งสื่อโดยตรงถึงดาราจักรทางช้างเผือก (Milky Way) ดาราจักรโดยทั่วไปมีขนาดน้อยใหญ่ต่างกัน นับแต่ดาราจักรแคระที่มีดาวฤกษ์ประมาณสิบล้านดวง ไปจนถึงดาราจักรขนาดยักษ์ที่มีดาวฤกษ์นับถึงล้านล้านดวง.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและดาราจักร · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพฤหัสบดี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและดาวพฤหัสบดี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพลูโต

วพลูโต (Pluto; ดัชนีดาวเคราะห์น้อย: 134340 พลูโต) เป็นดาวเคราะห์แคระในแถบไคเปอร์ วงแหวนของวัตถุพ้นดาวเนปจูน โดยเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ชิ้นแรกที่ถูกค้นพบ มันมีขนาดใหญ่ที่สุดและมีมวลมากที่สุดเป็นอันดับสองในบรรดาดาวเคราะห์แคระที่รู้จักในระบบสุริยะ และยังเป็นวัตถุที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 9 และมวลมากเป็นอันดับที่ 10 ในระบบสุริยะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ดาวพลูโตเป็นวัตถุแถบไคเปอร์ที่ใหญ่ที่สุดโดยปริมาตร แต่มีมวลน้อยกว่าอีริส ซึ่งเป็นวัตถุในแถบหินกระจาย ดาวพลูโตมีลักษณะเหมือนกับวัตถุอื่น ๆ ในบริเวณเดียวกัน กล่าวคือ ประกอบไปด้วยหินและน้ำแข็งเป็นส่วนใหญ่ มีมวลและปริมาตรประมาณ 1 ใน 6 และ 1 ใน 3 ของดวงจันทร์ตามลำดับ วงโคจรของดาวพลูโตมีความเยื้องศูนย์กลางมาก อยู่ที่ 30 ถึง 49 หน่วยดาราศาสตร์ (4.4 – 7.4 พันล้านกิโลเมตร) จากดวงอาทิตย์ หมายความว่าเมื่อดาวพลูโตอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด มันจะอยู่ใกล้กว่าวงโคจรของดาวเนปจูนเสียอีก แต่เนื่องด้วยการสั่นพ้องของวงโคจร ทำให้ดาวเคราะห์ทั้งสองดวงไม่สามารถโคจรมาชนกันได้ ในปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและดาวพลูโต · ดูเพิ่มเติม »

ดาวพุธ

วพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และเป็นดาวเคราะห์ที่เล็กที่สุดในระบบสุริยะ ใช้เวลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วัน ดาวพุธมักปรากฏใกล้ หรืออยู่ภายใต้แสงจ้าของดวงอาทิตย์ทำให้สังเกตเห็นได้ยาก ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลำเดียวที่เคยสำรวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น ดาวพุธมีสภาพพื้นผิวขรุขระเนื่องจากการพุ่งชนของอุกกาบาต ไม่มีดวงจันทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโน้มถ่วงมากพอที่จะสร้างชั้นบรรยากาศ ดาวพุธมีแกนกลางเป็นเหล็กขนาดใหญ่ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ของสนามแม่เหล็กโลกล้อมรอบดาวพุธไว้ ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคำเต็มว่า Mercurius เทพนำสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ คือ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏในเวลาหัวค่ำ และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวกัน.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและดาวพุธ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวฤกษ์

นก่อตัวของดาวฤกษ์ในดาราจักรเมฆแมเจลแลนใหญ่ ภาพจาก NASA/ESA ดาวฤกษ์ คือวัตถุท้องฟ้าที่เป็นก้อนพลาสมาสว่างขนาดใหญ่ที่คงอยู่ได้ด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักของโลก เราสามารถมองเห็นดาวฤกษ์อื่น ๆ ได้บนท้องฟ้ายามราตรี หากไม่มีแสงจากดวงอาทิตย์บดบัง ในประวัติศาสตร์ ดาวฤกษ์ที่โดดเด่นที่สุดบนทรงกลมท้องฟ้าจะถูกจัดเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มดาว และดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดจะได้รับการตั้งชื่อโดยเฉพาะ นักดาราศาสตร์ได้จัดทำบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์เพิ่มเติมขึ้นมากมาย เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการตั้งชื่อดาวฤกษ์ ตลอดอายุขัยส่วนใหญ่ของดาวฤกษ์ มันจะเปล่งแสงได้เนื่องจากปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ฟิวชั่นที่แกนของดาว ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงานจากภายในของดาว จากนั้นจึงแผ่รังสีออกไปสู่อวกาศ ธาตุเคมีเกือบทั้งหมดซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและหนักกว่าฮีเลียมมีกำเนิดมาจากดาวฤกษ์ทั้งสิ้น โดยอาจเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของดาวฤกษ์ระหว่างที่ดาวยังมีชีวิตอยู่ หรือเกิดจากการสังเคราะห์นิวเคลียสของซูเปอร์โนวาหลังจากที่ดาวฤกษ์เกิดการระเบิดหลังสิ้นอายุขัย นักดาราศาสตร์สามารถระบุขนาดของมวล อายุ ส่วนประกอบทางเคมี และคุณสมบัติของดาวฤกษ์อีกหลายประการได้จากการสังเกตสเปกตรัม ความสว่าง และการเคลื่อนที่ในอวกาศ มวลรวมของดาวฤกษ์เป็นตัวกำหนดหลักในลำดับวิวัฒนาการและชะตากรรมในบั้นปลายของดาว ส่วนคุณสมบัติอื่นของดาวฤกษ์ เช่น เส้นผ่านศูนย์กลาง การหมุน การเคลื่อนที่ และอุณหภูมิ ถูกกำหนดจากประวัติวิวัฒนาการของมัน แผนภาพคู่ลำดับระหว่างอุณหภูมิกับความสว่างของดาวฤกษ์จำนวนมาก ที่รู้จักกันในชื่อ ไดอะแกรมของแฮร์ทสชปรุง-รัสเซลล์ (H-R ไดอะแกรม) ช่วยทำให้สามารถระบุอายุและรูปแบบวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ได้ ดาวฤกษ์ถือกำเนิดขึ้นจากเมฆโมเลกุลที่ยุบตัวโดยมีไฮโดรเจนเป็นส่วนประกอบหลัก รวมไปถึงฮีเลียม และธาตุอื่นที่หนักกว่าอีกจำนวนหนึ่ง เมื่อแก่นของดาวฤกษ์มีความหนาแน่นมากเพียงพอ ไฮโดรเจนบางส่วนจะถูกเปลี่ยนเป็นฮีเลียมผ่านกระบวนการนิวเคลียร์ฟิวชั่นอย่างต่อเนื่อง ส่วนภายในที่เหลือของดาวฤกษ์จะนำพลังงานออกจากแก่นผ่านทางกระบวนการแผ่รังสีและการพาความร้อนประกอบกัน ความดันภายในของดาวฤกษ์ป้องกันมิให้มันยุบตัวต่อไปจากแรงโน้มถ่วงของมันเอง เมื่อเชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่แก่นของดาวหมด ดาวฤกษ์ที่มีมวลอย่างน้อย 0.4 เท่าของดวงอาทิตย์ จะพองตัวออกจนกลายเป็นดาวยักษ์แดง ซึ่งในบางกรณี ดาวเหล่านี้จะหลอมธาตุที่หนักกว่าที่แก่นหรือในเปลือกรอบแก่นของดาว จากนั้น ดาวยักษ์แดงจะวิวัฒนาการไปสู่รูปแบบเสื่อม มีการรีไซเคิลบางส่วนของสสารไปสู่สสารระหว่างดาว สสารเหล่านี้จะก่อให้เกิดดาวฤกษ์รุ่นใหม่ซึ่งมีอัตราส่วนของธาตุหนักที่สูงกว่า ระบบดาวคู่และระบบดาวหลายดวงประกอบด้วยดาวฤกษ์สองดวงหรือมากกว่านั้นซึ่งยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง และส่วนใหญ่มักจะโคจรรอบกันในวงโคจรที่เสถียร เมื่อดาวฤกษ์ในระบบดาวดังกล่าวสองดวงมีวงโคจรใกล้กันมากเกินไป ปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงระหว่างดาวฤกษ์อาจส่งผลกระทบใหญ่หลวงต่อวิวัฒนาการของพวกมันได้ ดาวฤกษ์สามารถรวมตัวกันเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในโครงสร้างขนาดใหญ่ที่ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงโน้มถ่วง เช่น กระจุกดาว หรือ ดาราจักร ได้.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและดาวฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9

วหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 โดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 ดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 (Shoemaker-Levy 9 หรือ SL9; ชื่ออย่างเป็นทางการ D/1993 F2) เป็นดาวหางที่พุ่งเข้าชนดาวพฤหัสบดีในปี พ.ศ. 2537 ซึ่งทำให้สามารถสังเกตการชนระหว่างวัตถุในระบบสุริยะได้โดยตรงเป็นครั้งแรก (ไม่นับการชนที่เกี่ยวกับโลก) เหตุการณ์นี้ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง มีการเผยแพร่ออกไปทางสื่อต่าง ๆ และนักดาราศาสตร์ทั่วโลกก็มีโอกาสติดตามสังเกตการชนครั้งนี้อย่างใกล้ชิด นอกจากนี้เหตุการณ์ดังกล่าวยังแสดงให้เห็นถึงสภาพบรรยากาศของดาวพฤหัสบดี รวมไปถึงบทบาทของดาวพฤหัสบดีที่คอยกวาดวัตถุในอวกาศที่อยู่ด้านในของระบบสุริยะ แคโรลิน ชูเมกเกอร์ ยูจีน ชูเมกเกอร์ และเดวิด เลวี เป็นนักดาราศาสตร์ที่ค้นพบดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 เมื่อคืนวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2536 โดยอาศัยกล้องโทรทรรศน์ขนาด 0.4 เมตร ณ หอดูดาวเมาต์พาโลมาร์ในรัฐแคลิฟอร์เนีย เป็นดาวหางดวงแรกที่พบขณะโคจรรอบดาวเคราะห์ ไม่ได้โคจรรอบดวงอาทิตย์Bruton D.,, คำถาม 2.4 ชิ้นส่วนของดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 ประกอบด้วยดาวหางจำนวน 21 ชิ้น เคลื่อนที่ไล่ตามกันเหมือนขบวนรถไฟ มีตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 กิโลเมตร ซึ่งนักดาราศาสตร์เชื่อว่าแรงโน้มถ่วงของดาวพฤหัสบดีได้ฉีกดาวหางแตกออกเป็นชิ้น ๆ ระหว่างการโคจรเข้าใกล้กันเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 จากนั้นชิ้นส่วนต่าง ๆ ของดาวหางได้พุ่งเข้าชนดาวพฤหัสบดีตรงด้านซีกใต้โดยเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 16 กรกฎาคม ถึง 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 ด้วยอัตราเร็วประมาณ 60 กิโลเมตร/วินาที เกิดการระเบิดเทียบเท่ากับระเบิดทีเอ็นที 6 ล้านตัน หรือเทียบเท่าระเบิดปรมาณูที่ถล่มฮิโรชิมา 100 ล้านลูก แรงระเบิดมีรัศมีกระจายไปถึง 8,000 กิโลเมตร ทำให้เกิดฝุ่นดาวหางปกคลุมสูงขึ้นมาเหนือเมฆในชั้นบรรยากาศโจเวียนถึง 3,000 กว่ากิโลเมตร เกิดรอยคล้ำบนชั้นบรรยากาศของดาวพฤหัสบดี เห็นได้ชัดเจนต่อเนื่องกันนานเป็นเวลาหลายเดือนหลังจากนั้น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 · ดูเพิ่มเติม »

ดาวอีริส

136199 อีริส (Eris) หรือ 2003 UB313 เป็นดาวเคราะห์แคระหนึ่งในวัตถุพ้นดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Object - TNO) เป็นดาวเคราะห์แคระดวงใหญ่ เป็นลำดับที่ 2 ในระบบสุริยะที่ถูกค้นพบในปัจจุบัน มีขนาดเล็กกว่าดาวพลูโตเล็กน้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1445 กิโลเมตร(ขนาดดาวพลูโต 1473 กิโลเมตร) มีดวงจันทร์บริวาร 1 ดวง ชื่อ ดิสโนเมีย (Dysnomia) อีริสถูกค้นพบโดย ไมเคิล อี. บราวน์และคณะ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 2005 จากภาพที่ถ่ายไว้เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 2003 ด้วยกล้องโทรทรรศน์ของหอดูดาวพาโลมาร์ รัฐแคลิฟอร์เนีย คณะผู้ค้นพบได้เสนอให้ตั้งชื่อดาวที่พบใหม่นี้ว่า ซีนา (Xena) ตามชื่อของละครโทรทัศน์ Xena: Warrior Princess โดยตัวอักษร X หมายถึง ดาวเคราะห์ X ที่เปอร์ซิวัล โลเวลล์ เคยเสนอไว้ และให้ดวงจันทร์บริวารของมันใช้ชื่อว่า แกเบรียลล์ (Gabrielle) แต่ไม่ได้มีการประกาศใช้ชื่อนี้อย่างเป็นทางการ ภายหลังการค้นพบ คณะผู้ค้นพบและนาซาได้ประกาศว่าอีริสเป็น ดาวเคราะห์ดวงที่ 10 แต่จากการประชุมสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ได้ข้อสรุปว่าอีริสไม่จัดเป็นดาวเคราะห์ แต่เป็นดาวเคราะห์แคระ ชื่อ อีริส มาจากชื่อของเทพเจ้าแห่งความวุ่นวาย ผู้วางอุบายโดยใช้แอปเปิลทองคำ เพื่อทำให้เฮรา อาเทนา และอะโฟรไดต์ ซึ่งเป็นสามเทวีพรหมจรรย์ในบรรดาเทพแห่งโอลิมปัสแตกคอกัน เพราะว่าไม่ได้เชิญนางมางานเลี้ยงของเทพ ส่วน ดิสโนเมีย คือชื่อธิดาของอีริส ไฟล์:Animation showing movement of 2003 UB313.gif|ภาพถ่าย 3 ภาพในระยะเวลา 3 ชั่วโมงที่ ไมเคิล อี.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและดาวอีริส · ดูเพิ่มเติม »

ดาวแปรแสง

วแปรแสง (Variable Star) คือดาวฤกษ์ ที่มีความสว่างเปลี่ยนแปลงอย่างมาก แตกต่างจากดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ในท้องฟ้าที่มีสภาพส่องสว่างเกือบคงที่ ดวงอาทิตย์ของเรา เป็นตัวอย่างที่ดีของดาวฤกษ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงของความสว่างน้อยมาก (โดยปกติเปลี่ยนแปลงประมาณ 0.1% ในวัฏจักรสุริยะ 11 ปี) ดาวแปรแสงมีทั้งที่เปลี่ยนแปลงความสว่างจาก ปัจจัยภายใน และ ปัจจัยภายนอก ตัวอย่างดาวฤกษ์ดวงที่เห็นได้ชัดเจนคือ "ดาวบีเทลจุส" ในกลุ่มดาวนายพราน.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและดาวแปรแสง · ดูเพิ่มเติม »

ดาวแปรแสงชนิดเซเฟอิด

วแปรแสงชนิดเซเฟอิด (Cepheid variable; ออกเสียงว่า เซ-เฟ-อิด หรือ เซ-ฟีด) เป็นดาวแปรแสงชนิดหนึ่งที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง เพราะมีความเกี่ยวพันอย่างแน่นแฟ้นระหว่างช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลงกับค่าความส่องสว่างสัมบูรณ์ ดาวต้นแบบที่มีชื่อเดียวกันและมีลักษณะการแปรแสงเช่นนี้ด้วยคือดาวเดลต้าเซเฟอัส (Delta Cephei) ซึ่งจอห์น กู้ดริค เป็นผู้ค้นพบคุณลักษณะการแปรแสงเมื่อปี พ.ศ. 2327 ผลจากคุณลักษณะของดาว (ซึ่งเฮนเรียตตา สวอน เลียวิตต์ ค้นพบและระบุได้ใน พ.ศ. 2451 ต่อมาคิดค้นสมการคณิตศาสตร์ที่คำนวณได้อย่างแน่นอนในปี พ.ศ. 2455) ทำให้เราสามารถใช้ดาวแปรแสงเซเฟอิดเป็นดุจเทียนมาตรฐานที่ใช้ประเมินระยะห่างของดาราจักรหรือกระจุกดาวที่มันสังกัดอยู่ได้ ความสัมพันธ์ระหว่างช่วงเวลากับความส่องสว่างสามารถคำนวณโดยละเอียดได้โดยอาศัยดาวเซเฟอิดที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้การคำนวณระยะห่างด้วยวิธีนี้เป็นหนึ่งในวิธีที่แม่นยำที่สุดเท่าที่สามารถทำได้.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและดาวแปรแสงชนิดเซเฟอิด · ดูเพิ่มเติม »

ความยาวคลื่น

ซน์ ความยาวคลื่นมีค่าเท่ากับระยะห่างระหว่างยอดคลื่น ความยาวคลื่น คือระยะทางระหว่างส่วนที่ซ้ำกันของคลื่น สัญลักษณ์แทนความยาวคลื่นที่ใช้กันทั่วไปคือ อักษรกรีก แลมบ์ดา (λ).

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและความยาวคลื่น · ดูเพิ่มเติม »

ความละเอียดเชิงมุม

วามละเอียดเชิงมุม (Angular resolution) เป็นค่าที่บ่งบอกถึงระดับความละเอียดของอุปกรณ์ที่สร้างภาพแบบต่างๆ เช่น กล้องโทรทรรศน์วิทยุ กล้องไมโครสโคป กล้องถ่ายรูป หรือแม้แต่ดวงตาของมนุษย์ ระดับความละเอียด (Resolving power) เป็นความสามารถของอุปกรณ์สร้างภาพในการแยกแยะจุดแต่ละจุดของภาพวัตถุว่ามีมุมที่เหลื่อมล้ำกันอย่างไร คำว่า รีโซลูชั่น คือระยะทางน้อยที่สุดระหว่างวัตถุ (จุดหรือเส้น) ที่สามารถแยกภาพออกจากกันได้ แต่คำนี้ไม่ค่อยใช้กับกล้องไมโครสโคปหรือกล้องโทรทรรศน์เท่าใดนัก สำหรับในการวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ คำว่า รีโซลูชั่น โดยมากจะหมายถึงความเที่ยงตรงของเครื่องมือวัดหรือเครื่องมือบันทึก (ในการบันทึกภาพหรือสเปกตรัม) มากกว.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและความละเอียดเชิงมุม · ดูเพิ่มเติม »

ความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้

แนวการแผ่รังสีแวนอัลเลน กับตำแหน่งที่บรรจบกับมหาสมุทรแอตแลนติก ย่านความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ มีขนาดประมาณ 560 กม.http://heasarc.gsfc.nasa.gov/docs/rosat/gallery/misc_saad.html "ROSAT SAA" เก็บข้อมูลเมื่อ 2007-10-16. ความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ (South Atlantic Anomaly; SAA) เป็นย่านหนึ่งของผิวโลกที่อยู่ใกล้กับแนวการแผ่รังสีแวนอัลเลนเส้นในมากที่สุด ที่ระดับความสูงดังกล่าวความหนาแน่นของรังสีจะมีสูงกว่าย่านอื่นๆ แนวการแผ่รังสีแวนอัลเลนมีลักษณะสมมาตรกับแกนแม่เหล็กโลก ซึ่งสอดคล้องกับแกนการหมุนของโลกโดยทำมุมประมาณ 11 องศา แกนแม่เหล็กจึงเบี่ยงไปจากแกนการหมุนของโลกประมาณ 450 กิโลเมตร ผลจากการเบี่ยงเบนดังกล่าว เข็มขัดเส้นในของแนวการแผ่รังสีแวนอัลเลนจึงอยู่ใกล้ผิวโลกมากที่สุดที่บริเวณเหนือมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ ส่วนที่อยู่ห่างจากผิวโลกมากที่สุดอยู่ที่ประมาณเหนือมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ ความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อดาวเทียมและอวกาศยานสำรวจทางดาราศาสตร์ที่โคจรรอบโลกในระดับความสูงไม่กี่กิโลเมตรเหนือพื้นโลก วงโคจรในระดับนั้นทำให้ดาวเทียมเคลื่อนผ่านย่านความผิดปกติเป็นประจำและทำให้มันต้องได้รับรังสีระดับรุนแรงเป็นเวลาหลายนาทีในแต่ละครั้ง สถานีอวกาศนานาชาติที่โคจรในระดับดังกล่าวโดยมีมุมเบี่ยงเบน 51.6° ก็ต้องสร้างเกราะป้องกันพิเศษเพื่อป้องกันปัญหานี้ เครื่องมือวัดบนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลก็ไม่สามารถใช้งานได้ทุกครั้งที่โคจรผ่านย่านนี้.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและความผิดปกติที่มหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ความคลาดทรงกลม

ลนส์อันบนไม่มีความคลาดทรงกลม มันจึงรวมแสงไปที่จุดเดียวกัน เลนส์อันล่างมีความคลาดทรงกลม ยิ่งแสงที่ตกกระทบบนเลนส์ห่างจากแกนตรงกลางมากเท่าไร มันจะถูกหักเหเข้าใกล้เลนส์มากขึ้นเท่านั้น ความคลาดทรงกลม (spherical aberration) คือ การที่แสงหักเหผ่านเลนส์หรือสะท้อนกับกระจกแล้วไม่ตกกระทบลงบนจุดเดียวกัน แสงที่ตกกระทบใกล้แกนของเลนส์จะเกิดภาพไม่เป็นจุดเดียวกันกับแสงที่ตกกระทบไกลแกนของเลนส์ กระจกทรงกลมและเลนส์ทรงกลมทุกอันมีความคลาดทรงกลม ความคลาดทรงกลมเป็นปัญหาหลักในกล้องโทรทรรศน์ เลนส์และกระจกทรงกลมผลิตง่ายกว่าเลนส์และกระจกโค้งที่ไม่เป็นทรงกลมมาก.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและความคลาดทรงกลม · ดูเพิ่มเติม »

ความโน้มถ่วง

หมุนรอบดวงอาทิตย์ ไม่หลุดออกจากวงโคจร (ภาพไม่เป็นไปตามอัตราส่วน) ความโน้มถ่วง (gravity) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซึ่งทำให้วัตถุกายภาพทั้งหมดดึงดูดเข้าหากัน ความโน้มถ่วงทำให้วัตถุกายภาพมีน้ำหนักและทำให้วัตถุตกสู่พื้นเมื่อปล่อย แรงโน้มถ่วงเป็นหนึ่งในสี่แรงหลัก ซึ่งประกอบด้วย แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงนิวเคลียร์แบบอ่อน และ แรงนิวเคลียร์แบบเข้ม ในจำนวนแรงทั้งสี่แรงหลัก แรงโน้มถ่วงมีค่าน้อยที่สุด ถึงแม้ว่าแรงโน้มถ่วงจะเป็นแรงที่เราไม่สามารถรับรู้ได้มากนักเพราะความเบาบางของแรงที่กระทำต่อเรา แต่ก็เป็นแรงเดียวที่ยึดเหนี่ยวเราไว้กับพื้นโลก แรงโน้มถ่วงมีความแรงแปรผันตรงกับมวล และแปรผกผันกับระยะทางยกกำลังสอง ไม่มีการลดทอนหรือถูกดูดซับเนื่องจากมวลใดๆ ทำให้แรงโน้มถ่วงเป็นแรงที่สำคัญมากในการยึดเหนี่ยวเอกภพไว้ด้วยกัน นอกเหนือจากความโน้มถ่วงที่เกิดระหว่างมวลแล้ว ความโน้มถ่วงยังสามารถเกิดขึ้นได้จากการที่เราเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เช่น การเพิ่มหรือลดความเร็วของวัตถุ การเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ เป็นต้น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและความโน้มถ่วง · ดูเพิ่มเติม »

ความเร่ง

วามเร่ง คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุในช่วงเวลาหนึ่ง ที่จุดใดๆบนกราฟ v-t ความเร่งจะเท่ากับความชันของเส้นสัมผัสจุดนั้น ในฟิสิกส์ ความเร่ง (acceleration, สัญลักษณ์: a) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลง (หรืออนุพันธ์เวลา) ของความเร็ว เป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มีหน่วยเป็น ความยาว/เวลา² ในหน่วยเอสไอกำหนดให้หน่วยเป็น เมตร/วินาที² เมื่อวัตถุมีความเร่งในช่วงเวลาหนึ่ง ความเร็วของมันจะเปลี่ยนแปลงไป ความเร่งอาจมีค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ ซึ่งเรามักว่าเรียกความเร่ง กับ ความหน่วง ตามลำดับ ความเร่งมีนิยามว่า "อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุในช่วงเวลาหนึ่ง" และกำหนดโดยสมการนี้ \mathbf.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและความเร่ง · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์

อบีเอ็ม โรดรันเนอร์ - ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลกผลิตโดยไอบีเอ็มและสถาบันวิจัยแห่งชาติลอสอะลาโมส (2551) http://www.cnn.com/2008/TECH/06/09/fastest.computer.ap/ Government unveils world's fastest computer จากซีเอ็นเอ็น คอมพิวเตอร์ (computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์ เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วยความจำรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดำเนินการคำนวณเกี่ยวกับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ และตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลงลำดับของตัวดำเนินการโดยยึดสารสนเทศที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอมให้นำเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และส่งผลจากการคำนวณตัวดำเนินการออกไป หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดำเนินการกับคำสั่งต่าง ๆ ที่คอยสั่งให้อ่าน ประมวล และเก็บข้อมูลไว้ คำสั่งต่าง ๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคำสั่งให้ระบบและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1940 – ค.ศ. 1945) แรกเริ่มนั้น คอมพิวเตอร์มีขนาดเท่ากับห้องขนาดใหญ่ ซึ่งใช้พลังงานมากเท่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) สมัยใหม่หลายร้อยเครื่องรวมกัน คอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่นี้ผลิตขึ้นโดยใช้วงจรรวม หรือวงจรไอซี (Integrated circuit) โดยมีความจุมากกว่าสมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า และขนาดของตัวเครื่องใช้พื้นที่เพียงเศษส่วนเล็กน้อยเท่านั้น คอมพิวเตอร์อย่างง่ายมีขนาดเล็กพอที่จะถูกบรรจุไว้ในอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์มือถือนี้ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ขนาดเล็ก และหากจะมีคนพูดถึงคำว่า "คอมพิวเตอร์" มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของยุคสารสนเทศ อย่างไรก็ดี ยังมีคอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีกมากมายที่พบได้ตั้งแต่ในเครื่องเล่นเอ็มพีสามจนถึงเครื่องบินบังคับ และของเล่นชนิดต่าง ๆ จนถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรม.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและคอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คอนสตันติน ซีออลคอฟสกี

แบบร่างจรวดลำแรกของซีออลคอฟสกี คอนสตันติน เอดูอาร์โดวิช ซีออลคอฟสกี หรือไซออลคอฟสกี (Konstantin Eduardovich Tsiolkovsky; Константи́н Эдуа́рдович Циолко́вский; Konstanty Ciołkowski; 17 กันยายน ค.ศ. 1857 - 19 กันยายน ค.ศ. 1935) เป็นนักวิทยาศาสตร์ในยุคจักรวรรดิรัสเซีย และนักวิทยาศาสตร์ด้านจรวดของสหภาพโซเวียตและเป็นผู้บุกเบิกศาสตร์ด้านวิศวกรรมอวกาศและการสำรวจอวกาศ และเป็นแรงบันดาลใจในการผลักดันโครงการสำรวจอวกาศของสหภาพโซเวียตในเวลาต่อมา ซีออลคอฟสกีได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในสามของบิดาแห่งวิทยาการจรวดและการสำรวจอวกาศร่วมกับแฮร์มัน โอแบร์ธและโรเบิร์ต ก็อดเดิร์ด แม้ทั้งสามคนนี้จะไม่เคยทำงานร่วมกันเลยก็ตาม.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและคอนสตันติน ซีออลคอฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

ตารางเมตร

ตารางเมตร คือ หน่วยอนุพันธ์ระบบเอสไอของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.ม. หรือสัญลักษณ์ ม.2 จากภาษาอังกฤษ m2 1 ตารางเมตร มีค่าเท่ากับ.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและตารางเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ปอนด์

ปอนด์ (pound เพานด์) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและปอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

นักบินอวกาศ

รูซ แมคแคนด์เลส 2 นักบินอวกาศชาวอเมริกัน ขณะทำงานอยู่นอกกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ เมื่อ พ.ศ. 2527 (ภาพจากองค์การนาซา) นักบินอวกาศ คือ บุคคลที่เดินทางไปกับยานอวกาศ ไม่ว่าจะไปในฐานะใด และไม่ว่าจะไปด้วยยานอวกาศแบบไหน ทั้งที่โคจรรอบโลก (ในระยะสูงจากพื้นราว 80-100 กิโลเมตรขึ้นไป) หรือที่เดินทางออกไปยังตำแหน่งอื่นใดนอกวงโคจรของโลก คำว่า นักบินอวกาศ ในภาษาไทย นั้น ตรงกับคำศัพท์ในภาษาอังกฤษ ว่าแอสโตรนอท (astronaut) ซึ่งมีความหมายอย่างที่กล่าวมา เป็นที่น่าสังเกตว่า คำว่า นักบินอวกาศ ไม่ได้มีความหมายเฉพาะผู้ที่เป็นนักบิน (pilot) เท่านั้น แต่มีความหมายอย่างที่อาจเข้าใจได้ง่ายๆ ว่า ลูกเรืออวกาศ นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในภาษาไทยยังมีคำศัพท์อีกคำ ที่มีความหมายเช่นนี้ นั่นคือ มนุษย์อวกาศ คำว่า แอสโตรนอท ในภาษาอังกฤษนั้น มีที่มาจากคำศัพท์ในภาษากรีก สองคำ คือ astro หมายถึงดวงดาว และ nautes ซึ่งหมายถึง กะลาสี ปัจจุบันมีนักบินอวกาศหลายชาติ จึงมีการสร้างคำสำหรับเรียกนักบินอวกาศของแต่ละชาติต่างๆ กัน เช่น นักบินในโครงการอวกาศของรัสเซีย เรียกว่า คอสโมนอท (cosmonaut) อันเป็นการสร้างคำจากคำศัพท์จากภาษากรีกเช่นกัน โดยใช้คำว่า kosmo ที่หมายถึง อวกาศ และคำว่า nautes ที่หมายถึง กะลาสี ส่วนในยุโรป มีการสร้างศัพท์ขึ้นใหม่ ว่า สเปชันนอท (spationaut) เป็นคำประสม ระหว่าง space ในภาษาละติน (อวกาศ) และ nautes ในภาษากรีก (กะลาสี) โดยมีความหมายว่านักบินอวกาศ หรือมนุษย์อวกาศ นั่นเอง นอกจากนี้ยังมีคำว่า ไทโคนอท (Taikonaut) เป็นคำศัพท์ที่คิดขึ้นใหม่ เมื่อ เดือนพฤษภาคม ปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและนักบินอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

นักดาราศาสตร์

''กาลิเลโอ'' ผู้ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นบิดาของนักดาราศาสตร์ยุคใหม่ นักดาราศาสตร์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ทำการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับดาราศาสตร์หรือฟิสิกส์ดาราศาสตร์ แต่เดิมมาในอดีตกาล นักดาราศาสตร์ นักฟิสิกส์ หรือนักปรัชญา มักจะเป็นบุคคลคนเดียวกัน เพราะเป็นผู้สืบหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับธรรมชาติ ต่อมาผู้ที่ให้ความสนใจกับปรากฏการณ์บนท้องฟ้าเป็นพิเศษ จึงเรียกเฉพาะเจาะจงไปว่าเป็น "นักดาราศาสตร์" หมวดหมู่:อาชีพ.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและนักดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและนาซา · ดูเพิ่มเติม »

นิ้ว

นิ้ว (อังกฤษ:finger) อาจหมายถึง ส่วนที่ยื้นออกมาจากมือ มีข้อต่อ ที่ปลายมีเล็.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและนิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

แก้ว

ตัวหมากรุกที่ทำจากแก้ว แก้ว หมายถึง วัสดุแข็งที่มีรูปลักษณะอยู่ตัว และเป็นเนื้อเดียว โดยปกติแล้วเกิดจากการเย็นตัวลงอย่างฉับพลันของวัสดุหลอมหนืด ซึ่งทำให้การแข็งตัวนั้นไม่ก่อผลึก ตัวอย่างเช่น น้ำตาลซึ่งหลอมละลายและถูกทำให้แข็งตัวอย่างรวดเร็ว อาจด้วยการหยดลงบนผิวเย็น น้ำตาลที่แข็งตัวนี้จะมีลักษณะเป็นเนื้อเดียว ไม่แสดงให้เห็นถึงลักษณะที่เป็นผลึก ซึ่งสามารถสังเกตได้จากรอยแตกหักซึ่งมีลักษณะละเอียด (conchoidal fracture) แก้วสามารถที่จะเกิดได้หลากหลายวิธี โดยการที่จะเลือกวัตถุดิบใน จะต้องมีการคำนวณเพื่อหาปริมาณสารที่ต้องการใช้ใน Batch เนื่องจากสารที่ต้องการใช้ใน Batch จะได้มาจากปฏิกิริยา ของวัตถุดิบ โดยในระหว่างการหลอมวัตถุดิบ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี และโครงสร้าง โดยจะทำให้เกิดฟองอากาศ ที่ต้องกำจัดออกไป โดยในผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ที่ต้องการการขึ้นรูปทรงที่เฉพาะ จะทำโดยมีการใช้กระบวนการทางความร้อนเข้าช่วย เพื่อกำจัด Stress ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเย็นตัวลงอย่างรวดเร็ว และการปรับปรุงให้แก้วมีความแข็งแกร่งขึ้นโดยการอบเทมเปอร์ (Temper) แก้วที่จะกล่าวถึงในบทความนี้ จะหมายถึง เฉพาะแก้วที่ทำจาก ซิลิกา (silica) เนื้อแก้วบริสุทธิ์นั้น จะโปร่งใส ผิวค่อนข้างแข็ง ยากแก่การกัดกร่อน เฉื่อยต่อปฏิกิริยาทางเคมี และชีวภาพ ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่ทำให้แก้วนั้นมีประโยชน์ใช้งานอย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตามแก้วนั้นถึงแม้จะแข็ง แต่ก็เปราะแตกหักง่าย และมีรอยแตกที่ละเอียดคม คุณสมบัติของแก้วนี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายด้วยการผสมสารอื่นลงในเนื้อแก้ว หรือการปรับสภาพด้วยการใช้ความร้อน แก้วโดยทั่วไปนั้นทำจาก ซิลิคอนไดออกไซด์ (SiO2-silicon dioxide) ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสารประกอบทางเคมีใน แร่ควอตซ์ (quartz) หรือในรูป polycrystalline ของทราย ซิลิกาบริสุทธิ์ มีจุดหลอมเหลวที่ 2000 °C (3632 °F) เพื่อความสะดวกในกระบวนการผลิต จะมีการผสมสาร 2 ชนิดลงไปด้วย ชนิดแรกคือ โซดาแอช (Soda Ash) ซึ่งมีองค์ประกอบหลักคือ โซเดียมคาร์บอเนต (sodium carbonate-Na2CO3) หรือสารประกอบโปตัสเซียม เช่น โปตัสเซียมคาร์บอเนต เพื่อช่วยให้อุณหภูมิในการหลอมเหลวนั้นต่ำลงอยู่ที่ประมาณ 1000~1500 °C แต่อย่างไรก็ตามสารนี้จะส่งผลข้างเคียงทำให้แก้วนั้นละลายน้ำได้ จึงต้องมีการเติมสารอีกชนิด คือ หินปูน ซึ่งมีองค์ประกอบหลักคือ แคลเซียมคาร์บอเนต (calcium carbonate-CaCO3) (เมื่ออยู่ในเนื้อแก้ว จะกลายเป็นแคลเซียมออกไซด์;calcium oxide-CaO) เพื่อทำให้แก้วนั้นไม่ละลายน้ำ องค์ประกอบของแก้วที่ใช้ทำภาชนะใช้งานโดยทั่วไป เช่น แก้วน้ำ หรือกระจกใส จะมีองค์ประกอบแต่ละตัวโดยประมาณดังนี้ SiO2 70% Na2O 15% CaO 8% และองค์ประกอบอื่น ๆ อีกเล็กน้อย เช่น MgO, Al2O3, K2O เป็นต้น อาจมีแก้วพิเศษชนิดอื่น ซึ่งเกิดจากการเติมวัตถุดิบอื่น ๆ ลงไป เพื่อช่วยปรับคุณสมบัติของแก้ว เช่น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

แว่นตา

แว่นตาสมัยใหม่ แว่นตาเป็น เลนส์ที่สวมอยู่ในกรอบ สำหรับใส่ข้างหน้าตา ปกติเพื่อปรับแก้การมองเห็น ป้องกันตา หรือเพื่อป้องกัน รังสีเหนือม่วง โดยแว่นตานี้ จะถูกใช้เนื่องจากหลายๆกรณี อาทิ เช่น คนที่มีปัญหาทางด้านสายตา ไม่ว่าจะเป็นสายตาสั้น สายตายาว ผู้มีปัญหาทางตาเช่นโรคต้อบางชนิดที่จำเป็นต้องป้องกันนัยต์ตาไม่ให้โดนลมปะทะ หรือในบางครั้ง ยังสามารถใช้เป็นแว่นตาสำหรับใส่เล่น(แฟชั่น ได้อีกด้วย) และข้อดีอย่างนึงคือ สามารถกันรังสีต่างๆที่ออกมาจากคอมพิวเตอร์ ทำให้ช่วยในเรื่องของการถนอมสายตาได้อีกด้วย แว่นสมัยใหม่โดยทั่วไปทำจากโลหะหรือพลาสติก ซึ่งจะมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกันออกไป สำหรับกรอบแว่นสายตาที่มีกรอบเป็นพลาสติกมีคุณสมบัติเรื่องของความเบาของตัวแว่น ทำให้ผุ้ใช้รู้สึกสบายตา ไม่ปวดศีรษะ แต่มีข้อเสียในเรื่องของความทนทาน สำหรับกรอบแว่นสายตาที่มีกรอบเป็นโลหะนี้ จะมีน้ำหนักที่ค่อนข้างมาก แต่มีข้อดีคือความทนทาน ในปัจจุบันมีแว่นตาหลากหลายรูปทรงให้เลือกใช้ ไม่ว่าจะเป็นทรงสี่เหลี่ยม ทรงกลม ทรงรี ซึ่งแว่นตาแต่ละรูปทรง สามารถมีส่วนช่วยในเรื่องของการปรับรูปหน้าผู้ใส่ได้ ขึ้นอยู่กับการเลือกเฟ้นของผู้ใช้เอง อาทิเช่น กรอบแว่นตาทรงสี่เหลี่ยมจะเหมาะกับทั้งคนที่มีหน้ากลมและหน้ายาว เป็นต้น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและแว่นตา · ดูเพิ่มเติม »

แสงวาบรังสีแกมมา

วาดจากศิลปินแสดงชีวิตของดาวฤกษ์มวลมากซึ่งเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น เปลี่ยนให้อนุภาคที่เบากว่ากลายเป็นอนุภาคมวลหนัก เมื่อการเกิดฟิวชั่นไม่อาจสร้างแรงดันเพียงพอจะต้านการยุบตัวจากแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์จะยุบตัวลงอย่างรวดเร็วและกลายเป็นหลุมดำ ตามทฤษฎีแล้ว พลังงานจะถูกปลดปล่อยออกมาระหว่างการยุบตัวตามแนวแกนของการหมุน ทำให้เกิดแสงวาบรังสีแกมมา ''Credit: Nicolle Rager Fuller/NSF'' แสงวาบรังสีแกมมา (Gamma-ray burst: GRB) คือแสงสว่างของรังสีแกมมาที่เกี่ยวข้องกับการระเบิดอย่างรุนแรงของดาราจักรที่อยู่ไกลมากๆ นับเป็นปรากฏการณ์ทางคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่สว่างที่สุดที่ปรากฏในเอกภพนับแต่เหตุการณ์บิกแบง ตามปกติเหตุการณ์นี้จะเกิดขึ้นเป็นเวลาเพียงไม่กี่วินาที แต่ก็อาจมีช่วงเวลาที่แตกต่างกันตั้งแต่ไม่กี่มิลลิวินาทีไปจนถึงหนึ่งชั่วโมง หลังจากการระเบิดครั้งแรก จะมีเหตุการณ์ "afterglow" อันยาวนานติดตามมาที่ช่วงความยาวคลื่นอื่นที่ยาวกว่า (เช่น รังสีเอ็กซ์ อัลตราไวโอเลต แสงที่ตามองเห็น อินฟราเรด และคลื่นวิทยุ) แสงวาบรังสีแกมมาที่สังเกตพบส่วนใหญ่คิดว่าเป็นลำแสงแคบๆ ประกอบด้วยรังสีที่หนาแน่นซึ่งปลดปล่อยออกมาระหว่างเกิดเหตุซูเปอร์โนวา เนื่องจากดาวฤกษ์ที่มีมวลสูงมากและหมุนด้วยความเร็วสูงได้แตกสลายลงกลายเป็นหลุมดำ มีการแบ่งประเภทย่อยของแสงวาบรังสีแกมมาซึ่งเกิดจากกระบวนการอื่นที่แตกต่างกัน เช่นเกิดการรวมตัวกันของดาวนิวตรอนที่เป็นดาวคู่ แหล่งกำเนิดแสงวาบรังสีแกมมาส่วนใหญ่อยู่ห่างจากโลกไปไกลนับพันล้านปีแสง แสดงว่าการระเบิดนั้นจะต้องทำให้เกิดพลังงานสูงมาก (การระเบิดแบบปกติจะปลดปล่อยพลังงานจำนวนมากเพียงไม่กี่วินาทีเท่าพลังงานที่ดวงอาทิตย์ส่งออกไปตลอดช่วงอายุ 10,000 ล้านปี) และเกิดขึ้นน้อยมาก (เพียงไม่กี่ครั้งต่อดาราจักรต่อล้านปี) แสงวาบรังสีแกมมาที่สังเกตพบทั้งหมดมาจากดาราจักรแห่งอื่นพ้นจากทางช้างเผือก แม้จะมีการพบปรากฏการณ์คล้ายๆ กัน คือ soft gamma repeater flares เกิดจาก Magnetar ภายในทางช้างเผือกนี้ มีการตั้งสมมุติฐานว่า ถ้าเกิดแสงวาบรังสีแกมมาขึ้นในทางช้างเผือกแล้ว จะทำให้โลกดับสูญไปทั้งหมด การค้นพบแสงวาบรังสีแกมมาครั้งแรกเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1967 โดยดาวเทียม Vela ซึ่งเป็นกลุ่มดาวเทียมที่ออกแบบมาเพื่อตรวจจับการลักลอบทดลองอาวุธนิวเคลียร์ หลังจากการค้นพบครั้งนั้น ได้มีแบบจำลองทางทฤษฎีหลายร้อยแบบเกิดขึ้นตลอดช่วงเวลาหลายปีเพื่อพยายามอธิบายปรากฏการณ์นี้ เช่น เป็นการชนกันระหว่างดาวหางกับดาวนิวตรอน เป็นต้น ข้อมูลที่จะใช้ตรวจสอบแบบจำลองเหล่านี้มีน้อยมาก จนกระทั่งถึงปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและแสงวาบรังสีแกมมา · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มัน โอแบร์ธ

แฮร์มัน จูเลียส โอแบร์ธ (Hermann Julius Oberth; 25 มิถุนายน ค.ศ. 1894 - 28 ธันวาคม ค.ศ. 1989) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน เชื้อสายออสเตรีย-ฮังการี เขาเป็นหนึ่งในสามของบิดาแห่งวิทยาการจรวดและการสำรวจอวกาศร่วมกับคอนสแตนติน ซีออลคอฟสกี (รัสเซีย) และโรเบิร์ต ก็อดเดิร์ด (อเมริกัน) ทั้งสามคนนี้ไม่เคยทำงานร่วมกัน แต่โดยการทำงานอิสระต่างก็สามารถสร้างผลงานของตนสำเร็จขึ้นได้.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและแฮร์มัน โอแบร์ธ · ดูเพิ่มเติม »

โฟตอน

ฟตอน (Photon) หรือ อนุภาคของแสง เป็นการพิจารณาแสงในลักษณะของอนุภาค เนื่องจากในทางฟิสิกส์นั้น คลื่นสามารถประพฤติตัวเหมือนอนุภาคเมื่ออยู่ในสภาวะใดสภาวะหนึ่ง ซึ่งในทางตรงกันข้ามอนุภาคก็แสดงสมบัติของคลื่นได้เช่นกัน เรียกว่าเป็นคุณสมบัติทวิภาคของคลื่น-อนุภาค (wave–particle duality) ดังนั้นเมื่อพิจารณาแสงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในลักษณะอนุภาค อนุภาคนั้นถูกเรียกว่า โฟตอน ทั้งนี้การพิจารณาดังกล่าวเกิดจากการศึกษาปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่โลหะปลดปล่อยอิเล็กตรอนออกมาเมื่อถูกฉายด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อย่างเช่น รังสีเอกซ์ (X-ray) อิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาถูกเรียกว่า โฟโตอิเล็กตรอน (photoelectron) ปรากฏการณ์ดังกล่าวถูกเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Hertz Effect ตามชื่อของผู้ค้นพบ คือ นาย ไฮน์ริช เฮิร์ตซ์ โฟตอนมีปฏิยานุภาค คือ ปฏิโฟตอน (Anti-Photon) ซึ่งมีสปินเหมือนอนุภาคต้นแบบทุกประการ โฟตอนจึงเป็นปฏิยานุภาคของตัวมันเอง.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและโฟตอน · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต ก็อดเดิร์ด

รเบิร์ต ฮัทชิงส์ ก็อดเดิร์ด (Robert Hutchings Goddard, Ph.D.; 5 ตุลาคม ค.ศ. 1882 - 10 สิงหาคม ค.ศ. 1945) เป็นอาจารย์และนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันที่ริเริ่มการค้นคว้าจรวดที่ใช้เชื้อเพลิงเหลวในการควบคุม เขายิงจรวดลำแรกของโลกที่ใช้เชื้อเพลิงเหลวเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1926 จากนั้นระหว่างปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและโรเบิร์ต ก็อดเดิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

โลก

"เดอะบลูมาร์เบิล" ภาพถ่ายดาวเคราะห์โลกจากยาน ''อพอลโล 17'' โลก (loka; world) มีความหมายโดยปริยายหมายถึงหมู่มนุษย์ รวมทั้งอารยธรรมมนุษย์โดยรวมทั้งหมด โดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ประวัติศาสตร์ หรือสภาพของมนุษย์โดยทั่ว ๆ ไป ทั้งนี้ คำว่า ทั่วโลก หมายถึงสถานที่ใด ๆ บนดาวเคราะห์โลก ในทางปรัชญามองโลกอยู่ 2 แบบ คือ.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและโลก · ดูเพิ่มเติม »

โครงการหอดูดาวเอก

รงการหอดูดาวเอก (Great Observatories Program) เป็นโครงการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ขนาดใหญ่ขององค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา หรือนาซา ประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ที่มีกำลังสูงมากจำนวน 4 ตัว ซึ่งสร้างผลสังเกตการณ์ที่มีอิทธิพลต่อวงการดาราศาสตร์เป็นอย่างสูง กล้องทั้งสี่ตัวออกแบบมาให้สามารถจับภาพวัตถุท้องฟ้าในสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าได้.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและโครงการหอดูดาวเอก · ดูเพิ่มเติม »

โซลิดสเตตไดรฟ์

'''โซลิดสเตตไดรฟ์''' ถูกแยกส่วนเปรียบเทียบกับ ฮาร์ดดิสก์ ที่ใช้จานแม่เหล็กหมุน จะเห็นได้ว่าแบบจานแม่เหล็กหมุนนั้น มีข้อจำกัดเกี่ยวกับความทนต่อแรงสั่นสะเทือน เพราะหัวอ่านข้อมูลเป็นอุปกรณ์ที่มีความละเอียดอ่อนมากซึ่งอาจจะกระทบถูกจานหมุนและได้รับความเสียหายได้หากมีแรงกระแทกจากภายนอกที่มากพอ ในขณะที่โซลิดสเตตไดรฟ์ ไม่มีข้อจำกัดอันนี้ โซลิดสเตตไดรฟ์จาก DDR SDRAM มีความจุ 128 จิกะไบต์ และมีอัตราข้อมูล 3072 เมกะไบต์ต่อวินาที ไม่ต้องการ mSATA SSD โซลิดสเตตไดรฟ์ (Solid state drive, SSD) หรือ เอสเอสดี คือ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้ชิปวงจรรวมที่ประกอบรวมเป็น หน่วยความจำ เพื่อจัดเก็บข้อมูลแบบถาวรเหมือนฮาร์ดดิสก์ เทคโนโลยีของโซลิดสเตตไดรฟ์ถูกสร้างมาเพื่อทดแทนฮาร์ดดิสก์จึงทำให้มีอินเทอร์เฟส อินพุต/เอ้าพุต เหมือนกันและสามารถใช้งานแทนกันได้ และเนื่องจากโซลิดสเตตไดรฟ์ถูกสร้างด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์จึงไม่มีชิ้นส่วนจักรกลใดๆที่มีการเคลื่อนที่ (หลักการของ ฮาร์ดดิสก์ และ ฟรอปปี้ดิสก์ คือใช้จานแม่เหล็กหมุน) ส่งผลให้ความเสียหายจากแรงกระแทกของโซลิดสเตตไดรฟ์นั้นน้อยกว่าฮาร์ดดิสก์ (หรือทนต่อการแรงสั่นสะเทือนได้ดี) โดยการเปรียบเทียบจากการที่โซลิดสเตตไดรฟ์ไม่ต้องหมุนจานแม่เหล็กในการอ่านข้อมูลทำให้อุปกรณ์กินไฟน้อยกว่า และใช้เวลาในการเข้าถึงข้อมูล (access time) และเวลาในการหน่วงข้อมูล (latency) น้อยกว่าเนื่องจากสามารถเข้าถึงข้อมูลในตำแหน่งต่างๆ ได้รวดเร็วและทันทีโดยไม่ต้องรอการหมุนจานแม่เหล็กให้ถึงตำแหน่งของข้อมูล คำว่าโซลิดสเตตไดรฟ์เป็นคำกว้างๆ ที่อธิบายถึงอุปกรณ์เก็บข้อมูลลักษณะเดียวกับฮาร์ดดิสก์แต่ใช้หน่วยความจำในการเก็บข้อมูลทดแทนการใช้จานแม่เหล็ก โซลิดสเตตไดรฟ์จึงมีหลายชนิดซึ่งแตกต่างกันตามชนิดหน่วยความจำที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ปัจจุบันหน่วยความจำที่นิยมนำมาใช้ในโซลิดสเตตไดรฟ์คือ หน่วยความจำแฟลช ซึ่งพบเห็นได้ทั่วไปและเป็นที่นิยมที่สุดแต่มีข้อเสียที่จำกัดจำนวนครั้งในการเขียนข้อมูลทับ และอีกชนิดคือ เอสเอสดีจาก DDR SDRAM หรือแรมที่ใช้เป็นหน่วยความจำหลักในคอมพิวเตอร์ที่เรารู้จักดี ซึ่งเร็วกว่าหน่วยความจำแฟลชมากและเขียนทับได้ไม่จำกัด แต่เพราะว่า DDR SDRAM เป็นหน่วยความจำชั่วคราวดังนั้นการที่จะให้ทำงานเป็นหน่วยความจำถาวรก็ต้องมีแหล่งไฟฟ้าที่ถาวรเลี้ยงเพื่อไม่ให้ลืมข้อมูล ด้วยข้อจำกัดนี้ทำให้ไม่เป็นที่นิยมในการใช้ทั่วไปตามบ้านเรือนแต่นิยมในอุตสาหกรรมที่ต้องการแหล่งเก็บข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูง.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและโซลิดสเตตไดรฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครเมตร

้นใยคาร์บอนขนาด 6 ไมโครเมตรเมื่อเทียบกับเว่นผมมนุษย์ขนาด 50 ไมโครเมตร ไมโครเมตร (micrometer) หรือ ไมครอน (micron) ใช้สัญลักษณ์ µm เป็นหน่วยวัดความยาวมีค่าเท่ากับ 1 ใน 1,000,000 เมตร โดยสามารถเขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ได้ว่า 1 ม. ขนาดเทียบเท่าของหน่วยไมครอนได้แก.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและไมโครเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล กริฟฟิน

มเคิล ดักลาส กริฟฟิน (Michael Douglas Griffin) เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1949 เป็นนักฟิสิกส์และวิศวกรการบินชาวอเมริกัน เข้ารับตำแหน่งผู้บริหารขององค์การนาซาตั้งแต่วันที่ 13 เมษายน..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและไมเคิล กริฟฟิน · ดูเพิ่มเติม »

ไลแมน สปิตเซอร์

ลแมน สตรอง สปิตเซอร์ จูเนียร์ (Lyman Strong Spitzer, Jr.; 26 มิถุนายน ค.ศ. 1914 - 31 มีนาคม ค.ศ. 1997) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีและนักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากงานวิจัยเรื่องการก่อตัวของดาวฤกษ์ งานวิจัยเกี่ยวกับฟิสิกส์พลาสมา และเป็นผู้ริเริ่มแนวคิดการใช้กล้องโทรทรรศน์ในอวก.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและไลแมน สปิตเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไจโรสโคป

รสโคป การหมุนควงของไจโรสโคป ไจโรสโคป เป็นอุปกรณ์ที่อาศัยแรงเฉื่อยของล้อหมุน เพื่อช่วยรักษาระดับทิศทางของแกนหมุน ประกอบด้วยล้อหมุนเร็วบรรจุอยู่ในกรอบอีกทีหนึ่ง ทำให้เอียงในทิศทางต่างๆ ได้โดยอิสระ นั่นคือ หมุนในแกนใดๆ ก็ได้ โมเมนตัมเชิงมุมของล้อดังกล่าวทำให้มันคงรักษาตำแหน่งของมันไว้แม้กรอบล้อจะเอียง จากคุณสมบัติดังกล่าวทำให้สามารถนำหลักการนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ต่างๆ มากมาย เช่น เข็มทิศ และนักบินอัตโนมัติของเครื่องบิน เรือ กลไกบังคับหางเสือของตอร์ปิโด อุปกรณ์ป้องกันการกลิ้งบนเรือใหญ่ และระบบนำร่องเฉื่อย (inertial guidance) รวมถึงระบบในยานอวกาศ และสถานีอวก.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและไจโรสโคป · ดูเพิ่มเติม »

ไนโตรเจน

นโตรเจน (Nitrogen) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ N และเลขอะตอม 7 เป็นอโลหะที่มีสถานะเป็นแก๊สที่มีอยู่ทั่วไป โดยปกติไม่มีสี กลิ่น หรือรส แต่ละโมเลกุลมี 2 อะตอม ไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบของบรรยากาศ ของโลกถึง 78 เปอร์เซ็นต์ และเป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อในสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ไนโตรเจนยังเป็นส่วนประกอบในสารประกอบที่สำคัญหลายชนิด เช่น กรดอะมิโน แอมโมเนีย กรดไนตริก และสารจำพวกไซยาไน.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและไนโตรเจน · ดูเพิ่มเติม »

เมตร

มตร อักษรย่อ ม. (mètre → metre meter The Metric Conversion Act of 1975 gives the Secretary of Commerce of the US the responsibility of interpreting or modifying the SI for use in the US., m) เป็นหน่วยฐานเอสไอของความยาวในหน่วยเอสไอ แต่เดิมนิยามว่าหนึ่งเมตรเท่ากับ 1/10,000,000 ของระยะทางจากเส้นศูนย์สูตรของโลกไปยังขั้วโลกเหนือวัดจากเส้นรอบวงที่ผ่านเมืองปารีส แต่เนื่องจากความแม่นยำทางมาตรวิทยา ที่มีมากขึ้น ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2526 ความยาวหนึ่งเมตรจึงถูกนิยามไว้ให้เท่ากับความยาวที่แสงเดินทางได้ในสุญญากาศ ในช่วงเวลา วินาที.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเมตร · ดูเพิ่มเติม »

เมตรต่อวินาที

มตรต่อวินาที (meter per second หรือย่อว่า m/s) เป็นหน่วยเอสไอ ของทั้งความเร็วและอัตราเร็วที่เป็นสเกลาร์ และเวกเตอร์ เป็นค่าของระยะทางวัดเป็นเมตรเทียบกับเวลาเป็นวินาที สัญลักษณ์นิยมเขียนในรูปภาษาอังกฤษว่า m/s หรือ m s-1.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเมตรต่อวินาที · ดูเพิ่มเติม »

เยอรมัน

อรมัน หรือ เยอรมนี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดวิน ฮับเบิล

เอ็ดวิน พาเวลล์ ฮับเบิล (Edwin Powell Hubble; 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1889 - 28 กันยายน ค.ศ. 1953) นักดาราศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งในศตวรรษที่ 20 ศึกษารายละเอียดของดาวฤกษ์แต่ละดวงในกาแล็กซี เอ็ม 33 ซึ่งเป็นกาแล็กซีเพื่อนบ้าน พบว่าดาวฤกษ์เหล่านี้อยู่นอกกาแล็กซี่ของเราออกไป หลังจากที่ฮับเบิลได้พิสูจน์ว่ามีกาแล็กซีอื่นอีกจำนวนมาก เขายังได้พิสูจน์อีกว่า กาแล็กซีเหล่านี้ กำลังเคลื่อนที่ห่างออกไป เมื่อกาแล็กซีอื่นเคลื่อนที่ห่างออกไปหรือเคลื่อนที่เข้าหากาแล็กซีของเรา แสงที่สังเกตเห็นจากกาแล็กซีเหล่านี้ จะเป็นสีอื่นที่แตกต่างไปจากตอนที่ยังไม่ได้เคลื่อนที่ กล้องโทรทรรศน์ฮุกเกอร์ ขนาด 100 นิ้ว ที่เมาท์วิลสัน ซึ่งฮับเบิลใช้ตรวจจับเรดชิฟต์ และค้นพบการขยายตัวของเอกภพ ถ้ากาแล็กซีเคลื่อนที่ห่างออกไปจะปรากฏมีสีแดงขึ้น เรียกว่า กาแล็กซีมีการเขยื้อนไปทางสีแดงหรือ "เรดชิฟต์" (redshift) ถ้าเคลื่อนที่เข้าหาเรา กาแล็กซีจะปรากฏมีสีน้ำเงินขึ้น เรียกว่า เขยื้อนไปทางสีน้ำเงินหรือ "บลูชิฟต์" (blueshift) ปรากฏการณ์เปลี่ยนสีนี้ เรียกว่า ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ ฮับเบิลใช้ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์วัดความเร็วของกาแล็กซีต่างๆ และค้นพบความสัมพันธ์เหลือเชื่อที่ว่า กาแล็กซียิ่งอยู่ไกลยิ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงขึ้น นั่นคือเขาค้นพบว่า อัตราเร็วของกาแล็กซีเป็นปฏิภาคโดยตรงกับระยะห่าง ปัจจุบันเรียกว่า กฎของฮับเบิล กฎนี้แสดงว่าเอกภพทั้งหมดกำลังมีขนาดโตขึ้น อนึ่ง ภาพถ่ายแรกที่ได้จากกล้องฮับเบิล ถูกเปรียบเทียบเป็นภาพโมนาลิซ่าแห่งวงการดาราศาสตร์ อเอ็ดวิน ฮับเบิล อเอ็ดวิน ฮับเบิล หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐมิสซูรี หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐอิลลินอยส์.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเอ็ดวิน ฮับเบิล · ดูเพิ่มเติม »

เอเรียล 3

วเทียมเอเรียล 3 เอเรียล 3 (Ariel 3) เป็นดาวเทียมจำลองดวงแรกที่ออกแบบและสร้างโดยสหราชอาณาจักร ขึ้นสู่อวกาศจากฐานทัพอากาศแวนเดนเบิร์กเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1967 โดยใช้ยานสอดแนม.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเอเรียล 3 · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ อี. เวบบ์

มส์ เอ็ดวิน เวบบ์ (James Edwin Webb, 7 ตุลาคม 1906 - 27 มีนาคม 1992) เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลอเมริกันที่ทำงานเป็นผู้บริหารคนที่สองขององค์กรนาซา ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่ 14 กุมภาพัน..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเจมส์ อี. เวบบ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจอรัลด์ ฟอร์ด

อรัลด์ รูดอล์ฟ ฟอร์ด จูเนียร์ (ภาษาอังกฤษ: Gerald Rudolph Ford, Jr.) (14 กรกฎาคม ค.ศ. 1913 – 26 ธันวาคม ค.ศ. 2006) เป็นประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา คนที่ 38 ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1974 จนถึงวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1977 และเป็นรองประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนที่ 40 ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเจอรัลด์ ฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เจเพ็ก

(JPEG) คือรูปแบบการบีบอัดแฟ้มภาพแบบสูญเสีย โดยยังให้เสียความละเอียดน้อยที่สุด รูปแบบแฟ้มสำหรับวิธีการนี้ได้แก.jpeg,.jpg,.jpe,.jfif,.jfi (อาจจะเป็นตัวเล็กหรือตัวใหญ่ก็ได้) รูปแบบแฟ้ม JPEG นี้ เป็นรูปแบบแฟ้มที่ใช้กันในการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนรูปภาพบนเวิลด์ไวด์เว็บมากที่สุด โดยเฉพาะภาพถ่าย เนื่องจากสามารถเก็บความละเอียดสูงได้โดยใช้ขนาดไฟล์ที่เล็ก สามารถเก็บภาพสีได้หลากหลายระดับความแม่นยำของสี(Bit Depth) ความสามารถในการย่อขนาดไฟล์ของแฟ้ม JPEG นั้นเกิดจากการใช้เทคนิคการย่อขนาดภาพแบบการบีบอัดคงข้อมูลหลัก (Lossy Compression) หรือการบีบอัดแบบมีความสูญเสียทำให้ไม่นิยมใช้กับภาพที่เป็นลายเส้นหรือไอคอนต่าง ๆ เนื่องจากจะไม่ได้ประสิทธิภาพเท่าการเก็บในรูปแบบอื่น อย่าง PNG หรือ GIF การบีบอัดของ JPEG นั้นจะใช้เทคนิคที่เรียกว่า DCT (Discrete Cosine Transform) ซึ่งเป็นการแปลงค่าความสว่างของภาพให้อยู่ในรูปแบบเชิงความถี่ (Frequency Domain) ทำให้สามารถเลือกแทนค่าของสัมประสิทธิ์หรือในที่นี้คือแอมพลิจูดของค่าความถี่ต่างๆ ได้โดยอาศัยตัวแปรที่มีนัยสำคัญที่ต่างกันได้ การที่สามารถลดนัยสำคัญของค่าตัวเลขลงไปได้ทำให้สามารถลดขนาดของหน่วยความจำหรือขนาดไฟล์ที่ใช้เก็บตามไปได้ ชื่อ JPEG เดิมย่อมาจาก Joint Photographic Experts Group กลุ่มผู้พัฒนามาตรฐาน JPEG, JPEG 2000, และ JPEG XR.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเจเพ็ก · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องวัดความสว่างความเร็วสูง

รื่องวัดความสว่างความเร็วสูง (High Speed Photometer; HSP) เป็นเครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์ชิ้นหนึ่งที่ติดตั้งอยู่บนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ออกแบบมาเพื่อตรวจวัดค่าความสว่าง (brightness) และขั้วแม่เหล็กของวัตถุท้องฟ้าหลายชนิด สามารถสังเกตการณ์ได้ในช่วงความยาวคลื่นของอัลตราไวโอเลต แสงที่ตามองเห็น และอินฟราเรด เครื่องวัดความสว่างความเร็วสูงเป็นอุปกรณ์ตัวหนึ่งของกล้องฮับเบิลที่ติดตั้งไปตั้งแต่การขึ้นสู่อวกาศครั้งแรก แต่ไม่สามารถใช้งานได้สำเร็จเนื่องจากปัญหาการรับภาพของกล้อง ในภารกิจซ่อมบำรุงที่ 1 เมื่อเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเครื่องวัดความสว่างความเร็วสูง · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องแก้ไขภาพกล้องโทรทรรศน์อวกาศ

มนุษย์อวกาศกำลังติดตั้งเครื่องแก้ไขภาพกล้องโทรทรรศน์อวกาศ ในระหว่างภารกิจซ่อมบำรุงที่ 1 เครื่องแก้ไขภาพกล้องโทรทรรศน์อวกาศ (Corrective Optics Space Telescope Axial Replacement; COSTAR) เป็นเครื่องมือที่ออกแบบขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาความคลาดทรงกลมของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ซึ่งเป็นสาเหตุให้การจับภาพสำหรับเครื่องมือวัดอื่นๆ มีความคลาดเคลื่อนไปหมด เครื่อง COSTAR สร้างโดยบริษัทบอลล์แอโรสเปซ นำขึ้นไปติดตั้งแทนที่เครื่องวัดความสว่างความเร็วสูง (High Speed Photometer; HSP) ในระหว่างภารกิจซ่อมบำรุงกล้องฮับเบิลครั้งที่ 1 เมื่อปี ค.ศ. 1993 สำหรับอุปกรณ์วัดที่สร้างขึ้นใหม่หลังจากนั้น ได้มีการออกแบบเพื่อชดเชยค่าความคลาดทรงกลมนี้ได้ด้วยตัวเองแล้ว เครื่องแก้ไขภาพกล้องโทรทรรศน์อวกาศจะถูกถอดออกจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลในภารกิจซ่อมบำรุงครั้งที่ 5 ในปี ค.ศ. 2009 เพื่อจะติดตั้งสเปกโตรกราฟต้นกำเนิดจักรวาลแทนที.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเครื่องแก้ไขภาพกล้องโทรทรรศน์อวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

เซลล์แสงอาทิตย์

ซลล์แสงอาทิตย์ หรือ โซลาร์เซลล์ (solar cell) หรือ เซลล์สุริยะ หรือ เซลล์โฟโตโวลตาอิก (Photovoltaic cell) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าซึ่งทำหน้าที่แปลงพลังงานแสงหรือโฟตอนเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยตรงโดยปรากฏการณ์โฟโตโวลตาอิก นั่นก็คือ คุณสมบัติของสารเช่น ค่าความต้านทาน แรงดัน และกระแส จะเปลี่ยนไปเมื่อมีแสงตกกระทบโดยไม่ต้องอาศัยแหล่งจ่ายไฟภายนอก และเมื่อต่อโหลดให้ จะทำให้เกิดกระแสไหลผ่านโหลดนั้นได้.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเซลล์แสงอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

เซ็นเซอร์นำทางความละเอียดสูง

ซ็นเซอร์นำทางความละเอียดสูง (Fine Guidance Sensor; FGS) เป็นเครื่องมือวัดตัวหนึ่งบนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ทำหน้าที่ให้ข้อมูลการกำหนดตำแหน่งซึ่งมีความละเอียดสูงสำหรับใช้ในระบบควบคุมองศาสังเกตการณ์ของกล้องดูดาว เซ็นเซอร์นำทางความละเอียดสูงจะมีติดตั้งบนกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์ ด้วย แต่ใช้วิธีการทางเทคนิคที่แตกต่างกัน.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเซ็นเซอร์นำทางความละเอียดสูง · ดูเพิ่มเติม »

เนบิวลากระดูกงูเรือ

นบิวลากระดูกงูเรือ (Carina Nebula) หรือรู้จักกันดีในชื่อ เนบิวลใหญ่ในกระดูกงูเรือ, เนบิวลากระดูกงูเรืออีต้า หรือNGC 3372 เป็นเนบิวลาสว่างขนาดใหญ่ที่อยู่รอบ ๆ กระจุกดาวเปิด Eta Carinae และHD 93129A สองดาวส่วนใหญ่และสว่างในทางช้างเผือกของเราอยู่ในหมู่พวกเขา เนบิวลานี้อยู่ห่างระหว่างประมาณ 6,500 กับ 10,000 ปีแสงจากโลก ปรากฏอยู่ในกลุ่มดาวกระดูกงูเรือ และตั้งอยู่ในแขนกระดูกงูเรือ-คนยิงธนู เนบิวลานี้เป็นเนบิวลาประเภทดาวฤกษ์ O เนบิวลานี้เป็นเนบิวลาเป็นหนึ่งในเนบิวล่ากระจายแสงที่ใหญ่ที่สุดในท้องฟ้าของเรา แม้ว่ามันจะเป็นบางส่วนสี่เท่าที่มีขนาดใหญ่และแม้กระทั่งสว่างกว่าเนบิวลาที่โด่งดัง คือ เนบิวลานายพราน เนบิวลากระดูกงูเรือ เป็นที่รู้จักกันมากน้อย เนื่องจากตำแหน่งห่างไกลในซีกใต้ ค้นพบโดยนีกอลา หลุยส์ เดอ ลากาย ในปี 1751–52 จากที่แหลมกู๊ดโฮป.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเนบิวลากระดูกงูเรือ · ดูเพิ่มเติม »

เนบิวลาอินทรี

นบิวลาอินทรี (Eagle Nebula; หรือวัตถุท้องฟ้าของเมสสิเยร์หมายเลข 16; M16; หรือ NGC 6611) เป็นกระจุกดาวเปิดอายุน้อยในกลุ่มดาวงู และเป็นหนึ่งในบรรดาวัตถุท้องฟ้าที่มีชื่อเสียง เป็นที่สังเกตเห็นได้ง่าย ผู้ค้นพบคือ ฌอง-ฟิลิปป์ เดอ เชโซส์ (Jean-Philippe de Cheseaux) ในราวปี..

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเนบิวลาอินทรี · ดูเพิ่มเติม »

เนบิวลานายพราน

นบิวลานายพราน (Orion Nebula; หรือที่รู้จักในชื่อ วัตถุเมสสิเยร์ M42 หรือ NGC 1976) เป็นเนบิวลาแห่งหนึ่งอยู่ทางใต้ของเข็มขัดโอไรออนในกลุ่มดาวนายพราน ถือเป็นหนึ่งในเนบิวลาสว่างที่สุดและสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เนบิวลานายพรานอยู่ห่างออกไปประมาณ 1,270±76 ปีแสง ถือเป็นย่านกำเนิดดาวฤกษ์มวลมากที่อยู่ใกล้กับโลกมากที่สุด เนบิวลานายพรานมีขนาดกว้างประมาณ 24 ปีแสง บันทึกที่เก่าแก่ที่สุดที่อ้างถึงเนบิวลาแห่งนี้เรียกมันว่า เนบิวลาใหญ่ ในกลุ่มดาวนายพราน หรือ เนบิวลานายพรานใหญ่ อย่างไรก็ดียังมีบันทึกทางดาราศาสตร์ที่เก่าแก่กว่าเรียกมันว่า เอนสิส (Ensis; หมายถึง "ดาบ") อันเป็นชื่อเดียวกันกับดาวเอตาโอไรออนิส ซึ่งเมื่อมองจากโลกจะเห็นอยู่ใกล้กันกับเนบิวล.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและเนบิวลานายพราน · ดูเพิ่มเติม »

11 สิงหาคม

วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและ11 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 มกราคม

วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและ13 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

13 มิถุนายน

วันที่ 13 มิถุนายน เป็นวันที่ 164 ของปี (วันที่ 165 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 201 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและ13 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

24 เมษายน

วันที่ 24 เมษายน เป็นวันที่ 114 ของปี (วันที่ 115 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 251 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและ24 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

29 มกราคม

วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและ29 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

3 สิงหาคม

วันที่ 3 สิงหาคม เป็นวันที่ 215 ของปี (วันที่ 216 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 150 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและ3 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 ตุลาคม

วันที่ 31 ตุลาคม เป็นวันที่ 304 ของปี (วันที่ 305 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 61 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลและ31 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Hubble Space Telescopeกล้องฮับเบิลกล้องโทรทรรศน์ฮับเบิลกล้องโทรทัศน์อวกาศฮับเบิลกล้องโทรทัศน์ฮับเบิล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »