โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์

ดัชนี สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์

รสิทธิ์ สัตยวงศ์ (พ.ศ. 2466 - พ.ศ. 2526) อดีตนักร้อง นักแสดงชาวไท.

35 ความสัมพันธ์: ชาลี อินทรวิจิตรบุญช่วย หิรัญสุนทรพ.ศ. 2466พ.ศ. 2487พ.ศ. 2526พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพันท้ายนรสิงห์ฝนใต้ภาวะหัวใจวายรัตนาภรณ์ อินทรกำแหงรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดีล้วน ควันธรรมวิไลวรรณ วัฒนพานิชศาลาเฉลิมกรุงสมยศ ทัศนพันธ์สวลี ผกาพันธุ์สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์สุพรรณ บูรณะพิมพ์สุภาพบุรุษเสือไทยสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7สงครามโลกครั้งที่สองสง่า อารัมภีรหม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุลหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจ่าดับ จำเปาะฉลอง ภักดีวิจิตรปรียา รุ่งเรืองน้ำตาแสงไต้แม่นากพระโขนงแผ่นเสียงเพลงลูกกรุงเล็บครุฑเสนีย์ บุษปะเกศเสน่ห์ โกมารชุน

ชาลี อินทรวิจิตร

ลี อินทรวิจิตร เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง ผู้กำกับภาพยนตร์ ได้รับยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้ประพันธ์คำร้อง-ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปีพุทธศักราช 2536 มีผลงานประพันธ์คำร้องเพลงที่มีชื่อเสียง ได้แก่ สดุดีมหาราชา, แสนแสบ, ท่าฉลอม, สาวนครชัยศรี, ทุ่งรวงทอง, มนต์รักดอกคำใต้, แม่กลอง, เรือนแพ, จำเลยรัก ฯลฯ เดิมชื่อ สง่า อินทรวิจิตร เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และชาลี อินทรวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

บุญช่วย หิรัญสุนทร

ญช่วย หิรัญสุนทร เป็นชาวกรุงเทพฯ เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และบุญช่วย หิรัญสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และพ.ศ. 2466 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

พันท้ายนรสิงห์

รูปเคารพพันท้ายนรสิงห์ ที่ศาลพันท้ายนรสิงห์ ภายในอุทยานประวัติศาสตร์พันท้ายนรสิงห์ พันท้ายนรสิงห์ เป็นนายท้ายเรือในรัชสมัยพระเจ้าเสือ หรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ตอนปลายอาณาจักรอยุธยา โดยพันท้ายนรสิงห์เป็นผู้มีชื่อเสียงด้านความซื่อสัต.

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และพันท้ายนรสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

ฝนใต้

ฝนใต้ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2513 สร้างจากบทประพันธ์ของ เทอด ธรณินทร์ กำกับการแสดงโดย ฉลอง ภักดีวิจิตร นำแสดงโดย สมบัติ เมทะนี และ เพชรา เชาวราษฎร์ โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ได้นำนักร้องลูกทุ่งชื่อดังเช่น กังวาลไพร ลูกเพชร เพลิน พรหมแดน มาร่วมแสดง ออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และฝนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะหัวใจวาย

วะหัวใจวาย หรือภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure (HF)) มักใช้หมายถึงภาวะหัวใจวายเรื้อรัง (chronic heart failure (CHF)) เกิดเมื่อหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดเพียงพอเพื่อคงการไหลของเลือดเพื่อสนองความต้องการของร่างกาย คำว่า โรคหัวใจเลือดคั่ง (Congestive heart failure (CHF) หรือ congestive cardiac failure (CCF)) มักใช้แทนคำว่า หัวใจวายเรื้อรัง ได้ อาการและอาการแสดงโดยทั่วไปมีหายใจกระชั้น เหนี่อยเกิน และขาบวม การหายใจกระชั้นมักเลวลงเมื่อออกกำลังกาย เมื่อนอนราบและเมื่อกลางคืนขณะหลับ มักมีข้อจำกัดปริมาณการออกกำลังกายที่ผู้ป่วยทำได้ แม้รักษาอย่างดีแล้ว สาเหตุทั่วไปของภาวะหัวใจวาย ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งรวมกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (อาการหัวใจล้ม) ก่อนหน้านี้, ความดันโลหิตสูง, หัวใจห้องบนเต้นแผ่วระรัว (atrial fibrillation), โรคลิ้นหัวใจ (valvular heart disease), และโรคกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiomyopathy) สาเหตุเหล่านี้ทำให้เกิดอาการหัวใจล้มโดยเปลี่ยนโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ของหัวใจ มีอาการหัวใจล้มสองประเภทหลัก คือ อาการหัวใจล้มจากการทำหน้าที่ผิดปรกติของหัวใจห้องล่างซ้ายและอาการหัวใจล้มโดยมีเศษส่วนการสูบฉีดปกติแล้วแต่ว่าหัวใจห้องล่างซ้ายมีความสามารถหดตัวหรือไม่ หรือความสามารถคลายตัวของหัวใจ ปกติจัดลำดับความรุนแรงของโรคจากความสามารถการออกกำลังกายที่ลดลง ภาวะหัวใจวายมิใช่อย่างเดียวกับกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดหรือหัวใจหยุด (ซึ่งเลือดหยุดไหลทั้งหมด) ฦโรคอื่นซึ่งอาจมีอาการคล้ายกับภาวะหัวใจวาย เช่น โรคอ้วน ปัญหาไต ปัญหาตับ โลหิตจาง และโรคไทรอยด์ เป็นต้น การวินิจฉัยภาวะนี้อาศัยประวัติของอาการและการตรวจร่างกาย ยืนยันด้วยการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (echocardiography) การตรวจเลือด การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการฉายรังสีทรวงอกอาจมีประโยชน์เพื่อตัดสินสาเหตุเบื้องหลัง การรักษาขึ้นอยู่กับความรุนแรงและสาเหตุของโร.

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และภาวะหัวใจวาย · ดูเพิ่มเติม »

รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง

รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง (25 กันยายน พ.ศ. 2475 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2549) ชื่อเล่น แดง ชื่อจริง รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง ณ ราชสีมา นักแสดงอาวุโส อดีตนางเอกยอดนิยมในช่วงปี..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และรัตนาภรณ์ อินทรกำแหง · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี หรือ รางวัลตุ๊กตาทอง เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่างๆ ในแต่ละปี โดยหอการค้ากรุงเทพ จัดพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2500 และผลัดเปลี่ยนผู้จัดทุกปีจนถึง พ.ศ. 2508 หลังจากนั้นได้งดไปหลายปี สมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทยได้จัดงานประกาศผลรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดีอีกครั้ง ตั้งแต่ครั้งที่ 9 (นับเป็นครั้งที่หนึ่งใหม่) ประจำปี..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

ล้วน ควันธรรม

ล้วน ควันธรรม ล้วน ควันธรรม เป็นนักร้อง และนักแต่งเพลง เป็นนักเขียนบทและเป็นผู้จัดละครวิท.

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และล้วน ควันธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วิไลวรรณ วัฒนพานิช

วิไลวรรณ วัฒนพานิช (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 -) นักแสดงหญิงชาวไทย เจ้าของฉายา "ดาราเจ้าน้ำตา" และเธอเป็นนักแสดงนำหญิงคนแรกที่ได้รับรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง เมื่อปี พ.ศ. 2500.

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และวิไลวรรณ วัฒนพานิช · ดูเพิ่มเติม »

ศาลาเฉลิมกรุง

ลาเฉลิมกรุง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า โรงมหรสพหลวง ศาลาเฉลิมกรุง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เฉลิมกรุง เป็นโรงมหรสพหลวง ตั้งอยู่ริมถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นโรงภาพยนตร์ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ศาลาเฉลิมกรุงได้วางศิลาฤกษ์โดย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และศาลาเฉลิมกรุง · ดูเพิ่มเติม »

สมยศ ทัศนพันธ์

รือตรี สมยศ ทัศนพันธุ์ (14 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2529) นักร้อง นักแต่งเพลงไทยสากล.

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และสมยศ ทัศนพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

สวลี ผกาพันธุ์

วลี ผกาพันธุ์ มีชื่อจริงว่า เชอร์รี่ เศวตนันทน์ (สกุลเดิม: ฮอฟแมนน์; 6 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุง และนักแสดงชาวไทย สวลีมีผลงานบันทึกเสียงประมาณ 1,500 เพลง และเธอได้รับการยกย่องเป็นปูชนียบุคคลของวงการเพลงลูกกรุง สวลีถือเป็นนักแสดงรุ่นบุกเบิกของวงการภาพยนตร์ไทยยุคฟิล์ม 16 มิลลิเมตร มีผลงานแสดงสร้างชื่อจากภาพยนตร์เรื่อง ดรรชนีนาง รับบทเป็น "ดรรชนี" และเป็นนักแสดงคนแรกที่รับบทเป็น "พจมาน สว่างวงศ์" จากละครเวทีเรื่อง บ้านทรายทอง สวลีเป็นนักร้องสตรีรางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทานมากที่สุดถึง 4 ครั้ง และรับรางวัลศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง)..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และสวลี ผกาพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (Crown Property Bureau; อักษรย่อ: CPB) เป็นนิติบุคคล มีหน้าที่จัดการ ดูแลรักษา จัดหาผลประโยชน์ และดำเนินการอื่นใดอันเกี่ยวกับทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ (ซึ่งประกอบด้วย ทรัพย์สินส่วนพระองค์ และทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์) ตามที่พระมหากษัตริย์ทรงมอบหมาย ยกสถานะขึ้นเป็นนิติบุคคลเมื่อปีวันที่ 18 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

สุพรรณ บูรณะพิมพ์

รรณ บูรณะพิมพ์ (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2528) นักแสดง และผู้กำกับอาวุโส ผู้มีผลงานทั้งแสดง และกำกับละครเวที ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ผู้แสดงประกอบฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม 2 ปีติดต่อกัน ในปี พ.ศ. 2505 และ พ.ศ. 2506 และได้รับการยกย่อง รางวัลเกียรติคุณทางการแสดง ครั้งที่ 4 ประจำปี..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และสุพรรณ บูรณะพิมพ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุภาพบุรุษเสือไทย

รุษเสือไทย เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และสุภาพบุรุษเสือไทย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 9ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 86 ตอน 10 ง หน้า 241, 4 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สง่า อารัมภีร

ง่า อารัมภีร สง่า อารัมภีร หรือ ครูแจ๋ว (แจ๋ว วรจักร์) (11 ธันวาคม พ.ศ. 2464 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2542) เป็นนักเขียนและศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล) เมื่อ..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และสง่า อารัมภีร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล

หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล (14 มกราคม พ.ศ. 2452 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519) หรือ ท่านชายขาว ช่างภาพ ผู้กำกับ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ไทย หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมแสง ดิศกุล ณ อยุธยา เสกสมรสกับ หม่อมลดา ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: อินทรกำแหง ณ ราชสีมา) หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุลอยู่ในวงการภาพยนตร์ไทยตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นผู้กำกับภาพ ภาพยนตร์ รวมไทย ภาพยนตร์ปลุกระดมการเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส ของกรมสาธารณสุขและกรมรถไฟ กำกับภาพ ภาพยนตร์ กะเหรี่ยงไทรโยค (2478) ของขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต ท่านเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท ปรเมรุภาพยนตร์ เพื่อสร้างภาพยนตร์ สุภาพบุรุษเสือไทย ซึ่งอำนวยการสร้างโดยแท้ ประกาศวุฒิสาร โดยท่านเป็นผู้กำกับ และประสบความสำเร็จสูงสุดในปี..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และหม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)

หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) (Film Archive (Public Organization)) เป็นหน่วยงานของรัฐ ซึ่งคล้ายกับหอสมุด พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ แต่เป็นหอสมุด พิพิธภัณฑ์ และหอศิลป์ ที่เก็บภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ตลอดจนอะไรก็ตาม ที่เกี่ยวเนื่องกับภาพยนตร์และวีดิทัศน์ ทั้งนี้เพื่อ อนุรักษ์ไว้เป็นทรัพย์สินทางปัญญาและมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และนำออกบริการ ให้ประชาชนได้ศึกษา ค้นคว้าและชื่นชม หรือใช้ประโยชน์อย่างสะดวกและกว้างขวาง ภาพยนตร์ เป็นสื่อแห่งการเรียนรู้ที่ดีที่สุดอย่างหนึ่งของมนุษย์ และอาจยังให้เกิดปัญญาได้ ภาพยนตร์จึงอาจเปรียบดังศาสนา หอภาพยนตร์ก็คือ วัด ซึ่งมีโรงหนังเป็นโบสถ์ มีพิพิธภัณฑ์เป็นวิหาร หรือเจดีย์ มีห้องเย็นเก็บรักษาฟิล์มเป็นหอไตร มีศูนย์ให้บริการ ค้นคว้าเป็นศาลาการเปรียญ ตราใหม่ของหอภาพยนตร์ คือ ธรรมจักรภาพยนตร์ ซึ่งหมุนวนไปเพื่อเผยแผ่สัจธรรม สำหรับมวลมนุษย์ หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)เป็นองค์การมหาชนของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จ่าดับ จำเปาะ

ับ จำเปาะ เป็นตัวละครสมมติ สร้างโดย ส. อาสนจินดา ซึ่งปรากฏอยู่ในภาพยนตร์ชุด หนึ่งต่อเจ็ด ภาพยนตร์ไทยแนวแอ็คชั่นนักเลง-ตลก ช่วงปี..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และจ่าดับ จำเปาะ · ดูเพิ่มเติม »

ฉลอง ภักดีวิจิตร

ฉลอง ภักดีวิจิตร หรือชื่อจริงว่า บุญฉลอง ภักดีวิจิตร เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้กำกับละครโทรทัศน์ มีฉายาที่วงการภาพยนตร์ขนานนามให้คือ "เจ้าพ่อหนังแอ็คชั่น" มีผลงานกำกับภาพยนตร์ไทยอย่าง เรื่อง “ทอง 1” และ “ทอง 2” ฉลองได้นำเอา “ดาราฝรั่ง-ต่างชาติ” มาร่วมงาน เช่น เกรก มอริส-คริส ท็อฟ (ชายงาม ออสเตรีย)-แจน ไมเคิล วินเซนต์-คริสโตเฟอร์ มิทชั่ม-โอลิเวียร์ ฮัสซีย์ และ นางเอกหนังเวียดนาม เถิ่ม ถุย หั่ง ทางด้านงานละคร ฉลองเป็นผู้บุกเบิก ละครแนวแอ็คชั่นของทางช่อง 7 สี คือ “ระย้า” นำแสดงโดยพีท ทองเจือ กับฉัตรมงคล บำเพ็ญ และยังมีผลงานกำกับละคร อย่าง ดาวคนละดวง รักซึมลึก อังกอร์ 1 ทอง 5 ล่าสุดขอบฟ้า ฝนใต้ มาทาดอร์ อังกอร์ 2 เหล็กไหล ฝนเหนือ ชุมแพ ทอง 9 ผ่าโลกบันเทิง เสาร์ 5 นักฆ่าขนตางอน อุบัติรักเกาะสวรรค์ เสาร์ 5 ตอน ทับทิมสยาม พ่อตาปืนโต ดุจตะวันดั่งภูผา เลือดเจ้าพระยา แข่งรักนักซิ่ง หวานใจนายจิตระเบิด ทอง 10 ทิวลิปทอง พ่อตาปืนโต ตอน หลานข้าใครอย่าแตะ ฉลอง ภักดีวิจิตร ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปี..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และฉลอง ภักดีวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

ปรียา รุ่งเรือง

ปรียา รุ่งเรือง (พ.ศ. 2483 - 2527) นักแสดงชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากบทนางเอกภาพยนตร์เรื่อง แม่นาคพระโขนง ของ เสน่ห์ โกมารชุน เจ้าของฉายา "นางเอกอกเขาพระวิหาร" เข้าสู่วงการแสดงจากการประกวดเทพี ในพิธีมอบรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501 ได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ แสดงภาพยนตร์เรื่องแรก แผ่นดินใคร (2502) ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับกรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร ระหว่างไทยกับกัมพูชา และได้รับบทนำครั้งแรกเป็นหัวหน้าโจรในชุดลายเสือ เรื่อง นางเสือดาว (2508) คู่กับ แมน ธีระพล ปรียา มักได้แสดงบทที่มีฉากวาบหวาม นับเป็นนางเอกคนแรกๆ ที่แสดงบททำนองนี้ รวมทั้งเป็นนางแบบชุดว่ายน้ำตีพิมพ์ลงในปฏิทินของสุราแม่โขง ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับเสน่ห์ โกมารชุน มีบุตรสาวคือ ยอดสร้อย โกมารชุน ออกจากวงการในช่วง..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และปรียา รุ่งเรือง · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตาแสงไต้

ลงน้ำตาแสงไต้ เป็นเพลงประกอบละครเรื่อง "พันท้ายนรสิงห์" ที่จัดแสดงที่ศาลาเฉลิมไทย เมื่อ..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และน้ำตาแสงไต้ · ดูเพิ่มเติม »

แม่นากพระโขนง

ลแม่นากพระโขนง ในวัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตสวนหลวงมิใช่เขตพระโขนง แม่นากโขนง หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า แม่นาก (โดยมากสะกดด้วย ค.ควาย) เป็นผีตายทั้งกลมที่เป็นที่รู้จักกันดีของไทย เชื่อกันว่าเรื่องนี้เกิดขึ้นจริงในสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันมีศาลแม่นากตั้งอยู่ที่วัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และแม่นากพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นเสียง

แผ่นเสียง คือวัสดุที่ก่อให้เกิดเสียง ทำจากวัสดุหลายชนิดและขน.

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และแผ่นเสียง · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกกรุง

ลงลูกกรุง เป็นเพลงไทยสากลประเภทหนึ่ง โดยเป็นเพลงที่บอกเล่า ถ่ายทอด ความรู้สึกของสังคม และคนเมืองหลวง ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การถ่ายทอดอารมณ์ การขับร้อง น้ำเสียง ของกลุ่มนักร้อง นักแต่งเพลง และนักดนตรีจะมีรูปแบบ ประณีต ละเอียดอ่อน ออกมานุ่มนวล เนื้อร้องจะมีลักษณะเป็นร้อยแก้ว ร้อยกรอง มีความหมายสลับซับซ้อน ยอกย้อน.

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และเพลงลูกกรุง · ดูเพิ่มเติม »

เล็บครุฑ

ล็บครุฑ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และเล็บครุฑ · ดูเพิ่มเติม »

เสนีย์ บุษปะเกศ

นีย์ บุษปะเกศ (23 ธันวาคม พ.ศ. 2466 — 8 มกราคม พ.ศ. 2520) เป็นนักเขียนเรื่องสั้น และนวนิยายที่มีชื่อเสียง อีกทั้งยังเป็นนักจัดรายการวิทยุ ผู้สร้างละครเวที ละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และนักเขียนบท ทั้งนี้ เขาเป็นพ่อของคฑาหัสต์ บุษปะเกศ เสนีย์ บุษปะเกศ เกิดที่ตำบลวรจักร กรุงเทพ เป็นบุตรคนโตของขุนประมวลกสิภูมิ กับนางประทิน บุษปะเกศ มีน้องชายชื่อ กมล บุษปะเกศ จบชั้นมัธยม 6 จากโรงเรียนวัดไตรมิตรวิทยาราม รับราชการกรมที่ดิน และกรมศุลกากร อย่างละหนึ่งปี แล้วจึงออกจากราชการ เสนีย์ เข้าทำงานในวงการหนังสือพิมพ์ มีผลงานเขียนตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์หลายฉบับ เช่น บางกอกรายวัน บางกอกรายสัปดาห์ สยามนิกร สยามสมัย สกุลไทย สกุลไชย รัคนโกสินทร์ เริงรมย์ แล้วหันไปเป็นนักจัดรายการวิทยุ นำข่าวจากหนังสือพิมพ์มาอ่านออกอากาศทางวิทยุ รายการตอบคำถามไขปัญหาชีวิตและความรัก ชื่อรายการ "สี่มุมบ้าน" ออกอากาศทางสถานีวิทยุทหารอากาศ ทุ่งมหาเมฆ ต่อมาย้ายไปออกอากาศทางสถานีวิทยุกองปราบเสียงสามยอด ชื่อรายการ "สี่มุมเมือง" และทำละครวิทยุร่วมกับภรรยา คือ รัชนี จันทรังษี ที่มีชื่อเสียงคือเรื่อง "ตะวันยอแสง" เสนีย์ มีผลงานเขียนเรื่องสั้นประมาณ 1000 เรื่อง มีนวนิยายที่มีชื่อเสียง เช่น เรื่อง "เพลิงโลกันต์" "สวรรค์หาย" "สาปสวรรค์" "ตะวันยอแสง" "รุ่งทิพย์" "ล้างแผ่นดิน" "ทรชนคนดี" โดยเฉพาะเรื่องที่มีชื่อเสียง ถูกนำไปสร้างละครวิทยุ และภาพยนตร์ไทย คือเรื่อง สุภาพบุรุษเสือไทย สร้างชื่อเสียงให้กับ สุรสิทธิ์ สัตยวงศ์ ที่แสดงเป็นพระเอก เสนีย์ บุษปะเกศ ยังมีผลงานช่วยเหลือสังคม เป็นหัวหน้าชมรม "ไทยช่วยไทย" เพื่อช่วยเหลือประชาชน และทหาร ตำรวจ ตามชายแดน และเป็นนายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย คนที่ 4 ระหว่างปี..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และเสนีย์ บุษปะเกศ · ดูเพิ่มเติม »

เสน่ห์ โกมารชุน

น่ห์ โกมารชุน (14 กันยายน พ.ศ. 2466 - 4 กันยายน พ.ศ. 2514) นักแสดง นักพากย์ และผู้กำกับภาพยนตร์ เคยเป็นนักร้อง นักแต่งเพลงและนักแสดงตลก เสน่ห์ โกมารชุน เกิดที่ย่านตลาดพลู ฝั่งธนบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวน 5 คนของนายสำเนียง และหม่อมเตาะ โกมารชุน มีพี่ชายชื่อ เสนอ โกมารชุน (ซึ่งมีบุตรชายกับจุรี โอศิริ คือ นพพล โกมารชุน) และเป็นนักพากย์ภาพยนตร์เช่นกัน เสน่ห์ โกมารชุน เริ่มเข้าสู่วงการหลังเรียนจบชั้นมัธยมปลาย โดยสมัครเป็นนักร้องประจำวง ของกองดุริยางค์ทหารเรือ รุ่นเดียวกับสุรสิทธิ์ สัตยวงศ์, สมยศ ทัศนพันธุ์, สมศักดิ์ เทพานนท์ และปิติ เปลี่ยนสายสืบ ต่อมาเริ่มมีชื่อเสียงจากการร้องเพลงล้อเลียน และแสดงตลกหน้าเวทีลิเกคณะหอมหวล และออกมาตั้งคณะลิเกของตัวเอง ชื่อ "เสน่ห์ศิลป์" แสดงออกอากาศทางสถานีวิทยุ กรมโฆษณาการ และแสดงละครย่อยสลับฉากที่โรงภาพยนตร์ศาลาเฉลิมบุรี เสน่ห์ โกมารชุน เริ่มสร้างภาพยนตร์ และแสดงด้วยตัวเอง เรื่องแรกที่รับบทพระเอก คือเรื่อง "เพียงดวงใจ" ต่อมาหันมารับบทตลกเพียงอย่างเดียว และเป็นนักพากย์ที่มีชื่อเสียง ประจำอยู่ที่ศาลาเฉลิมบุรี และศาลาเฉลิมกรุง นอกจากนี้ ยังเคยมีผลงานการแต่งและขับร้องเพลงแนวชีวิตที่มีเนื้อหาเสียดสีสังคม การเมือง เช่นเดียวกับนักร้องชื่อเสียงโด่งดังในอดีตคือ ครูแสงนภา บุญราศรี และคำรณ สัมบุญณานนท์ด้วย จนกระทั่งถูกผู้มีอิทธิพลในยุคนั้นข่มขู่เอาชีวิต ทำให้เขาต้องเลิกร้องเพลงแนวชีวิตไปในที่สุด ช่วงบั้นปลายชีวิต เสน่ห์ โกมารชุน ไม่ประสบความสำเร็จ จึงเสียชีวิตอย่างโดดเดี่ยวที่บ้านไม้เก่าๆ หลังวัดเทพธิดาราม เมื่อวันที่ 4 กันยายน..

ใหม่!!: สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์และเสน่ห์ โกมารชุน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สุรสิทธิ์ สัตยวงศ์สุรสิทธิ์ สัตย์วงศ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »