โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง

ดัชนี รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง

รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง (25 กันยายน พ.ศ. 2475 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2549) ชื่อเล่น แดง ชื่อจริง รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง ณ ราชสีมา นักแสดงอาวุโส อดีตนางเอกยอดนิยมในช่วงปี..

123 ความสัมพันธ์: บ่วงบ่วงบรรจถรณ์บ่วงหงส์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีบ้านเล็กพ.ศ. 2475พ.ศ. 2493พ.ศ. 2496พ.ศ. 2498พ.ศ. 2499พ.ศ. 2500พ.ศ. 2501พ.ศ. 2502พ.ศ. 2503พ.ศ. 2504พ.ศ. 2505พ.ศ. 2506พ.ศ. 2507พ.ศ. 2508พ.ศ. 2509พ.ศ. 2511พ.ศ. 2514พ.ศ. 2515พ.ศ. 2516พ.ศ. 2517พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2520พ.ศ. 2521พ.ศ. 2522พ.ศ. 2523พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2526พ.ศ. 2527พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542...พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2549พ.ศ. 2555พ.ศ. 2593พ.ศ. 2597พล นิกร กิมหงวนพิษสวาทกระสือ (ละครโทรทัศน์)ญาติกาฐานันดรศักดิ์ไทยมะเร็งมายาพิศวาสรอยมารรัตนาวดีรากนครารางวัลพระราชทานพระสุรัสวดีรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502ละอองดาววัยอลวนวุ่นวายสบายดีวนาลีวนิดาศักดิ์เกษม หุตาคมสลักจิตสองฝั่งคลองสายโลหิตสาวเครือฟ้าสี่แผ่นดินสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานีโทรทัศน์ไอทีวีหม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณหนึ่งในทรวงอารมณ์ผู้กองยอดรักผู้ใหญ่ลีกับนางมาจังหวัดพระนครจังหวัดสงขลาจังหวัดตรังจำเลยรักทวิภพขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุนดวงใจพิสุทธิ์ดาวเรืองดิน น้ำ ลม ไฟคมพยาบาทคุณหญิงนอกทำเนียบค่าของคนตะวันทอแสงปริศนา (นวนิยาย)ปลาบู่ทองปะการังสีดำปักธงไชยปีกมารนางสาวไทยนางสิบสองนเรศวรมหาราชแม่แม่หญิงแรงเทียนโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรังโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ไม่สิ้นไร้ไฟสวาทเสือขาวเสือใบเจ้าสาวของอานนท์เขตปทุมวันเคหาสน์สีแดง25 กันยายน5 กรกฎาคม ขยายดัชนี (73 มากกว่า) »

บ่วง

วง เป็นงานเขียนนวนิยายแนวพีเรียด-ดราม่า-สยองขวัญ ของ จุลลดา ภักดีภูมินทร์ (หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ) โดยมีการสร้างเป็นละครโทรทัศน์ถึง 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2535 และ พ.ศ. 2555 โดยออกอากาศทางไทยทีวีสีช่อง 3 บ่วง ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ 2 ครั้ง โดยครั้งแรกฉายทางช่อง 3 สร้างโดย ฟิกเกอร์ วัน กำกับการแสดงโดย สุพล วิเชียรฉาย ในปี พ.ศ. 2535 - 2536 นำแสดงโดย เล็ก ไอศูรย์, ปวีณา ชารีฟสกุล, พิมพ์ผกา เสียงสมบุญ และครั้งที่ 2 ฉายทางช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2555 สร้างโดย บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น กำกับการแสดงโดย ภวัต พนังคศิริ นำแสดงโดย พัชฏะ นามปาน, ศรีริต้า เจนเซ่น, ศิรพันธ์ วัฒนจินดา, ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ, เอสเธอร์ สุปรีย์ลีลา, สุคนธวา เกิดนิมิตร, ชไมพร จตุร.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและบ่วง · ดูเพิ่มเติม »

บ่วงบรรจถรณ์

วงบรรจถรณ์ เป็นชื่อของหนังสือนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ เรื่องเกี่ยวกับความรักต่างมิติเวลาของแพรนวลหญิงสาวไทยยุคปัจจุบัน โดยมีเตียงอาถรรพณ์โบราณของบิดาที่เชียงรายเป็นสื่อนำแพรนวลไปตื่นที่เชียงตุงและพบรักกับจายหลาวเปิงชายหนุ่มสูงศักดิ์ในมิติเวลา 50-60 ปีก่อน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและบ่วงบรรจถรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

บ่วงหงส์

วงหงส์ เป็นนวนิยายของ กิ่งฉัตร หรือ ปาริฉัตร ศาลิคุปต์ ซึ่งเป็นภาคต่อจาก ตามรักคืนใจ ถูกสร้างเป็นละครโทรทัศน์มาแล้วถึง 3 ครั้ง ด้วยกัน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและบ่วงหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

บ้านเล็ก

"บ้านเล็ก" เป็นซิงเกิลแรกจากอีพีอัลบั้ม เพลงที่นานมาแล้วไม่ได้ฟัง ขับร้องและประพันธ์โดยอภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข นักร้อง นักแต่งเพลง และสถาปนิกชาวไทย ออกจำหน่ายในรูปแบดิจิตอลดาวโหลดเมื่อวันที 9 เมษายน พ.ศ. 2553 ผ่านทางไอทูนส์ สังกัดค่ายเลิฟอีสในเครือของโซนี่ มิวสิค (ประเทศไทย) การประพันธ์เพลง "บ้านเล็ก" ได้รับแรงบันดาลใจจากข้อความหนึ่งในหนังสือ ลอนดอนไดอารี่ ของนิ้วกลม ที่ว่า "ของสวยๆงามๆบางทีแค่ได้ยืนดูชื่นชมอมยิ้มกรุ้มกริ่มอยู่ในใจก็รู้สึกดีแล้ว ความรู้สึกดีๆ จะเปลี่ยนไปก็เมื่ออยากมีมันมาไว้ใกล้ๆตัว แต่ต้องปวดหัวเมื่อเห็นเลขราคาแล้วรู้ว่ามิอาจครอบครอง รวมไปถึงของมีค่าบางอย่างที่เมื่อได้เป็นเจ้าของกลับต้องหาวิธีป้องกันไม่ให้สูญหายหรือไม่ให้มีใครมาขโมยไป ไม่เพียงแค่สิ่งของ แต่ยังหมายถึงคนที่น่าหมายปองบางคนด้วย เราอาจไม่จำเป็นต้องเป็นเจ้าของทุกอย่าง แต่ยังชื่นชมความงามได้เสมอบ้านมีพื้นที่จำกัดฝากของสวยๆไว้ที่ตลาดหรือห้างก็ได้มั๊ง" จึงเปรียบเสมือนกับบ้านขนาดเล็ก หากนำผู้หญิงที่หมายปองมาอยู่ด้วย ก็อาจเป็นความทุกข์แก่คนทั้งสอง siamzone.com เรียกข้อมูลวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและบ้านเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2499 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2523 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2541 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2544 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2593

ทธศักราช 2593 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2050 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2593 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2597

ทธศักราช 2597 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2054 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพ.ศ. 2597 · ดูเพิ่มเติม »

พล นิกร กิมหงวน

ล นิกร กิมหงวน สามเกลอเปลี่ยนทางมาที่นี่ ความหมายอื่นดูที่ สามเกลอ (แก้ความกำกวม) พล นิกร กิมหงวน หรือ สามเกลอ เป็นหัสนิยาย ประพันธ์โดย ป. อินทรปาลิต ที่จัดพิมพ์อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2482-2511 มีมากมายเกินกว่าพันตอน (ตอนแรกคือตอน อายผู้หญิง) เนื้อหาออกไปในแนวสนุกสนานครื้นเครง มีการหยอกล้อกันไปมา จัดเป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน นอกจากรูปแบบหนังสือแล้ว พล นิกร กิมหงวน ยังเคยทำเป็นภาพยนตร์ออกฉายอีกด้วย รวมทั้งละครโทรทัศน์ อีกด้ว.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพล นิกร กิมหงวน · ดูเพิ่มเติม »

พิษสวาท

ษสวาท เป็นนวนิยาย บทประพันธ์ของทมยันตี แนวลึกลับสยองขวัญและดราม่า นวนิยายเรื่องนี้ตีพิมพ์ลงในนิตยสารสกุลไทยรายสัปดาห์ในเวลานั้น(เกือบ 50 ปีที่แล้วจากปีพ.ศ. 2559) เป็นเรื่องราวความรักข้ามภพของวิญญาณผู้เฝ้าสมบัติแผ่นดินผู้เปี่ยมด้วยความรักและหน้าที่ ทำให้เกิดอาถรรพณ์ต่างๆนานาตามมาด้วยแรงของกฏแห่งกรรมและผลลัพธ์ของการทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ซึ่งอยู่ในแกนของความจงรักภักดีซื่อสัตย์ต่อชาติและแผ่นดิน สุดท้ายก็ลงเอยด้วยปรัชญาที่ว่า รักที่แท้จริง คือการเสียสละและให้อภัย บทประพันธ์เรื่องนี้ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์, ละครวิทยุและละครโทรทัศน์มาก่อนปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและพิษสวาท · ดูเพิ่มเติม »

กระสือ (ละครโทรทัศน์)

กระสือ เป็นละครโทรทัศน์ไทย เป็นบทประพันธ์ของ บุราณ ที่เค้าโครงสร้างจาก "ผีกระสือ" ผีพื้นบ้านไทย ถูกนำมาสร้างครั้งแรกในปี พ.ศ. 2520 - พ.ศ. 2522 ในรูปแบบภาพยนตร์โทรทัศน์ สร้างโดยดาราฟิล์ม กำกับการแสดงโดย มานพ สัมมาบัต นำแสดงโดย รัชนู บุญชูดวง, เสกศักดิ์ สันติพงษ์, ละออ นพพรรณ, ป๊อกเขี้ยวเพชร, สวาท นาคศิริ, เมธี ด้วงบุญ, บังเละ, สุดเฉลียว เกิดผล ออกฉายทาง ช่อง 7 มีความยาวถึง 200 ตอน จากความโด่งดังจึงถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ ในปี พ.ศ. 2525 กำกับโดย โกมินทร์ นำแสดงโดย พอเจตน์ แก่นเพชร, อาภาพร กรทิพย์, พิศมัย วิไลศักดิ์, รสริน จันทรา, รุ่งนภา กลมกล่อม, สามารถ พึ่งกิจ เข้าฉายเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2525 ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2538 ผลิตโดย บริษัท ดาราวิดีโอ จำกัด กำกับการแสดงโดย จรูญ ธรรมศิลป์ นำแสดงโดย ศตวรรษ ดุลยวิจิตร, รชนีกร พันธุ์มณี, มนฤดี ยมาภัย, สุวัจนี ไชยมุกสิก, น้ำเงิน บุญหนัก ออกอากาศเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2537 - 21 มีนาคม พ.ศ. 2538 และครั้งที่ 3 ในปี พ.ศ. 2555 ได้นำกลับมาสร้างใหม่ ใช้ชื่อเรื่อง กระสือจำศีล นำแสดงโดย วรนันท์ พร้อมมูล, สุทัศสรณ์ สัจจะภูริภูมิ, รติพงษ์ ภู่มาลี, น้ำทิพย์ เสียมทอง, เยาวเรศ นิศากร, ฉัตรมงคล บำเพ็ญ ออกอากาศทางช่อง ทีวี จ๊ะทิงจา ออกอากาศเมื่อวันที่ 1 มีนาคม - 3 สิงหาคม 2555.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและกระสือ (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

ญาติกา

ญาติกา เป็นผลงานนวนิยายของโสภาค สุวรรณ นวนิยายเรื่องนี้ดำเนินเรื่องต่อจาก สายโลหิต โดยผ่านตัวละครเป็นรุ่นๆจากรุ่นพ่อบวรกับแม่นวล ที่ความรักมีอุปสรรค์มาก มาถึงรุ่นของแม่สร้อยทองและรุ่นลูกชายของแม่สร้อยทองที่ออกตามหาดาบจนไปถึงพม่า ดาบที่ตกทอดมาตั้งแต่รุ่นขุนไกรใน สายโลหิต นวนิยายดังกล่าวได้รับการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยบริษัท ดาราวิดีโอ เมื่อปี พ.ศ. 2539 บทโทรทัศน์โดยศัลยา นำแสดงโดย ยุทธพิชัย ชาญเลขา รับบท บวร กัญญารัตน์ จิรรัชชกิจ รับบท แม่นวล นุติ เขมะโยธิน รับบท ชวาล กมลชนก โกมลฐิติ รับบท สร้อยทอง สวิช เพชรวิเศษศิริ รับบท ชวาลา และ กุลสตรี ศิริพงษ์ปรีดา รับบท ม่านแก้ว ออกอากาศต่อจากสายโลหิต ทุกวันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ เวลา 20.30 น. ตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม - 23 มีนาคม..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและญาติกา · ดูเพิ่มเติม »

ฐานันดรศักดิ์ไทย

ในประเทศไทยมี "ฐานันดรศักดิ์" หลายประเภท ดังนี้.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและฐานันดรศักดิ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มะเร็ง

มะเร็ง หรือทางการแพทย์ว่า เนื้องอกร้าย (malignant tumor) เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้องอกร้าย และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้ผ่านระบบน้ำเหลืองหรือกระแสเลือด แต่ไม่ใช่เนื้องอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง เพราะเนื้องอกไม่ร้ายจะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงและไม่กระจายไปทั่วร่างกาย อาการและอาการแสดงของโรคมะเร็งที่เป็นไปได้รวมถึง:..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและมะเร็ง · ดูเพิ่มเติม »

มายาพิศวาส

มายาพิศวาส เป็นบทประพันธ์ของ จินตวีร์ วิวัธน์ แนวดราม่า-แฟนตาซี สร้างเป็นละครโทรทัศน์ 2 ครั้งด้วยกัน ครั้งแรกสร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและมายาพิศวาส · ดูเพิ่มเติม »

รอยมาร

ราศรี บาเล็นซิเอก้า | network.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและรอยมาร · ดูเพิ่มเติม »

รัตนาวดี

รัตนาวดี เป็นนวนิยายจากปลายปากกาของ ว.ณ ประมวญมารค (นามปากกาของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต) โดยนวนิยายเรื่องนี้เป็นเรื่องสุดท้ายในชุดนวนิยายไตรภาคซึ่งอีก 2 เรื่องคือ ปริศนา และ เจ้าสาวของอานนท.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและรัตนาวดี · ดูเพิ่มเติม »

รากนครา

รากนครา เป็นนวนิยายที่แต่งโดย ปิยะพร ศักดิ์เกษม เริ่มลงพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารสกุลไทย พิมพ์รวมเล่มครั้งแรก พ.ศ. 2540 เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ดินแดนล้านนา หัวเมืองเหนือของสยามในสมัยรัชกาลที่ 5 และถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์หลายครั้ง รากนครา เป็นเรื่องราวของ เจ้าศุขวงศ์ แห่งเมืองเชียงพระคำ เกิดตกหลุมรัก เจ้าแม้นเมือง หญิงสาวผู้ยึดมั่นรักแผ่นดินและแน่วแน่ในอุดมการณ์ของบรรพบุรุษ ที่ต้องการให้เชียงเงินได้เป็นเอกราชจากสยาม ซึ่งมีน้องสาวต่างแม่คือ เจ้ามิ่งหล้า หญิงสาวผู้เอาแต่ใจและอิจฉาริษยาที่พี่สาวมีชายหนุ่มมาตกหลุมรัก เจ้ามิ่งหล้าจึงวางอุบายดึงเจ้าศุขวงศ์มาใกล้ชิดตัวและวางแผนทำให้เจ้าแม้นเมืองเข้าใจผิด จนเกิดเป็นรักสามเส้า โศกนาฏกรรมทางความรักจึงอุบัติขึ้น โดยมีแผ่นดินเกิดเป็นเดิมพัน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและรากนครา · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี

รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี หรือ รางวัลตุ๊กตาทอง เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลในวงการผลิตภาพยนตร์ไทย ที่มีผลงานดีเด่นที่สุดในสาขาต่างๆ ในแต่ละปี โดยหอการค้ากรุงเทพ จัดพิธีมอบรางวัลนี้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2500 และผลัดเปลี่ยนผู้จัดทุกปีจนถึง พ.ศ. 2508 หลังจากนั้นได้งดไปหลายปี สมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทยได้จัดงานประกาศผลรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดีอีกครั้ง ตั้งแต่ครั้งที่ 9 (นับเป็นครั้งที่หนึ่งใหม่) ประจำปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502

การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

ละอองดาว

ละอองดาว อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและละอองดาว · ดูเพิ่มเติม »

วัยอลวน

วัยอลวน เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและวัยอลวน · ดูเพิ่มเติม »

วุ่นวายสบายดี

วุ่นวายสบายดี เป็นนวนิยายไทย จากบทประพันธ์โดยนามปากกาของ "ชมัยภร แสงกระจ่าง" ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์เมื่อปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและวุ่นวายสบายดี · ดูเพิ่มเติม »

วนาลี

วนาลี เป็นนวนิยายไทยแนวรัก บทประพันธ์ของ สราญจิตต์ ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2498 และต่อมาอีกหลายครั้ง ครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2553 สำนักพิมพ์แสงดาว ได้นำมาตีพิมพ์ใหม่ เป็นเล่มปกอ่อน วนาลี ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2502 นำแสดงโดย เกศริน ปัทมวรรณ และ อาคม มกรานนท์ ครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2529 นำแสดงโดย พิม วัฒนพานิช และ ไพโรจน์ สังวริบุตร ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างสูง ต่อมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์อีก 2 ครั้ง ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2533 นำแสดงโดย ศรัณยู วงศ์กระจ่าง และ ลลิตา ปัญโญภาส ประสบความสำเร็จอย่างสูงเช่นกัน และครั้งที่สองในปี พ.ศ. 2554 นำแสดงโดย ณัฐวุฒิ สกิดใจ และ ลักษณ์นารา เปี้ยท.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและวนาลี · ดูเพิ่มเติม »

วนิดา

วนิดา เป็นบทประพันธ์นวนิยายของ วรรณสิริ ตีพิมพ์ในนิตยสารวารสารศัพท์ ว. วินิจฉัยกุลเคยวิเคราะห์ไว้ในในวารสารสมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย และพิมพ์รวมเล่มในหนังสือ ปากไก่วรรณกรรม ของสำนักพิมพ์ดอกหญ้า เมื่อ..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและวนิดา · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์เกษม หุตาคม

ักดิ์เกษม หุตาคม (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2529) นักเขียนนวนิยายรัก โศกนาฏกรรม และนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง เจ้าของนามปากกา อิงอร ได้รับฉายาว่า นักเขียนปลายปากกาจุ่มน้ำผึ้ง ศักดิ์เกษม หุตาคม เกิดที่จังหวัดสงขลา อาศัยอยู่กับมารดาและยาย เพราะกำพร้าบิดาตั้งแต่เด็ก จบชั้นมัธยมจากโรงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา แล้วเข้ามาหางานทำที่กรุงเทพ พร้อมกับเรียนกฎหมายที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จนจบอนุปริญญาเมื่อ..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและศักดิ์เกษม หุตาคม · ดูเพิ่มเติม »

สลักจิต

ลักจิต เป็นนวนิยายไทย เป็นบทประพันธ์ของ บุษยมาส บทประพันธ์นี้มีการนำมาสร้างเป็นภาพนยตร์และละครโทรทัศน์อีกหลายต่อหลายครั้ง บทประพันธ์เรื่องนี้สร้างเป็นภาพยนตร์ 2 ครั้ง โดยครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์ นำแสดงโดย ชนะ ศรีอุบล ออกฉายเมื่อปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและสลักจิต · ดูเพิ่มเติม »

สองฝั่งคลอง

องฝั่งคลอง เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์เล่มที่ 3 ของ ว.วินิจฉัยกุล ว่าด้วยเรื่องชีวิตของสตรีในสมัยร.6-ร.ปัจจุบัน ว่าต้องมีสิ่งสำคัญในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงคือ คุณธรรม และความรู้ เพื่อฝ่ามรสุมแห่งชีวิตได้อย่างปลอดภัย ผ่านเรื่องราวของทับทิม หญิงสาวผู้ฝักใฝ่ในการศึกษา ยึดมั่นในคุณธรรมและอดทนต่อความยากลำบาก นวนิยายเรื่อง "สองฝั่งคลอง" เริ่มเหตุการณ์ตั้งแต..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและสองฝั่งคลอง · ดูเพิ่มเติม »

สายโลหิต

ลหิต เป็นผลงานนวนิยายของโสภาค สุวรรณ ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกลงในนิตยสารสตรีสาร เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ชาติไทยปลายกรุงศรีอยุธยาก่อนเสียกรุง ข้าศึกเรื่องนี้เกิดขึ้นเพราะการไม่เตรียมพร้อมและประมาทของพลเมือง ความขัดแย้งสืบเนื่องมาจากความไม่สามัคคี การทำลายฆ่าฟันกันเอง อันเป็นผลให้คนดีมีฝีมือลดน้อยลง เป็นสาเหตุสำคัญที่อาจเป็นอุทาหรณ์สอนใจ ไม่ให้ประวัติศาสตร์ซ้ำรอยอีกครั้ง แม้ว่าจะต่างวาระก็ตาม.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและสายโลหิต · ดูเพิ่มเติม »

สาวเครือฟ้า

วเครือฟ้า เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและสาวเครือฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

สี่แผ่นดิน

ี่แผ่นดิน เป็นวรรณกรรมของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช มีเนื้อหาอิงประวัติศาสตร์ไทยในช่วงรัชกาลที่ 5 ถึงรัชกาลที่ 8 นับเป็นวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเล่มหนึ่งของไทย โดยเขียนเป็นตอน ๆ ลงหนังสือพิมพ์สยามรัฐ รายวันระหว่างปี 2494-2495 ติดต่อกันเป็นเวลาปีเศษ ต่อมาได้รวบรวมพิมพ์เป็นเล่มขึ้นครั้งแรกในปี 2496 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการนิตยสารถนนหนังสือ ฉบับวันที่ 1 กรกฎาคม 2528 เรื่องลักษณะของตัวละครว่า "แม่พลอยเป็นคนที่ไม่มีสิทธิของผู้หญิงเลย ไม่เคยเรียก ไม่เคยร้อง แล้วแม่พลอยนี่เป็นคนที่เชยที่สุด คุณจะว่านางเอกก็นางเอก แต่เป็นคนเชยที่สุด แม่พลอยถ้าแกอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ แกก็ลูกเสือชาวบ้าน แกจะไปรำละครบ้าๆ บอๆ ถึงขนาดนั้น" และ "แม่พลอยเป็นคนเชยมากนะครับ เป็นคนอยู่ในกรอบ ใจดี ถูกจับคลุมถุงชนแต่งงานก็หลงรักคุณเปรมได้ ตามคติโบราณนั้นไม่เป็นไรหรอก แต่งไปก่อนแล้วรักกันเองทีหลัง แม่พลอยเป็นอย่างนั้นทุกอย่าง ที่นี้คนอ่านคนไทย ปลื้มอกปลื้มใจ เห็นแม่พลอยเป็นคนประเสริฐเลิศลอย ก็เพราะคนไทยก็เป็นคนแบบนั้น ยังไม่ได้ไปถึงไหนเลย คนอ่านส่วนมากก็เป็นระดับแม่พลอย (หัวเราะ) โง่ฉิบหายเล..จะบอกให้..สี่แผ่นดินถึงได้ดัง (หัวเราะ)".

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและสี่แผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไอทีวี

นีโทรทัศน์ไอทีวี (Independent Television ชื่อย่อ: itv) เริ่มต้นออกอากาศอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 เวลา 19.00 น. โดยเริ่มต้นจากการนำเสนอ ข่าวภาคค่ำประจำวัน เพื่อตอกย้ำภาพลักษณ์ การเป็น สถานีโทรทัศน์เพื่อข่าวสาร และสาระความรู้ โดยผู้ประกาศข่าวคู่แรกของสถานี คือ กิตติ สิงหาปัด และ เทพชัย หย่อง ออกอากาศทางช่อง 26และช่อง 29 โดยมี สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) เป็นเจ้าของคลื่นความถี่ และผู้กำกับสัมปทาน เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 6 ที่ให้บริการแบบไม่ต้องเสียค่าบริการ แห่งประเทศไทย จนกระทั่งต้องยุติการออกอากาศ ตั้งแต่เวลา 24.00 น. ของวันพุธที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2550 เนื่องจากไม่สามารถจ่ายค่าสัมปทานส่วนต่างๆ และค่าปรับแก่ สปน.ได้ตามเวลาที่กำหน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและสถานีโทรทัศน์ไอทีวี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ

หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ (26 มกราคม พ.ศ. 2473 - 16 เมษายน พ.ศ. 2556) นักเขียนนวนิยาย เรื่องสั้น และสารคดีเกี่ยวชีวิตเจ้านายในวัง เจ้าของนามปากกา "ศรีฟ้า ลดาวัลย์" "สีฟ้า" และ "จุลลดา ภักดีภูมินทร์" ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและหม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งในทรวง

หนึ่งในทรวง เป็นบทประพันธ์ของ บุษยมาส ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ไทยครั้งแรกในรูปแบบในปี พ.ศ. 2506 สร้างโดย จินดาวรรณภาพยนตร์ กำกับโดย ศิริ ศิริจินดา นำแสดงโดย ไชยา สุริยัน, เพชรา เชาวราษฎร์, อดุลย์ ดุลยรัตน์, สักรินทร์ ปุญญฤทธิ์ และ ดอกดิน กัญญามาลย์ เข้าฉายวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2506 ที่โรงภาพยนตร์คาเธ่ย์ ต่อมาถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์อีก 3 ครั้ง ออกอากาศทางช่อง 3 โดยครั้งแรกในปี พ.ศ. 2535 นำแสดงโดย พีท ทองเจือ และ ขวัญฤดี กลมกล่อม ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2548 นำแสดงโดย ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์ และ เจนี่ เทียนโพธิ์สุวรรณ และครั้งที่ 3 ในปี พ.ศ. 2558 นำแสดงโดย จิรายุ ตั้งศรีสุข และ อุรัสยา เสปอร์บัน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและหนึ่งในทรวง · ดูเพิ่มเติม »

อารมณ์

ตัวอย่างอารมณ์พื้นฐาน ในทางจิตวิทยา ปรัชญา และสาขาย่อยอื่น ๆ อารมณ์ หมายถึงประสบการณ์ในความรู้สำนึกและอัตวิสัยที่ถูกกำหนดลักษณะเฉพาะโดยการแสดงออกทางจิตสรีรวิทยา ปฏิกิริยาทางชีววิทยา และสภาพจิตใจ อารมณ์มักจะเกี่ยวข้องและถูกจัดว่ามีอิทธิพลซึ่งกันและกันกับพื้นอารมณ์ พื้นอารมณ์แต่กำเนิด บุคลิกภาพ นิสัย และแรงจูงใจ เช่นเดียวกับที่ได้รับอิทธิพลจากฮอร์โมนและสารสื่อประสาท อาทิ โดพามีน นอราดรีนาลีน เซโรโทนิน ออกซิโทซิน และคอร์ซิทอล อารมณ์มักเป็นพลังขับดันเบื้องหลังพฤติกรรมไม่ว่าเชิงบวกหรือเชิงลบ Gaulin, Steven J. C. and Donald H. McBurney.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและอารมณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้กองยอดรัก

ผู้กองยอดรัก ยอดรักผู้กอง และ ผู้กองอยู่ไหน เป็นหนังสือนวนิยายไตรภาคของ กาญจนา นาคนันทน์ เป็นเรื่องราวของความรักของพลทหารกับผู้กองสาวเจ้าเสน่ห์ที่แฝงไว้ด้วยความสนุกสนาน ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มาแล้วหลายครั้ง ถูกนำมาสร้างทำเป็นภาพยนตร์ 2 ครั้ง (พ.ศ. 2516, พ.ศ. 2524) และละครโทรทัศน์ถึง 7 ครั้ง (พ.ศ. 2515, พ.ศ. 2522, พ.ศ. 2531, พ.ศ. 2538, พ.ศ. 2545, พ.ศ. 2550, พ.ศ. 2558) โดยแต่ละครั้งจะมีชื่อเรื่องต่างกัน เช่น ผู้กองยอดรัก, ยอดรักผู้กอง, ผู้กองยอดรัก – ยอดรักผู้กอง และ ผู้กองอยู่ไหน ผู้กองยอดรัก เป็นภาคแรก ที่จบถึงพลทหารพันได้หมั้นกับผู้กองสาวฉวีผ่อง ยอดรักผู้กอง เป็นภาคสอง ที่พลทหารพันไปสงครามเวียดนาม และกลับมาแต่งงานกับผู้กองสาวฉวีผ่อง ผู้กองอยู่ไหน เป็นภาคสาม ชีวิตหลังแต่งงานของทั้งสอง.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและผู้กองยอดรัก · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ใหญ่ลีกับนางมา

ผู้ใหญ่ลีกับนางมา เป็นนวนิยายของ กาญจนา นาคนันทน์ ที่แต่งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและผู้ใหญ่ลีกับนางมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนคร

รถรางในจังหวัดพระนครก่อนที่จะถูกยกเลิกไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในอดีต ตราประจำจังหวัดพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นจังหวัดในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตรัง

ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและจังหวัดตรัง · ดูเพิ่มเติม »

จำเลยรัก

นตร์จำเลยรัก ปี พ.ศ. 2506 ภาพยนตร์จำเลยรัก ปี พ.ศ. 2521 ละครจำเลยรัก ปี พ.ศ. 2531 ละครจำเลยรัก ปี พ.ศ. 2541 ละครจำเลยรัก ปี พ.ศ. 2551 จำเลยรัก เป็นบทประพันธ์ของ ชูวงศ์ ฉายะจินดา เป็นนวนิยายในปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและจำเลยรัก · ดูเพิ่มเติม »

ทวิภพ

ละครโทรทัศน์ ทวิภพ พ.ศ. 2537 ทวิภพ เป็นชื่อหนึ่งในบทประพันธ์ที่มีชื่อเสียงของ "ทมยันตี" ตีพิมพ์ลงในนิตยสารสกุลไทย ใช้เวลา 2 ปี ที่นำเสนอเรื่องราวของความรักต่างภพ ระหว่างอดีตและปัจจุบันมาบรรจบกัน โดยมีเรื่องของประวัติศาสตร์บ้านเมืองมาเกี่ยวข้องด้วย เพื่อให้มีอรรถรส ในการอ่านให้ดูเข้มขึ้น บทประพันธ์ชิ้นนี้ คุณทมยันตี ได้ใส่รายละเอียดของความเป็นอยู่ของบุคคลในสมัยเก่าได้อย่างแนบเนียนยิ่ง เป็นนวนิยายรักที่แฝงไปด้วยเรื่องของประวัติศาสตร์บ้านเมืองและเกร็ดความรู้ทางด้านความเป็นอยู่ของบุคคลสมัยนั้นเป็นอย่างดี ถึงแม้เยาวชนหรือวัยรุ่นอ่านก็เหมาะสม เพราะไม่ได้มีความรักที่เป็นเรื่องราวของทาง "เพศ" แต่เป็นเรื่องราวความรักที่มีความผูกพันข้ามชาติที่ดูลึกซึ้ง.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและทวิภพ · ดูเพิ่มเติม »

ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน

อหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน เป็นบทประพันธ์แนวนวนิยายของประภัสสร เสวิกุล เคยถูกนำไปดัดแปลงเป็นการแสดงมาแล้ว 3 ครั้ง.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน · ดูเพิ่มเติม »

ดวงใจพิสุทธิ์

วงใจพิสุทธิ์ เป็นนวนิยาย แนวโรแมนติก-ดราม่า จากบทประพันธ์โดยกิ่งฉัตร ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์แล้ว 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและดวงใจพิสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเรือง

วเรือง (L.) มีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่า คำปู้จู้ (ภาคเหนือ) นิยมปลูกตัดดอก เป็นดาวเรืองในกลุ่ม African หรือ American marigold เป็นพันธุ์ดอกใหญ่ พันธุ์ที่ใช้เป็นการค้าในประเทศไทยได้แก่พันธุ์ซอเวอริน (soverign) นอกจากนี้ยังมีสายพันธุ์ใหม่ ๆ ที่นำเข้ามาได้แก่ พันธุ์จาเมกาและอื่น ๆ อีกหลายพันธุ์ ดาวเรืองขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดเป็นหลัก อาจใช้การปักชำได้ แต่ต้นที่ได้จะให้ดอกที่มีขนาดเล็กกว.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและดาวเรือง · ดูเพิ่มเติม »

ดิน น้ำ ลม ไฟ

น น้ำ ลม ไฟ เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวบู๊แอคชั่นออกอากาศทุกวันศุกร์-อาทิตย์เวลา 20.20-22.30 น.ทางช่อง 3 เมื่อปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและดิน น้ำ ลม ไฟ · ดูเพิ่มเติม »

คมพยาบาท

มพยาบาท เป็นบทประพันธ์ของสุข หฤทัย (เทพ สุทธิพงศ์) เป็นเรื่องราวเปียและน้อย สองสาวที่ถูกเปลี่ยนตัวในตอนเด็ก เหตุเพราะความอิจฉาริษยาของผู้ใหญ่ ลูกคนจนกลายไปเป็นคนรวย ส่วนลูกคนรวยกลายกลับต้องมาเป็นลูกคนจน เริ่มแรกบทประพันธ์เป็นละครวิทยุ ของ คณะกมลพิศมัย ทาง ท.ท.ท. แสดงโดย สะอาด เปี่ยมพงษ์สานต์ และ อารีย์ นักดนตรี ต่อมาได้ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและคมพยาบาท · ดูเพิ่มเติม »

คุณหญิงนอกทำเนียบ

ณหญิงนอกทำเนียบ เป็นบทประพันธ์ของ ทมยันตี ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์แล้วอีก 4 ครั้ง ครั้งโดยครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์ในปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและคุณหญิงนอกทำเนียบ · ดูเพิ่มเติม »

ค่าของคน

องคน เป็นนวนิยายของ โรสราเรน หรือ ทมยันตี เป็นนวนิยายที่สะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าของชีวิต ความรัก คุณธรรมและความดีงาม ซึ่งซื้อหาไม่ได้ด้วยอำนาจเงิน ตีพิมพ์รวมเล่มในปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและค่าของคน · ดูเพิ่มเติม »

ตะวันทอแสง

ตะวันทอแสง เป็นละครโทรทัศน์ แนวละครดราม่า-โรแมนติก สร้างจากบทประพันธ์ของ ปิยะพร ศักดิ์เกษม ซึ่งเป็นนวนิยายเล่มแรกที่เขียนขึ้น สร้างเป็นละครโทรทัศน์มาแล้ว 2 ครั้ง ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ทั้งหม.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและตะวันทอแสง · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนา (นวนิยาย)

ปริศนา เป็นนวนิยายประพันธ์โดย ว. ณ ประมวญมารค (นามปากกาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต) จับใจความช่วงยุคปลายรัชกาลที่ 8 ถึงต้นรัชกาลที่ 9 โดยนิยายในชุดมีอีก 2 เรื่องที่เนื้อหาเกี่ยวเนื่องกัน คือ เจ้าสาวของอานนท์ และรัตนาวดี.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและปริศนา (นวนิยาย) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาบู่ทอง

ปลาบู่ทอง เป็นนิทานพื้นบ้านทางภาคกลางของไทย ที่เล่าโดยผ่านวิธีมุขปาฐะ, ร้อยแก้ว, ร้อยกรอง มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กสาวชาวบ้านผู้มีใจเมตตาได้แต่งงานกับกษัตริย์ เคยเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มาแล้วหลายครั้ง โดยเชื่อว่ามีที่มาจากชนชาติจ้วง-ลาว-ไท ในภาคใต้ของจีน เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ และในชนพื้นเมืองในหลายชาติของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ เช่น ลาว, เขมร, พม่า ก็มีเรื่องราวทำนองคล้ายกันนี้ แต่เรียกชื่อต่างออกไป และคล้ายคลึงกับนิทานพื้นบ้านของยุโรป คือ ซินเดอเรลลา ในปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและปลาบู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปะการังสีดำ

ปะการังสีดำ เป็นละครโทรทัศน์ สร้างจากบทประพันธ์ของ ประดิษฐ์ กัลย์จาฤก เป็นเรื่องราวของหญิงสาวซึ่งถูกฆ่าตายและดวงวิญญาณถูกสะกดไว้กับปะการัง ถูกสร้างเป็นละครแล้วถึง 3 ครั้ง โดยในครั้งแรกในปี พ.ศ. 2520 โดย ภัทราวดี มีชูธน ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2539 โดยกันตนา ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 และครั้งที่ 3 ในปี พ.ศ. 2561 โดยกันตนา เอฟโวลูชั่น ออกอากศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและปะการังสีดำ · ดูเพิ่มเติม »

ปักธงไชย

ปักธงไชย เป็นภาพยนตร์ไทยอิงประวัติศาสตร์ ระบบ 35 มม.ไวด์สกรีน สีอีสต์แมน (โกดั๊กโครม) เสียงพากย์ในภาพยนตร์เป็นของบริษัทละโว้ภาพยนตร์ บทพระนิพนธ์, บทภาพยนตร์และลำดับภาพโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ (ล.อัศวดารา) บันทึกเสียงโดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล อำนวยการสร้างและกำกับการแสดงโดยหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา นำแสดงโดยรัตนาภรณ์ อินทรกำแหง และสมยศ อินทรกำแหง ออกฉายครั้งแรกปลายปี พ.ศ. 2500 ที่โรงภาพยนตร์ศาลาเฉลิมกรุง ในช่วงต้อนรับปีใหม..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและปักธงไชย · ดูเพิ่มเติม »

ปีกมาร

ปีกมาร เป็นนวนิยาย บทประพันธ์โดย นันทนา วีระชน เจ้าของบทประพันธ์ชื่อดัง "แรงเงา" ที่เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มา 3 ครั้งแล้ว ครั้งแรกสร้างเป็นภาพยนตร์ เมื่อปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและปีกมาร · ดูเพิ่มเติม »

นางสาวไทย

นางสาวไทย เป็นการประกวดนางงามรายการที่ 2 ของประเทศไทย ต่อจากนางสาวสยาม โดยในยุคแรกจัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมส่งเสริมงานฉลองรัฐธรรมนูญ ต่อมาจัดขึ้นเพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นผู้แทนประเทศไทย ไปประกวดนางงามจักรวาล และในปัจจุบันจัดขึ้นเพื่อให้เป็นทูตวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและนางสาวไทย · ดูเพิ่มเติม »

นางสิบสอง

นางสิบสอง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและนางสิบสอง · ดูเพิ่มเติม »

นเรศวรมหาราช

นเรศวรมหาราช เป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องยิ่งใหญ่ เมื่อปี พ.ศ. 2500 โดย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล แห่งอัศวินภาพยนตร์ แนวสงครามอิงประวัติศาสตร์ การกอบกู้เอกราชของไทยจากพม่า นำแสดงโดย ชูชัย พระขรรค์ชัย,รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง,ถนอม อัครเศรณี,สุรชัย ลูกสุรินทร์,พจนีย์ โปร่งมณี ร่วมด้วย สถาพร มุดาประกร,สมถวิล มุกดาประกร,ทัต เอกทัต,วงจันทร์ ไพโรจน์,ชูศรี โรจนประดิษฐ์,ดอกดิน กัญญามาลย์,ล้อต๊อก,สมพงษ์ พงษ์มิตร,พูนสวัสดิ์ ธีมากร ฯลฯ ฉายเมื่อวันที่ 4 มกราคม..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

แม่

แม่ หรือ มารดา เป็นคำที่เรียกผู้ให้กำเนิด และโดยทั่วไป คือ แม่ที่เป็นบุคคลสำคัญของครอบครัวแบบ พ่อ แม่ ลูก เป็นผู้มีพระคุณต่อลูกเพราะเป็นผู้ให้กำเนิด แม่ทั่วไปมีหน้าที่ให้ครอบครัวคือ เลี้ยงลูก ดูแลบ้าน สำหรับผู้หญิงที่จะเป็นแม่คน หรือจะมีบุตรได้นั้น ควรจะมีอายุระหว่าง 20-30 ปี เนื่องจากในช่วงนี้จะเป็นช่วงที่ผู้หญิงมีการเจริญเติบโตทางร่างกาย สมบูรณ์เต็มที่ ไม่เด็ก หรือว่าแก่เกินไป คนไทยบางคนมักเรียก แม่ ของตัวเองว่า "คุณแม่" ซึ่งถือเป็นคำที่สุภาพกว่าการเรียกว่า "แม่" ห้วน ๆ ในภาษาไทยบางครั้งคำว่า แม่ ถูกใช้เรียก ผู้หญิง ทั่ว ๆ ไป หรือ จำเพาะเป็นกลุ่ม ๆ เช่น แม่บ้าน แม่นม หรือบางครั้งก็ใช้เรียกสิ่งที่เป็นตัวหลักของสิ่งอื่น เช่น แม่ทัพ แม่งาน และบางครั้งก็เรียกสิ่งที่ให้กำเนิดสิ่งอื่น ๆ ในธรรมชาติ เช่น แม่น้ำ มีบทประพันธ์แปลเกี่ยวกับความรักของแม่ของพระราชธรรมนิเทศ ไว้ดังนี้.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและแม่ · ดูเพิ่มเติม »

แม่หญิง

ละครโทรทัศน์เรื่อง แม่หญิง ที่รับบทโดย ยุรนันท์ และ และ สิเรียม ละครโทรทัศน์เรื่อง แม่หญิง ที่รับบทโดย ศรราม และ วรนุช แม่หญิง เป็นนวนิยายแนวพีเรียดที่เขียนขึ้นโดย วราภา และได้นำมาถ่ายทำเป็น ละครโทรทัศน์ ปัจจุบัน ออกอากาศทาง ช่อง 7 สี ผลิตโดยบริษัท คำพอดี บริษัทในเครือบริษัท เวิร์คพอยท์ เอนเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทุกวันจันทร์-อังคาร เวลา 20.30 - 22.30 น. ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2552 โดยเป็นความรักแบบสามเส้าและความรักต่างชนชั้นระหว่าง ท่านหญิงอุณาโลมเชื้อพระวงศ์ผู้สูงศักดิ์,เอื้ออิศรา ชายหนุ่มนักร้องนักดนตรีซึ่งกำลังมีชื่อเสียงแต่ยากจนและเป็นคนรักของท่านหญิงและพราหมณ์ เจ้าของหนังสือพิมพ์ที่ขายดีที่สุดฉบับหนึ่งในเมืองไทยเป็นเพื่อนสนิทของเอื้อแต่ไม่ถูกชะตากับท่านหญิงตั้งแต่แรกเห็น.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและแม่หญิง · ดูเพิ่มเติม »

แรงเทียน

แรงเทียน เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและแรงเทียน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง

รงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดตรัง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย รับนักเรียนแบบสหศึกษาทั้งชายและหญิง ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มี 11 ห้อง ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มี 11 ห้อง.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและโรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนหญิงล้วน สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ภายหลังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์สิ้นพระชนม์ โดยบรรดาทายาทของพระองค์ได้บริจาคตำหนักส่วนพระองค์ และที่ดินข้างเคียงเพื่อตั้งเป็นโรงเรียนสตรีและรับโรงเรียนไว้ในอุปการะ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้เป็นพระนัดดา ทรงนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนว่า “สายปัญญา” ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนสายปัญญา ไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปัจจุบันโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีอายุ ปี เปิดรับสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 0.6 ตารางวา มีอาคารเรียน 4 หลัง มี 53 ห้องเรียน 53  ห้องเรียน แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายดังนี้ 6-6-8/11-12-10 มีครูทั้งหมด 108 คน มีนักเรียนในปีการศึกษา 2557 รวมทั้งสิ้น 2,641 คน.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไม่สิ้นไร้ไฟสวาท

ม่สิ้นไร้ไฟสวาท เป็นบทประพันธ์ของ นันทนา วีระชน เจ้าของบทประพันธ์ชื่อดัง "แรงเงา" ที่เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มา 3 ครั้งแล้ว ครั้งแรกสร้างเป็นภาพยนตร์ เมื่อปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและไม่สิ้นไร้ไฟสวาท · ดูเพิ่มเติม »

เสือขาว

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับ เสือขาว (สัตว์ในปกรณัม) หากต้องการดูบทความเสือขาวที่เป็นสัตว์ ดูที่ เสือขาวเบงกอล ภาพวาดของเสือขาว เสือขาว (白虎 (びゃっこ); 백호; Bạch Hổ, 白虎) เป็นหนึ่งในสี่เทพศักดิ์สิทธิ์ประจำทิศตะวันตก และฤดูใบไม้ร่วง เป็นสัตว์วิเศษของจีน เป็นเทพแห่งสงครามและการต่อสู้ เป็นตัวแทนของอำนาจบารมีและความเคารพยำเกรง เป็นเจ้าแห่งสัตว์ป่า สัตว์สี่เท้า สัตว์นักล่าทั้งมวล ในสมัยโบราณเสือขาวถูกใช้เป็นชื่อของหน่วยกำลังรบ เป็นตราสัญลักษณ์ของกองทัพ เป็นสัญลักษณ์ให้โชค ในงานหัตถกรรมต่างๆ นิยมให้เสือขาวคู่กับมังกรเขียว.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและเสือขาว · ดูเพิ่มเติม »

เสือใบ

ือใบ (22 สิงหาคม พ.ศ. 2464 – 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) มีชื่อจริงว่า ใบ สะอาดดี เป็นชาวจังหวัดสุพรรณบุรี เป็นจอมโจรชื่อดังในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สองที่โด่งดัง ร่วมสมัยกับ เสือดำ, เสือหวัด, เสือฝ้าย, เสือมเหศวร โดยเวลาออกปล้นจะแต่งชุดสีดำ สวมหมวกดำ และปล้นด้วยความสุภาพ จนได้รับฉายาว่า สุภาพบุรุษเสือใบ และในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ยังได้เข้าร่วมกับขบวนการไทยถีบ ดักปล้นและถีบสินค้าหรืออาวุธของทางทหารญี่ปุ่นจากขบวนตู้รถไฟด้วย เสือใบ ได้กลายเป็นจอมโจรที่มีชื่อเสียงในราวปี..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและเสือใบ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสาวของอานนท์

้าสาวของอานนท์ เป็น นวนิยาย ของ ว.ณ ประมวญมารค (นามปากกาของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต โดยนวนิยายเรื่องนี้เป็นหนึ่งในนวนิยายไตรภาคซึ่งอีก 2 เรื่องคือ ปริศนา และ รัตนาวดี เป็นเรื่องราวความรักของ อานนท์ วิทยาธร วิศวกรหนุ่มเจ้าเสน่ห์กับ สุชาดา สุทธากุล ลูกสาวของ นายตะวัน เจ้าของโรงงานทำกะทิสุดท้ายแล้วสุชาดา จะหยุดความเจ้าชู้ของอานนท์ได้หรือไม่ เจ้าสาวของอานนท์ถือเป็นหนังสือเล่มที่สองของนวนิยายเรื่องปริศนา โดยมีหนังสือเรื่องปริศนาเป็นเล่มแรก และมีรัตนาวดีเป็นหนังสือเล่มสุดท้ายของนวนิยายชุดนี้ เจ้าสาวของอานนท์เคยถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ โดย ไฟว์สตาร์ ในปี พ.ศ. 2525 กำกับการแสดงโดย รุจน์ รณภพ นำแสดงโดย ไพโรจน์ สังวริบุตร และ จารุณี สุขสวัสดิ์ ออกฉายเมื่อ 31 ธันวาคม 2525 และต่อมาถูกนำมาทำเป็นละครโทรทัศน์ ปี พ.ศ. 2531 ออกอากาศทางช่อง 3 โดย ไอแอม โปรดักชั่น นำแสดงโดย ศรัณยู วงษ์กระจ่าง รับบท อานนท์ วิทยาธร และ จริยา แอนโฟเน่ รับบท สุชาดา สุทธากุล ปี พ.ศ. 2542 ออกอากาศทาง ช่อง 5 โดย กันตนา นำแสดงโดย จอนนี่ แอนโฟเน่ รับบท อานนท์ วิทยาธร และ เชอร์รี่ ผุงประเสริฐ รับบท สุชาดา สุทธากุล (สร้างก่อน ปริศนา (2543) โดยสร้างโดยคนละบริษัท เจ้าสาวของอานนท์ (2542) สร้างโดย กันตนา ส่วน ปริศนา (2543) สร้างโดยทูอินวัน) และครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2558 ออกอากาศทาง ช่องพีพีทีวี สร้างโดย มรว. ศรีคำรุ้ง ยุคล รัตตกุล นำแสดงโดย โทนี่ รากแก่น รับบท อานนท์ วิทยาธร และ เอสเธอร์ สุปรีย์ลีลา รับบท สุชาดา สุทธากุล.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและเจ้าสาวของอานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและเขตปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

เคหาสน์สีแดง

หาสน์สีแดง เป็นนิยายชื่อดังของ ดวงดาว ที่มีผลงานนิยายชื่อดังมากมาย เป็นเรื่องราวที่มีตัวละครเอกคือ หมอรุจ อารยา ภาคินี ภาคิไนย เสาวรส ชาลี ซึ่งเกี่ยวข้องกันด้วยความรักที่มีทั้งความเสียสละ ซาบซึ้ง สะเทือนใจ สร้างเป็นภาพยนตร์ครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและเคหาสน์สีแดง · ดูเพิ่มเติม »

25 กันยายน

วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและ25 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

5 กรกฎาคม

วันที่ 5 กรกฎาคม เป็นวันที่ 186 ของปี (วันที่ 187 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 179 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัตนาภรณ์ อินทรกำแหงและ5 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »