สารบัญ
9 ความสัมพันธ์: ชาวฝรั่งเศสฟิสิกส์ภาษาฝรั่งเศสมหาวิทยาลัยปารีสราชสมาคมแห่งลอนดอนรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์อิเล็กตรอนองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาตินักฟิสิกส์
- ชาวฝรั่งเศสผู้ได้รับรางวัลโนเบล
- ทหารชาวฝรั่งเศสในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
ชาวฝรั่งเศส
วฝรั่งเศส (อังกฤษ: French, ฝรั่งเศส: Français) คือกลุ่มผสมของชาวเคลต์ ชาวเยอรมัน ชาวอิตาลี โดยมีประชากรประมาณ 85 ล้านคนทั่วโลก โดยมีประมาณ 66 ล้านคนในประเทศฝรั่งเศส ในสหรัฐอเมริกา 8.3-11 ล้านคน ในประเทศแคนาดา ประมาณ 4.7 ล้านคน และในประเทศแอฟริกาใต้ ประมาณ 2 ล้านคน และที่อื่นๆ ทั่วโลก โดยมีการขยายสังคมเพิ่มในช่วงการล่าอาณานิคม.
ดู หลุยส์ เดอ เบรยและชาวฝรั่งเศส
ฟิสิกส์
แสงเหนือแสงใต้ (Aurora Borealis) เหนือทะเลสาบแบร์ ใน อะแลสกา สหรัฐอเมริกา แสดงการแผ่รังสีของอนุภาคที่มีประจุ และ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง ขณะเดินทางผ่านสนามแม่เหล็กโลก ฟิสิกส์ (Physics, φυσικός, "เป็นธรรมชาติ" และ φύσις, "ธรรมชาติ") เป็นวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับ สสาร และ พลังงาน ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสสารกับพลังงาน รวมทั้งเป็นความรู้พื้นฐานที่นำไปใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิต และเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่มนุษย์ ตัวอย่างเช่น การนำความรู้พื้นฐานทางด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ไปใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ (โทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ) อย่างแพร่หลาย หรือ การนำความรู้ทางอุณหพลศาสตร์ไปใช้ในการพัฒนาเครื่องจักรกลและยานพาหนะ ยิ่งไปกว่านั้นความรู้ทางฟิสิกส์บางอย่างอาจนำไปสู่การสร้างเครื่องมือใหม่ที่ใช้ในวิทยาศาสตร์สาขาอื่น เช่น การนำความรู้เรื่องกลศาสตร์ควอนตัม ไปใช้ในการพัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่ใช้ในชีววิทยา เป็นต้น นักฟิสิกส์ศึกษาธรรมชาติ ตั้งแต่สิ่งที่เล็กมาก เช่น อะตอม และ อนุภาคย่อย ไปจนถึงสิ่งที่มีขนาดใหญ่มหาศาล เช่น จักรวาล จึงกล่าวได้ว่า ฟิสิกส์ คือ ปรัชญาธรรมชาติเลยทีเดียว ในบางครั้ง ฟิสิกส์ ถูกกล่าวว่าเป็น แก่นแท้ของวิทยาศาสตร์ (fundamental science) เนื่องจากสาขาอื่น ๆ ของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เช่น ชีววิทยา หรือ เคมี ต่างก็มองได้ว่าเป็น ระบบของวัตถุต่าง ๆ หลายชนิดที่เชื่อมโยงกัน โดยที่เราสามารถสามารถอธิบายและทำนายพฤติกรรมของระบบดังกล่าวได้ด้วยกฎต่าง ๆ ทางฟิสิกส์ ยกตัวอย่างเช่น คุณสมบัติของสารเคมีต่าง ๆ สามารถพิจารณาได้จากคุณสมบัติของโมเลกุลที่ประกอบเป็นสารเคมีนั้น ๆ โดยคุณสมบัติของโมเลกุลดังกล่าว สามารถอธิบายและทำนายได้อย่างแม่นยำ โดยใช้ความรู้ฟิสิกส์สาขาต่าง ๆ เช่น กลศาสตร์ควอนตัม, อุณหพลศาสตร์ หรือ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นต้น ในปัจจุบัน วิชาฟิสิกส์เป็นวิชาที่มีขอบเขตกว้างขวางและได้รับการพัฒนามาแล้วอย่างมาก งานวิจัยทางฟิสิกส์มักจะถูกแบ่งเป็นสาขาย่อย ๆ หลายสาขา เช่น ฟิสิกส์ของสสารควบแน่น ฟิสิกส์อนุภาค ฟิสิกส์อะตอม-โมเลกุล-และทัศนศาสตร์ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์พลศาสตร์ที่ไม่เป็นเชิงเส้น-และเคออส และ ฟิสิกส์ของไหล (สาขาย่อยฟิสิกส์พลาสมาสำหรับงานวิจัยฟิวชั่น) นอกจากนี้ยังอาจแบ่งการทำงานของนักฟิสิกส์ออกได้อีกสองทาง คือ นักฟิสิกส์ที่ทำงานด้านทฤษฎี และนักฟิสิกส์ที่ทำงานทางด้านการทดลอง โดยที่งานของนักฟิสิกส์ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาทฤษฎีใหม่ แก้ไขทฤษฎีเดิม หรืออธิบายการทดลองใหม่ ๆ ในขณะที่ งานการทดลองนั้นเกี่ยวข้องกับการทดสอบทฤษฎีที่นักฟิสิกส์ทฤษฎีสร้างขึ้น การตรวจทดสอบการทดลองที่เคยมีผู้ทดลองไว้ หรือแม้แต่ การพัฒนาการทดลองเพื่อหาสภาพทางกายภาพใหม่ ๆ ทั้งนี้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ภาคปฏิบัติ ขึ้นอยู่กับขีดจำกัดของการสังเกต และประสิทธิภาพของเครื่องมือวัด ถ้าเทคโนโลยีของเครื่องมือวัดพัฒนามากขึ้น ข้อมูลที่ได้จะมีความละเอียดและถูกต้องมากขึ้น ทำให้ขอบเขตของวิชาฟิสิกส์ยิ่งขยายออกไป ข้อมูลที่ได้ใหม่ อาจไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ทฤษฎีและกฎที่มีอยู่เดิมทำนายไว้ ทำให้ต้องสร้างทฤษฏีใหม่ขึ้นมาเพื่อทำให้ความสามารถในการทำนายมีมากขึ้น.
ภาษาฝรั่งเศส
ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.
ดู หลุยส์ เดอ เบรยและภาษาฝรั่งเศส
มหาวิทยาลัยปารีส
มหาวิทยาลัยปารีส (Université de Paris) หรือนามนัยเป็นที่รู้จักกันว่า ซอร์บอนน์ (บ้านประวัติศาสตร์) เป็นมหาวิทยาลัยในปารีส ฝรั่งเศส ก่อตั้งประมาณ..
ดู หลุยส์ เดอ เบรยและมหาวิทยาลัยปารีส
ราชสมาคมแห่งลอนดอน
นที่ตั้งของราชสมาคมแห่งลอนดอน ราชสมาคมแห่งลอนดอน (Royal Society หรือชื่อเต็มว่า The Royal Society of London for the Improvement of Natural Knowledge) เป็นสมาคมนักปราชญ์ทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ รวมถึง คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ในวิศวกรรม และวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีความเป็นไปได้ว่าเป็นสมาคมที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงอยู่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน..
ดู หลุยส์ เดอ เบรยและราชสมาคมแห่งลอนดอน
รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ.
ดู หลุยส์ เดอ เบรยและรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
อิเล็กตรอน
page.
ดู หลุยส์ เดอ เบรยและอิเล็กตรอน
องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..
ดู หลุยส์ เดอ เบรยและองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
นักฟิสิกส์
นักฟิสิกส์ คือนักวิทยาศาสตร์ผู้ศึกษาหรือปฏิบัติงานด้านฟิสิกส์ นักฟิสิกส์ศึกษาปรากฏการณ์ทางกายภาพอย่างกว้างขวางในทุกขนาด ตั้งแต่อนุภาคระดับต่ำกว่าอะตอม (sub atomic particles) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของสสาร (ฟิสิกส์ของอนุภาค) ไปจนถึงพฤติกรรมของวัตถุในเอกภพโดยรวม (จักรวาลวิทยา หรือ Cosmology) วิชาฟิสิกส์มีมากมายหลายสาขา แต่ละสาขามีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะในสาขานั้น.
ดู หลุยส์ เดอ เบรยและนักฟิสิกส์
ดูเพิ่มเติม
ชาวฝรั่งเศสผู้ได้รับรางวัลโนเบล
- กาเบรียล ลิพพ์มานน์
- ชาร์ล หลุยส์ อาลฟงส์ ลาฟว์ร็อง
- ซูว์ลี พรูว์ดอม
- ฌ็อง แปแร็ง
- ฌ็อง-ปอล ซาทร์
- ฌ็อง-มารี กุสตาฟว์ เลอ เกลซีโย
- ปาทริก มอดียาโน
- ปีแยร์ กูว์รี
- ฟร็องซัว โมรียัก
- มารี กูว์รี
- วิกตอร์ กรีญาร์
- หลุยส์ เดอ บรอย
- อานาตอล ฟร็องส์
- อาลแบร์ กามูว์
- อาลแบร์ แฟร์
- อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี
- อ็องตวน อ็องรี แบ็กแรล
- อ็องรี แบร์กซอน
- เฟรเดริก มิสทราล
ทหารชาวฝรั่งเศสในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
- ฌอร์ฌ บรัก
- ฌ็อง เดอ ลัทร์ เดอ ตาซีญี
- ฟร็องซิส ปูแล็งก์
- มาร์แซล-มอริส การ์ป็องตีเย
- ลาซาเร ปอนติเชลลี
- หลุยส์ เดอ บรอย
- เจอโรม เค. เจอโรม
- เรอเน กอตี
- เอมีล บอแรล
ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
- กาเบรียล ลิพพ์มานน์
- กูลเยลโม มาร์โกนี
- จอร์จ สมูท
- จอห์น ครอมเวล เมเทอร์
- ฌ็อง แปแร็ง
- ดักลาส โอเชอร์ออฟ
- ปีเตอร์ ฮิกส์
- ปีเตอร์ เซมัน
- ปีแยร์ กูว์รี
- พอล ดิแรก
- ฟร็องซัว อ็องแกลร์
- มารี กูว์รี
- ริชาร์ด ไฟน์แมน
- วิลเลียม ชอกลีย์
- ว็อล์ฟกัง เพาลี
- ว็อล์ฟกัง เพาล์
- สุพรหมัณยัน จันทรเศขร
- หลุยส์ เดอ บรอย
- ออตโต สเติร์น
- อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
- อาร์เทอร์ คอมป์ตัน
- อาร์เธอร์ แมคโดนัลด์
- อาร์โน อัลลัน เพนเซียส
- อาลแบร์ แฟร์
- อาเธอร์ ลีโอนาร์ด ชอว์โลว์
- อิซิโดร์ ไอแซก ราบี
- อ็องตวน อ็องรี แบ็กแรล
- ฮันส์ เบเทอ
- เจ. เจ. ทอมสัน
- เดนนิส กาบอร์
- เอนรีโก แฟร์มี
- แจ็ก คิลบี
- แฮ็นดริก โลเรินตส์
- โรเบิร์ต วูดโรว์ วิลสัน
- ไฮเกอ กาเมอร์ลิง โอนเนิส
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Louis de Broglie