โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พันท้ายนรสิงห์

ดัชนี พันท้ายนรสิงห์

รูปเคารพพันท้ายนรสิงห์ ที่ศาลพันท้ายนรสิงห์ ภายในอุทยานประวัติศาสตร์พันท้ายนรสิงห์ พันท้ายนรสิงห์ เป็นนายท้ายเรือในรัชสมัยพระเจ้าเสือ หรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ตอนปลายอาณาจักรอยุธยา โดยพันท้ายนรสิงห์เป็นผู้มีชื่อเสียงด้านความซื่อสัต.

75 ความสัมพันธ์: ชุติมา นัยนาชูชัย พระขรรค์ชัยช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีช่องเวิร์คพอยท์พ.ศ. 2488พ.ศ. 2493พ.ศ. 2498พ.ศ. 2508พ.ศ. 2515พ.ศ. 2521พ.ศ. 2525พ.ศ. 2532พ.ศ. 2543พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2493)พันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2558)พิมดาว พานิชสมัยพิยดา จุฑารัตนกุลพิศมัย วิไลศักดิ์พิศาล อัครเศรณีพงศกร เมตตาริกานนท์พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงกมลชนก เขมะโยธินกรมศิลปากรกำธร สุวรรณปิยะศิริภาพยนตร์มวยไทยมานพ อัศวเทพราชกิจจานุเบกษาราชวงศ์บ้านพลูหลวงละครโทรทัศน์ละครเวทีวันชนะ สวัสดีวิทิต แลตศรัณยู วงษ์กระจ่างสมบัติ เมทะนีสมชาย อาสนจินดาสมพงษ์ พงษ์มิตรสมโพธิ แสงเดือนฉายสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8สรพงศ์ ชาตรีสุพรรณ บูรณะพิมพ์สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์สุวัจนี ไชยมุสิกสีเทา เพ็ชรเจริญสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7...หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคลหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลหุ่นกระบอกไทยหนังสือการ์ตูนอบ บุญติดอาภาพร กรทิพย์อาณาจักรอยุธยาอำนวย กลัสนิมิอำเภอป่าโมกอำเภอเมืองสมุทรสาครจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดอ่างทองธีรภัทร์ สัจจกุลธนายง ว่องตระกูลทวี ณ บางช้างดวงใจ หทัยกาญจน์คลองสนามชัยความซื่อสัตย์นักมวยไทยนาถยา แดงบุหงานิรุตติ์ ศิริจรรยาน้ำตาแสงไต้โมโน 29โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยโทษประหารชีวิต ขยายดัชนี (25 มากกว่า) »

ชุติมา นัยนา

ติมา นัยนา ดารา นักแสดง นางแบบหญิงชาวไทย และเป็นอดีตนางสาวไทย ปี..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และชุติมา นัยนา · ดูเพิ่มเติม »

ชูชัย พระขรรค์ชัย

ูชัย พระขรรค์ชัย อดีตนักมวยไทยชื่อดังและอดีตนักแสดงชาวไทยที่มีชื่อเสียงในยุคก่อนปี พ.ศ. 2500 เจ้าของฉายา เทพบุตรสังเวียน จากการที่เป็นนักมวยที่มีหน้าตาดี ได้ชื่อว่าเป็นนักมวยที่หมัดหนักโดยเฉพาะ หมัดขว.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และชูชัย พระขรรค์ชัย · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ดูเพิ่มเติม »

ช่องเวิร์คพอยท์

องเวิร์คพอยท์ เป็นช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ระบบดิจิทัลในประเทศไทย ประเภทบริการธุรกิจระดับชาติ รูปแบบรายการทั่วไป ประเภทความคมชัดมาตรฐาน และออกอากาศคู่ขนานแบบไม่ใช้คลื่นความถี่ ผ่านเครือข่ายโทรทัศน์เคเบิล และระบบโทรทัศน์ดาวเทียม ปัจจุบันดำเนินการโดย บริษัท ไทย บรอดคาสติ้ง จำกัด ซึ่งอยู่ในเครือบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และช่องเวิร์คพอยท์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

พันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2493)

ันท้ายนรสิงห์ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2493 ในระบบถ่ายทำฟิล์ม 16 มม.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2493) · ดูเพิ่มเติม »

พันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2558)

ันท้ายนรสิงห์ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2558 สร้างจากบทประพันธ์ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล ที่แต่งขึ้นจากเรื่องเกร็ดในพงศาวดารและประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย กำกับการแสดงโดย ม.จ. ชาตรีเฉลิม ยุคล อำนวยการสร้างโดย หม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา นำแสดงโดย พันเอกวันชนะ สวัสดี, พงศกร เมตตาริกานนท์, พิมดาว พานิชสมัย, สรพงษ์ ชาตรี, นิรุตต์ ศิริจรร.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2558) · ดูเพิ่มเติม »

พิมดาว พานิชสมัย

ร้อยโทหญิงพิมดาว พานิชสมัย หรือ มัดหมี่ เป็นนักแสดง นักร้องหญิงชาวไท.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพิมดาว พานิชสมัย · ดูเพิ่มเติม »

พิยดา จุฑารัตนกุล

ฑารัตนกุล (สกุลเดิม: อัครเศรณี; เกิด: 17 มิถุนายน พ.ศ. 2518) มีชื่อเล่นว่า อ้อม เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย เป็นบุตรสาวคนที่ 2 ของนักแสดงและผู้กำกับ พิศาล อัครเศรณี กับสุดารักษ์ อัครเศรณี มีพี่น้อง 4 คน จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย จบการศึกษาปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เอกภาษาไทย เข้าสู่วงการครั้งแรกด้วยการแสดง" มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงคือละครเรื่อง "ทอฝันกับมาวิน" ในปี พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพิยดา จุฑารัตนกุล · ดูเพิ่มเติม »

พิศมัย วิไลศักดิ์

มัย วิไลศักดิ์ ชื่อเล่น มี้ (7 ธันวาคม พ.ศ. 2482-) เป็นศิลปินนักแสดงอาวุโสและเป็นครูสอนศิลปะการแสดง เจ้าของฉายา ดาราเงินล้าน มีผลงานแสดงภาพยนตร์ประมาณ 300 เรื่อง พิศมัย วิไลศักดิ์ ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และละครโทรทัศน์) ประจำปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพิศมัย วิไลศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พิศาล อัครเศรณี

ละครขุนศึก ปี พ.ศ. 2520 - พิศาล อัครเศรณี และ ผุสดี พลางกูล พิศาล อัครเศรณี (เปี๊ยก) (21 มิถุนายน พ.ศ. 2488 -) เป็นผู้กำกับ นักแสดง โฆษก มีผลงานภาพยนตร์ไทยสร้างชื่ออย่าง “เพลงสุดท้าย” เป็นผู้ที่ได้รับฉายาว่า "พระเอกซาดิสต์" หรือ "ผู้กำกับซาดิสต์" เนื่องจากมักได้รับบทหรือกำกับละครหรือภาพยนตร์ที่พระเอกมักจะทำร้ายนางเอกด้วยการตบตี แต่ลงท้ายด้วยการจูบหรือแสดงความรัก ทำให้นางเอกใจอ่อนทุกที.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพิศาล อัครเศรณี · ดูเพิ่มเติม »

พงศกร เมตตาริกานนท์

งศกร เมตตาริกานนท์ (เกิด 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535) ชื่อเล่น เต้ย เป็นนักแสดงชาวไทย สังกัดบริษัทแอนเชียนส์เอนเตอร์เทน และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 มีผลงานที่เป็นที่รู้จักจากละครเรื่อง คุณชายรัชชานนท์, บางระจัน, ซ่อนรักกามเทพ และภาพยนตร์ พันท้ายนรสิงห.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพงศกร เมตตาริกานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง

งษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด อ๊อฟจบปริญญาตรี พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ดูเพิ่มเติม »

กมลชนก เขมะโยธิน

กมลชนก โกมลฐิติ เกิดเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2510 เป็นนักแสดง พิธีกร นางแบบและนักร้องชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อจากบทบาทอังศุมาลิน ในละครเรื่อง คู่กรรม ที่แสดงนำร่วมกับ ธงไชย แมคอินไต.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และกมลชนก เขมะโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

กำธร สุวรรณปิยะศิริ

กำธร สุวรรณปิยะศิริ (16 กันยายน พ.ศ. 2478 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553) จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล และ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ช่วงที่เป็นนักศึกษา ได้เล่นดนตรี เป็นมือกลองอยู่กับวงดนตรีของมหาวิทยาลัย (TU Band) เป็นนักแสดงอาวุโส พระเอกละครโทรทัศน์ และนักพากย์ภาพยนตร์ เป็นนักแสดงละครโทรทัศน์รุ่นแรกของช่อง 4 บางขุนพรหม และต่อมามักได้รับบทคู่พระ-นาง กับ อารีย์ นักดนตรี มีชื่อเสียงจากเรื่อง ขุนศึก ช่วง..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และกำธร สุวรรณปิยะศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มวยไทย

มวยไทย มวยไทย เป็นศิลปะการต่อสู้จากประเทศไทย มีความโดดเด่นด้านเทคนิคการกอดคอต่อสู้ ซึ่งเป็นการใช้ทั้งกายและใจ สำหรับการต่อสู้ที่ใช้ร่างกายเป็นอาวุธ โดยเป็นที่รู้จักว่าเป็น "นวอาวุธ" ซึ่งประกอบด้วยการโจมตีจากร่างกายทั้ง หมัด, ศอก, เข่า และเท้า หากมีการเตรียมพร้อมด้านร่างกายดี จะก่อให้เกิดอาวุธที่มีอานุภาพ มวยไทยได้เป็นที่แพร่หลายในระดับนานาชาติในช่วงศตวรรษที่ยี่สิบ เมื่อเหล่านักมวยไทยสามารถเป็นฝ่ายชนะนักต่อสู้ที่มีชื่อเสียงในแขนงอื่น ซึ่งการแข่งขันมวยไทยในระดับอาชีพ ได้รับการดูแลโดยสภามวยไทยโลก ปัจจุบัน ทางสหพันธ์มวยไทยสมัครเล่นนานาชาติ (IFMA) มีแผนที่จะผลักดันกีฬามวยไทยเข้าสู่กีฬาโอลิมปิก และใน..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และมวยไทย · ดูเพิ่มเติม »

มานพ อัศวเทพ

มานพ อัศวเทพ มีชื่อจริงคือ ว่า วิริยะ จุลมกร เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และมานพ อัศวเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง เป็นราชวงศ์ที่ 5 และเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองอาณาจักรอยุธยาก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ในปี..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และราชวงศ์บ้านพลูหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ละครโทรทัศน์

ละครโทรทัศน์ คือรายการทางโทรทัศน์ที่มีบทละครและเรื่องราว ไม่รวมถึงรายการจำพวก กีฬา ข่าว เรียลลิตี้โชว์ เกมโชว์ สแตนอัพคอเมดี้ และวาไรตี้โชว์ โดยละครโทรทัศน์โดยมากจะมีหลายตอน เน้นความบันเทิงเป็นหลัก เพื่อการรับชมภายในเคหสถาน นักแสดงที่แสดงในละครโทรทัศน์จะใช้หลายมุมกล้อง บางครั้งนักแสดงจะไม่ทราบว่าเมื่อไรกล้องจะจับภาพ ทางด้านบทละครโทรทัศน์ ต้องมีความละเอียดทุกขั้นตอนกว่าละครเวที เพราะบทโทรทัศน์เป็นตัวกำหนดมุมกล้อง กำหนดฉาก การแต่งกายของผู้แสดง ดนตรี เสียงประกอบ และบางเรื่องยังมีคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามาเพื่อความสมจริงอีกด้ว.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และละครโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

ละครเวที

ภาพวาด การแสดงละครเวทีเรื่อง Romeo and Juliet ละครเวทีละครเพลงซึ่งเน้นการร้องมากกว่า คาดกันว่าละครเวทีมีมาตั้งแต่สมัยกรีก อริสโตเติลบันทึกไว้ว่าละครของกรีก เริ่มต้น จุดเด่นของละครเวทีคือ การสื่อสารระหว่างผู้ชมกับนักแสดง การสื่อสารระหว่างผู้ชมและนักแสดงเกิดขึ้นไปพร้อม ๆ กัน วอลเตอร์ เคอร์ นักวิจารณ์ชาวอเมริกันพูดถึงเรื่องนี้ไว้ว่า "ความสัมพันธ์ระหว่างคนดูกับนักแสดงเช่นนี้ไม่มีในภาพยนตร์ เพราะภาพยนตร์เป็นสิ่งที่สร้างมาสำเร็จรูปแล้ว มันไม่สามารถตอบสนองเราได้ เพราะนักแสดงในภาพยนตร์ไม่สามารถได้ยินเรา รู้สึกถึงตัวตนของเราและไม่ว่าเราจะมีปฏิกิริยาอย่างไรก็ไม่มีผลใดๆ" องค์ประกอบของละครเวที คือ การแสดงสดบนเวที ที่มีฉาก แสง เสียง ประกอบ และบทละคร คือ ส่วนที่สำคัญที่สุดในการทำละครทุกชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งละครเวที เพราะมันคือ ตัวกำหนดองค์ประกอบอื่นๆ ทุกอย่างในละคร ไม่ว่าจะเป็น โครงของเรื่อง) ของนักแสดงด้วย หมวดหมู่:ศิลปะการแสดง.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และละครเวที · ดูเพิ่มเติม »

วันชนะ สวัสดี

ันเอก วันชนะ สวัสดี (26 สิงหาคม 2515) ผู้ช่วยโฆษกกระทรวงกลาโหม รองผู้อำนวยการกองประชาสัมพันธ์ สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและตุลาการศาทหารกรุงเทพฯ เป็นทหารบกชาวไทย และเป็นนักแสดง มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็นสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และวันชนะ สวัสดี · ดูเพิ่มเติม »

วิทิต แลต

วิทิต แลต (เอ) นักแสดงและอดีตนายแบบหนุ่ม เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และวิทิต แลต · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ เมทะนี

มบัติ เมทะนี (เกิด: 26 มิถุนายน พ.ศ. 2480; ชื่อเล่น แอ๊ด) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และครโทรทัศน์) ประจำปี 2559 นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย ผู้ชนะเลิศรางวัลตุ๊กตาทองและรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง นอกจากนี้กินเนสบุ๊คยังบันทึกไว้ว่าเป็นนักแสดงที่รับบทเป็นพระเอกมากที่สุดในโลก โดยแสดงเป็นพระเอกถึง 617 เรื่อง.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และสมบัติ เมทะนี · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย อาสนจินดา

มชาย อาสนจินดา หรือ.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และสมชาย อาสนจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สมพงษ์ พงษ์มิตร

มพงษ์ พงษ์มิตร (8 กรกฎาคม พ.ศ. 2462 – 30 พฤษภาคม 2544) เป็นนักแสดงตลกชาวไทย ได้รับเชิดชูเกียรติเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี พ.ศ. 2541.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และสมพงษ์ พงษ์มิตร · ดูเพิ่มเติม »

สมโพธิ แสงเดือนฉาย

มโพธิ แสงเดือนฉาย (24 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 —) เป็นผู้อำนวยการสร้าง และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย เป็นผู้ก่อตั้งบริษัท ไชโยโปรดักชั่นส์ จำกัด มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้อำนวยการสร้างและผู้กำกับภาพยนตร์ในแนวสัตว์ประหลาด, แฟนตาซี ที่ต้องใช้สเปเชียลเอฟเฟกส์ต่าง.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และสมโพธิ แสงเดือนฉาย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าว่า สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 29 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สองแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองร..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สรพงศ์ ชาตรี

รพงษ์ ชาตรี หรือชื่อจริง กรีพงษ์ เทียมเศวต หรือ พิทยา เทียมเศวต นักแสดงชายชั้นแนวหน้าของไทย ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และสรพงศ์ ชาตรี · ดูเพิ่มเติม »

สุพรรณ บูรณะพิมพ์

รรณ บูรณะพิมพ์ (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2528) นักแสดง และผู้กำกับอาวุโส ผู้มีผลงานทั้งแสดง และกำกับละครเวที ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง ผู้แสดงประกอบฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม 2 ปีติดต่อกัน ในปี พ.ศ. 2505 และ พ.ศ. 2506 และได้รับการยกย่อง รางวัลเกียรติคุณทางการแสดง ครั้งที่ 4 ประจำปี..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และสุพรรณ บูรณะพิมพ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์

รสิทธิ์ สัตยวงศ์ (พ.ศ. 2466 - พ.ศ. 2526) อดีตนักร้อง นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และสุรสิทธิ์ สัตยวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุวัจนี ไชยมุสิก

วัจนี พานิชชีวะ (สกุลเดิม ไชยมุสิก; เกิด: 26 ธันวาคม พ.ศ. 2517) เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย สุวัจนีถือเป็นนักแสดงเจ้าบทบาทโดยเฉพาะบทนางร้าย เป็นนางร้ายลำดับต้น ๆ ของวงการละครไท.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และสุวัจนี ไชยมุสิก · ดูเพิ่มเติม »

สีเทา เพ็ชรเจริญ

ีเทา เพ็ชรเจริญ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ สีเทา มีชื่อจริงว่า จรัล เพ็ชรเจริญ เป็นดาราตลกอาวุโส มีบุคลิกเด่นคือแสดงตลกด้วยหน้าตาท่าทาง ลักษณะหลังโกง พุงป่อง เหมือน "เท่ง" ตัวตลกดาราหนังตะลุง ของทางภาคใต้ และถูกนำบุคลิกไปสร้างเป็นตัวการ์ตูนในแอนิเมชันเรื่อง "แดร็กคูล่าต๊อก โชว์".

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และสีเทา เพ็ชรเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 9ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 86 ตอน 10 ง หน้า 241, 4 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล

หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล หรือที่นิยมเรียกกันว่า คุณชายอดัม เป็นโอรสในหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล และหม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2528 จบการศึกษาด้านการสร้างภาพยนตร์จากประเทศออสเตรเลีย ม.ร.ว.เฉลิมชาตรีรับหน้าที่เป็นผู้กำกับกองสามของภาพยนตร์ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภายหลังปิดกล้อง ได้ดูแลงานด้านสื่ออินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ภาพยนตร์ ลิขสิทธิ์สินค้า การ์ดเกมส์ หนังสือปูมเบื้องหลัง ตลอดจนสื่อสนับสนุนภาพยนตร์ (Promotional Merchandise) ทุกชนิด ปัจจุบันได้รับเป็นวิทยากรพิเศษให้แก่มหาวิทยาลัยชั้นนำ อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (เอแบค) เป็นต้น โดยรับหน้าที่บรรยายเทคนิคการสร้างภาพยนตร์ รวมถึงรายละเอียดที่ปรากฏในพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. 2551 อีกด้วย นอกจากนี้ ม.ร.ว.เฉลิมชาตรี ยังได้เปิดให้บริการเว็บไซต์ FuKDuK (ฟุ๊คดุ๊ค) หรือ บริการทีวีที่มีช่องรายการของตัวเองผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2550 และจัดรายการวิทยุเป็นประจำอยู่ที่คลื่นความคิด F.M. 96.5 Mhz ในเครือข่ายขององค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อสมท.).

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และหม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 24 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หุ่นกระบอกไทย

หุ่นกระบอกไทย ที่ใช้แสดงกันในปัจจุบัน สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นโดยอาศัยกรรมลิขิตการสร้างหุ่นกระบอกตามแบบหุ่น ซึ่ง หม่อมราชวงศ์เถาะได้คิดประดิษฐ์ดัดแปลงขึ้น กล่าวคือ ตัวหุ่นกระบอกประกอบขึ้นด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วน ได้แก่ ศีรษะหุ่น ลำตัว มือ เครื่องแต่งกายและเครื่องประดับ หุ่นกระบอก ส่วนที่เลียนแบบอวัยวะของคนจริงๆ คือศีรษะและมือทั้ง 2 ข้าง เท่านั้น ส่วนลำตัวหุ่น เป็นกระบอกไม้ไผ่ทั้งปล้องสอดเข้าไปตรงลำคอ ศีรษะและลำตัวถอดออกจากกันได้ เมื่อไม่ใช้แสดงแล้วก็จะถอดออกและเก็บไว้แยกกัน โดยถอดส่วนศีรษะเก็บตั้งไว้บนฐานที่ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อตั้งศีรษะหุ่นกระบอก ลำตัวที่เป็นกระบอกไม่ไผ่เมื่อถอดออกแล้วจะนำแยกเก็บต่างหากจากตัวเสื้อที่มีลักษณะคล้ายถุงตัวเสื้อซึ่งมีมือติดอยู่ทั้ง 2 ข้าง พับเก็บใส่หีบ ศีรษะของหุ่นกระบอกส่วนมากจะทำด้วยไม้เนื้อเบาทั้งแท่ง เช่น ไม้ทองหลาง ไม้โมก ไม้สักทอง ไม้ที่นำมาใช้ควรเป็นไม้เนื้อดีไม่มีตรา แท่งไม้ควรมีขนาดกว้างประมาณ 12 เซนติเมตร และความยาวประมาณ 20 เซนติเมตร เมื่อได้ไม้แล้วช่างก็จะนำมาแกะให้เป็นรูปศีรษะ รูปหน้า และ ลำคอ ส่วนของรูปหน้าและศีรษะยาวประมาณ 10 - 12 เซนติเมตร ส่วนของลำคอยาวประมาณ 8 เซนติเมตร คว้านให้เป็นรูปกว้างพอที่กระบอกไม้ไผ่รวกจะสอดเข้าไปได้โดยสะดวก เหตุที่ต้องทำลำคอใหญ่ยาว เพราะจะใช้เป็นส่วนต่อกับกระบอกไม้ไผ่ที่เป็นส่วนลำตัวหุ่น เมื่อสวมเสื้อคลุมทับอีกชั้นหนุ่งก็จะได้รูปลำคอพอดี ขั้นต่อไป คือ ปั้นแต่งด้วยรักสมุกหรือดินให้เป็นจมูก ปาก คิ้ว หู ประเพณีนิยมเกี่ยวกับความเชื่อในการประดิษฐ์ศีรษะหุ่นกระบอกอย่างหนึ่ง คือ ต้องมีพิธีไหว้ครู พีธีเบิกเนตรหุ่น คล้ายกับการประดิษฐ์หัวโขนถือกันว่าเป็นสิ่งต้องกระทำ ฉะนั้น การเขียนดวงตาของหุ่นกระบอกจึงจะทำเป็นขั้นตอนสุดท้าย และต้องทำในพิธีด้วยลำตัวของหุ่นกระบอก ซึ่งก็คือ กระบอกไม้ไผ่รวก ยาวประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร กระบอกไม้ไผ่ที่จะทำเป็นลำตัวหรือแกนให้คนเชิดจับถือ ควรมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 - 4 เซนติเมตร อวัยวะส่วนที่เป็นมือ มักแกะด้วยไม้ มีขนาดประมาณ 4 - 5 เซติเมตร ให้พอดีกับขนาดของตัวหุ่นหรือทำด้วยหนังตัดเป็นรูปมือมีนิ้ว และดัดให้อ่อนอย่างมือละคร โดยมือขวาของหุ่นตัวพระจะกำอาวุธไว้เสมอ จึงเจาะรูตรงกลางไว้สำหรับเสียบอาวุธซึ่งจะเปลี่ยนไปได้ตามเนื้อเรื่อง ถ้าในบทไม่กำหนดให้ถืออะไรก็ปล่อยไว้ให้กำมือเฉยๆเช่นนั้น มือซ้ายเป็นรูปมือแบตั้งวงรำ ถ้าเป็นมือตัวนางโดยมากจะตั้งวงรำทั้ง 2 ข้าง มือทั้ง 2 ข้าง จะตอกติดกับเรียวไม้ไผ่เล็กๆ 2 อัน ขนาดความยาวของเรียวไม้ไผ่เท่ากับปล้องไม้ไผ่ที่ทำเป็นลำตัวสำหรับจับเชิด ชาวหุ่นกระบอกเรียกเรียวไม้ไผ่ทั้ง 2 ข้าง ของหุ่นกระบอกคู่นี้ว่า ตะเกี.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และหุ่นกระบอกไทย · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือการ์ตูน

หนังสือการ์ตูน เป็นหนังสือที่ตีพิมพ์ภาพและคำพูดประกอบ บอกเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ตามเนื้อเรื่องที่เขียนขึ้น มีทั้งที่อ้างอิงจากความจริง และเกิดจากความคิดของนักวาดการ์ตูน หรือนักแต่งการ์ตูน เป็นผู้วางเอาไว้ สำหรับการ์ตูนญี่ปุ่นอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มังงะ โดยส่วนใหญ่ หนังสือการ์ตูน จะเป็นการรวมเล่มของการ์ตูนที่ตีพิมพ์ในหนังสือการ์ตูนรายสัปดาห์ เช่น บูม, ซีคิดส์, KC Weekly เป็นต้น ยังมีการ์ตูนที่แต่งเป็นพิเศษ หรือล้อเลียนการ์ตูนที่เขียนขึ้นแล้ว เพื่อความบันเทิงส่วนตัว หรือแต่งเพื่อกลุ่มคนที่ชอบในรูปแบบเดียวกัน เรียกว่า โดจิน หรือโดจิน.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และหนังสือการ์ตูน · ดูเพิ่มเติม »

อบ บุญติด

อบ บุญติด อดีตดาราชายอาวุโส ชาวไทย ผู้มีประสบการณ์แสดงยาวนานตามที่มีหลักฐานปรากฏ ตั้งแต่ช่วงแรกของยุคหนังเงียบหรือ "หนังหลวงกล" ซึ่งต่อมาคือบริษัทภาพยนตร์เสียงศรีกรุง เริ่มชีวิตการแสดงจากเล่นจำอวด กับคณะนายทิ้ง มาฬมงคล ซึ่งต้องใช้ความสามารถในการสวดคฤหัสถ์ มีทั้งบทร้องและกลอนสด ก่อนเข้าสู่วงการละครเวที ภาพยนตร์ และโทรทัศน์จำนวนมากม.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และอบ บุญติด · ดูเพิ่มเติม »

อาภาพร กรทิพย์

อาภาพร กรทิพย์ (โอ๋) มีชื่อจริงคือ ปัญฑารีย์ ยศกุลโรจน์ เกิดเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2507 เป็นชาวจังหวัดนครสวรรค์ ได้รับตำแหน่งธิดาฉลากคุ้มเกล้าเมื่อปี..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และอาภาพร กรทิพย์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อำนวย กลัสนิมิ

ใจเพชร (2506) ชโลมเลือด (2506) พันธุ์ลูกหม้อ (2507) สิงห์ล่าสิงห์ (2507) ผู้ชนะสิบทิศ ตอน ยอดขุนพล (2509) อำนวย กลัสนิมิ หรือ ครูเนรมิต (พ.ศ. 2458 − 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ ผู้บุกเบิกการสร้างภาพยนตร์ไทยด้วยฟิล์ม 16 ม.ม. ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้สร้างภาพยนตร์-ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปี..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และอำนวย กลัสนิมิ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอป่าโมก

อำเภอป่าโมก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และอำเภอป่าโมก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสมุทรสาคร

อำเภอเมืองสมุทรสาคร เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรสาคร.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และอำเภอเมืองสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสาคร

ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และจังหวัดสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอ่างทอง

ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

ธีรภัทร์ สัจจกุล

ีรภัทร์ สัจจกุล (ตุ้ย) เกิดเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2516 เป็นบุตรชายของนายธวัชชัย สัจจกุล อดีตผู้จัดการฟุตบอลทีมชาติไทยและนักการเมือง เป็นนักแสดง นักร้อง และ ผู้จัดการสถานีวิทยุซี้ด เอฟเอ็ม 97.5 ในเครืออสมท.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และธีรภัทร์ สัจจกุล · ดูเพิ่มเติม »

ธนายง ว่องตระกูล

นายง ว่องตระกูล นักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 มีชื่อเสียงมาจากการรับท เสมา ในละครโทรทัศน์เรื่อง ขุนศึก จากการกำกับของสะอาด เปี่ยมพงษ์ศานต์ อำนวยการสร้างโดย พิศาล อัครเศรณี และกิตติ อัครเศรณี คู่กับวิมลเรขา ศิริราวรรณ ทางช่อง 9 เมื่อปี..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และธนายง ว่องตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ทวี ณ บางช้าง

ทวี ณ บางช้าง หรือ ครูมารุต (? - 6 มิถุนายน พ.ศ. 2531) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย และนักแต่งเพลงไทย มีผลงานกำกับละครเวที ของคณะอัศวินการละคร และ คณะศิวารมย์ ร่วมกับ อำนวย กลัสนิมิ (ครูเนรมิต) เช่น เรื่อง พันท้ายนรสิงห์ ราชินีบอด ฯลฯ รวมทั้งกองภาพยนตร์ทหารอากาศ เป็นผู้แต่งคำร้องเพลงอมตะ รางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน ในภาพยนตร์ ชั่วฟ้าดินสล.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และทวี ณ บางช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ดวงใจ หทัยกาญจน์

วงใจ หทัยกาญจน์ หรือมีชื่อจริงว่า ดวงใจ บันธยามาศ มีชื่อเล่นว่า อี๊ด เกิดวันที่ 25 พฤศจิกายน 2494 ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษามัธยมปลาย ที่โรงเรียนโรงเรียนพิบูลย์อุปถัมภ์ ดวงใจ เริ่มเข้าวงการในปี 2513 เล่นภาพยนตร์เรื่องแรกคือ ทุ่งเศรษฐี รับบทเป็น ขวัญเดือน ของ ไพบูลย์ บุตรขัน โดยรับบทเป็นนางรองให้ เพชรา เชาวราษฎร์ ภาพยนตร์ประสพความสำเร็จในระดับกลาง ๆ ชื่อดวงใจ หทัยกาญจน์ ก็ยังไม่โดดเด่นนักมากในยุคนั้น เมื่อเปรียบเทียบกับนางเอกในรุ่นเดียวกัน ดวงใจ เคยได้รับรางวัลผู้แสดงประกอบหญิงจากงานมหกรรมภาพยนตร์เอเชีย เรื่อง “รักริษยา” ในปี 2522 ซึ่งดวงใจรับบทเป็นมนต์จันทร์ ดวงใจมีเพื่อนที่สนิทกันในวงการอย่าง ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ และ อรสา พรหมประทาน ซึ่งสนิทกันตั้งแต่พวกเธอแสดงหนังใหญ๋ กระทั่งมาลงเล่นละครกัน ในส่วนของจอแก้ว ดวงใจ หทัยกาญจน์ เริ่มลงเล่นละครเมื่อวัย 25 ปี ประเดิมด้วยบทนางเอก เรื่อง ตะวันยอแสง ของ สุทธิจิตร วีรเดชกำแหง ทางช่อง 3 ปี 2521 ตามด้วยเรื่อง สาวสืบสาว, แกะหลงฝูง, ฉุยฉาย, ประตูสีเทา, มณีดิน, ผู้กองยอดรัก และ ยอดรักผู้กอง (ภาคต่อของ ผู้กองยอดรัก) ในปี 2522 และ โบตั๋น ในปี 2523 ทั้งหมดเป็นละครช่อง 3 หลังจากนั้นจึงได้หันไปรับงานให้ช่องอื่นบ้าง จนถึงปัจจุบัน ที่ส่วนใหญ่จะได้รับบทเป็นแม่ของตัวเด่นในละครหลาย ๆ เรื่อง ดวงใจ ได้รับขึ้นชื่อว่าเป็นนางเอกที่อนามัย พูดจาอ่อนหวาน และมีนิสัยที่ดี จึงมีเพื่อน ๆ ที่สนิทสนมในรุ่นราวคราวเดียวกันอย่างมากมาย ช่วงที่ อี๊ด ดวงใจ โด่งดังอยู่นั้น เธอมักได้รับการเปรียบเทียบกับนางเอกดังอีกท่านที่มีส่วนคล้ายคลึงกันหลายเรื่อง คือ อี๊ด รัชนู บุญชูดวง ซึ่งทั้งคู่ก็สนิทสนมกันในชีวิตจริง เริ่มตั้งแต่ชื่อเล่นเหมือนกัน เกิดปีเดียวกัน เป็นนางเอกลูกรักของผู้จัดช่อง 3 ในตอนนั้น อย่าง แม่แดง รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง เหมือนกัน เป็นนางเอกเรียบร้อยทั้งในและนอกจอเหมือนกัน และยังมีพระเอกคู่ขวัญคนเดียวกันคือ หนิง นิรุตติ์ ศิริจรรยา คู่ขวัญยุคนั้น ถ้าไม่ นิรุตติ์-ดวงใจ ก็ต้อง นิรุตติ์-รัชนู นางเอกร่วมรุ่นละครกับดวงใจท่านอื่น ๆ ก็มี ดวงดาว จารุจินดา, ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา, อรสา พรหมประทาน, ปิยะมาศ โมนยะกุล, ดวงตา ตุงคะมณี, เดือนเต็ม สาลิตุล, มยุรา ธนะบุตร (เศวตศิลา), ลินดา ค้าธัญเจริญ, อุทุมพร ศิลาพันธุ์ เป็นต้น ด้านชีวิตครอบครัว ดวงใจ ได้สมรสกับ วีรพงศ์ กรานเลิศ นักธุรกิจ ขณะที่เธอมีอายุ 34 ปีแล้ว มีบุตรชายหนึ่งคนคือ วีรจิตร กรานเลิศ ซึ่งขณะนี้เรียนจบและรับปริญญาแล้ว.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และดวงใจ หทัยกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

คลองสนามชัย

ลองสนามชัย หรือ คลองมหาชัย เป็นคลองที่ขุดขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระสรรเพชญที่ 8แห่งกรุงศรีอยุธยา แทนที่คลองโคกขามเดิม ซึ่งมีความคดเคี้ยวอย่างมาก เรียกคลองที่ขุดขึ้นใหม่นี้ว่า คลองพระพุทธเจ้าหลวง แต่ยังไม่ทันแล้วเสร็จก็สวรรคตไปก่อน ต่อมาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระได้โปรดเกล้าให้พระราชสงครามเป็นนายกอง เกณฑ์คนจากหัวเมืองปักษ์ใต้มาขุดต่อ หัวเมืองปักษ์ใต้ในสมัยนั้น หมายถึงหัวเมืองที่อยู่ทางใต้ของกรุงศรีอยุธยา เช่น เมืองสาครบุรี สามโคก ราชบุรี ธนบุรี นนทบุรี เพชรบุรี ใช้เวลาขุดสองเดือนจึงแล้วเสร็จ จุดเริ่มต้นของคลองอยู่ต่อจากคลองด่าน บริเวณแยกคลองบางขุนเทียน ในเขตจอมทอง แล้วไปออกแม่น้ำท่าจีนที่ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ตัวคลองลึก 6 ศอก และกว้าง 7 วา ใช้ในการคมนาคมขนส่ง และทำสงคราม และยังมีชาวต่างชาติใช้เส้นทางนี้ไปกรุงศรีอยุธยาโดยไม่ต้องผ่านเข้าทางแม่น้ำเจ้าพระยาอีกด้วย ผลสืบเนื่องที่สำคัญคือการบุกเบิกพื้นที่สองฝั่งคลองมาใช้ในการเกษตรอย่างกว้างขวาง นับเป็นผลงานสำคัญในรัชกาลนี้ นอกจากนั้นแล้ว ในปี พ.ศ. 2352 คลองสายนี้เป็นเส้นทางที่สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ ทรงใช้ยกทัพไปปราบพม่าที่เมืองถลางและเมืองชุมพรอีกด้วย ปัจจุบันคลองสนามชัยเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในกรุงเทพมหานคร และจ.สมุทรสาคร คลองมหาชัยนี้ยังเป็นที่มาของชื่อเรียกจังหวัดสมุทรสาครที่นิยมอีกด้วย เนื่องจากตัวเมืองตั้งอยู่ที่บริเวณปากคลองมหาชัยพอดี ในปัจจุบันนิยมเรียกคลองนี้ว่าคลองมหาชัย ใน.สมุทรสาคร และเรียกคลองสนามชัย ในฝั่งธนบุรี โดยทั่วไปไม่ได้เจาะจงว่าบริเวณใดเป็นจุดเริ่มต้นคลองสนามชัย แต่จะถือกันว่าคลองสนามชัยและคลองด่านเป็นคลองเดียวกันในละแวกนั้น ในเขตจอมทองจึงเรียกคลองนี้ทั้งคลองสนามชัย และคลองด่าน.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และคลองสนามชัย · ดูเพิ่มเติม »

ความซื่อสัตย์

วามซื่อสัตย์ หมายถึงแง่มุมหนึ่งของศีลธรรม แสดงถึงคุณลักษณะทางบวกและคุณธรรม อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความจริงใจ และความตรงไปตรงมา พร้อมด้วยความประพฤติตรง ตลอดจนการงดเว้นการโกหก การคดโกง หรือการลักขโมย เป็นต้น ยิ่งไปกว่านั้น ความซื่อสัตย์ยังหมายถึงความน่าไว้วางใจ ความภักดี ความเป็นธรรมและความบริสุทธิ์ใจอีกด้วย หลายเชื้อชาติและวัฒนธรรมของแต่ละศาสนาให้ค่าความซื่อสัตย์เป็นอย่างมาก.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และความซื่อสัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

นักมวยไทย

นักมวยไทยกับการไหว้ครูรำมวยซึ่งเป็นการร่ายรำก่อนทำการแข่งขันมวยไทย นักมวยไทย หมายถึงนักมวยในกีฬามวยไทย จนถึงปัจจุบันนี้ มีนักมวยไทยจากค่ายมวยไทยมากมายทั้งในประเทศและต่างประเทศ มีสถาบันฝึกสอนนักมวยไทยทั้งที่เป็นสำนักเรียน สถาบันการพลศึกษา มีการจัดการเรียนการสอนวิชามวยไทยในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึงได้มีโครงการจัดสอนถึงระดับปริญญาเอก รวมถึงมีองค์กรส่งเสริมควบคุมมาตรฐานและการจัดการแข่งขันมวยไทยระดับชาติและนานาชาติ มีกฎหมายในการควบคุมและคุ้มครองการจัดชกมวย ทั้งนี้ ฉายาของนักมวยไทย มักมีที่มาจากในหลายลักษณะ อาทิ ลักษณะการชก ความแข็งแกร่ง ความสามารถ และอาจรวมถึงเอกลักษณ์เฉะพาะตัว หรือในบางครั้ง อาจตั้งตามกระแสสังคม หรือ นำมาจากผู้มีชื่อเสียงในวงการต่างๆ เช่น การเมือง บันเทิง กีฬา มาเป็นแบบอย่าง โดยทั่วไปในปัจจุบัน เครื่องแต่งกายของนักมวยไทยจะสวมกางเกงขาสั้น และมีการสวมใส่นวม มีประเจียดรัดต้นแขน และมงคลสวมศีรษะขณะทำการไหว้ครูรำมว.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และนักมวยไทย · ดูเพิ่มเติม »

นาถยา แดงบุหงา

นาถยา แดงบุหงา มีชื่อจริงว่า นาถยา เบ็ญจศิริวรรณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตนักแสดงและนางแบบที่มีชื่อเสียง นอกจากจะเป็นดาราสาวที่ได้รับการยกย่องว่า ทั้งสวย ทั้งเก๋ และเก่ง แล้ว เธอคนนี้ยังได้ชื่อว่าเป็น “เจ้าแม่พรีเซ็นเตอร์” แห่งยุคอีกด้ว.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และนาถยา แดงบุหงา · ดูเพิ่มเติม »

นิรุตติ์ ศิริจรรยา

นิรุตติ์ ศิริจรรยา เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มต้นการศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ แล้วเดินทางไปเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรที่ประเทศออสเตรเลีย วิชาการบริหารธุรกิจ เป็นเวลา 1 ปีเต็ม และที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียอีก 2 ปีครึ่ง หลังกลับมาจากต่างประเทศ เข้าทำงานที่ AM PAC ตำแหน่งหน้าที่เอ็นจิเนียร์ จากนั้นย้ายไปทำงานตามสายการบินต่าง ๆ สุดท้ายคือบริษัทสายการบินอาลิตาเลีย นิรุตติ์เริ่มต้นด้วยการแสดงละครโทรทัศน์ โดยการชักชวนจาก เทิ่ง สติเฟื่อง และเข้าสู่วงการภาพยนตร์ จากนั้นนิรุตติ์ก็มีงานแสดงภาพยนตร์เรื่อยมา โดยส่วนใหญ่จะได้แสดงประกบพระเอกอื่นๆ แต่ก็ยังมีงานละครโทรทัศน์พร้อมอีกด้วย โฆษณ.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และนิรุตติ์ ศิริจรรยา · ดูเพิ่มเติม »

น้ำตาแสงไต้

ลงน้ำตาแสงไต้ เป็นเพลงประกอบละครเรื่อง "พันท้ายนรสิงห์" ที่จัดแสดงที่ศาลาเฉลิมไทย เมื่อ..

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และน้ำตาแสงไต้ · ดูเพิ่มเติม »

โมโน 29

นีโทรทัศน์โมโน 29 (Mono 29) เป็นช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ซึ่งผลิตโดยกลุ่มโมโน ซึ่งมีชื่อเสียงจากการจัดทำเว็บไซต์เอ็มไทย มีเนื้อหานำเสนอรายการข่าวและบันเทิง โดยเฉพาะภาพยนตร์และละครชุดจากต่างประเทศมากมาย อันเป็นเอกลักษณ์เด่นของช่อง โดยเริ่มทดลองออกอากาศ เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และโมโน 29 · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โทษประหารชีวิต

ประเทศที่เลิกใช้โทษประหารชีวิต: 103 ประเทศ โทษประหารชีวิต หรือ อุกฤษฏ์โทษ (capital punishment, death penalty) เป็นกระบวนการทางกฎหมายซึ่งรัฐลงโทษอาชญากรรมของบุคคลด้วยการทำให้ตาย คำสั่งของศาลที่ให้ลงโทษบุคคลในลักษณะนี้ เรียก การลงโทษประหารชีวิต ขณะที่การบังคับใช้โทษนี้ เรียก การประหารชีวิต อาชญากรรมที่มีโทษประหารชีวิต เรียก "ความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ" คำว่า capital มาจากคำภาษาละตินว่า capitalis ความหมายตามตัวอักษร คือ "เกี่ยวกับหัว" (หมายถึงการประหารชีวิตโดยการตัดหัว) สังคมอดีตส่วนมากนั้นมีโทษประหารชีวิตโดยเป็นการลงโทษอาชญากร และผู้ไม่เห็นด้วยทางการเมืองหรือศาสนา ในประวัติศาสตร์ การลงโทษประหารชีวิตมักสัมพันธ์กับการทรมาน และมักประหารชีวิตในที่สาธารณะ ปัจจุบันมีประเทศที่ยังคงโทษประหารชีวิต 58 ประเทศ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตสำหรับอาชญากรรมทุกรูปแบบโดยนิตินัย 98 ประเทศ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตเฉพาะอาชญากรรมปรกติ 7 ประเทศ (โดยคงไว้สำหรับพฤติการณ์พิเศษ เช่น อาชญากรรมสงคราม) และประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตโดยพฤตินัย (คือ ไม่ได้ใช้โทษประหารชีวิตอย่างน้อยสิบปี และอยู่ระหว่างงดใช้โทษ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง) องค์การนิรโทษกรรมสากลมองว่าประเทศส่วนใหญ่เป็นผู้ยกเลิก (abolitionist) โดยองค์การฯ พิจารณาว่า 140 ประเทศเป็นผู้ยกเลิกในทางกฎหมายหรือทางปฏิบัติ การประหารชีวิตเกือบ 90% ทั่วโลกเกิดในทวีปเอเชีย แทบทุกประเทศในโลกห้ามการประหารชีวิตบุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปีขณะก่อเหตุ นับแต่ปี 2552 มีเพียงประเทศอิหร่าน ซาอุดิอาระเบียและซูดานที่ยังประหารชีวิตลักษณะนี้ กฎหมายระหว่างประเทศห้ามการประหารชีวิตประเภทนี้ โทษประหารชีวิตกำลังเป็นประเด็นการถกเถียงอยู่ในหลายประเทศ และจุดยืนอาจมีได้หลากหลายในอุดมการณ์ทางการเมืองหรือภูมิภาคทางวัฒนธรรมหนึ่ง ๆ ในรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป ข้อ 2 แห่งกฎบัตรสิทธิมูลฐานแห่งสหภาพยุโรปห้ามการใช้โทษประหารชีวิต สภายุโรปซึ่งมีรัฐสมาชิก 47 ประเทศ ยังห้ามสมาชิกใช้โทษประหารชีวิต สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติลงมติรับข้อมติไม่ผูกพันในปี 2550, 2551 และ 2553 เรียกร้องให้มีการผ่อนเวลาการประหารชีวิตทั่วโลก ซึ่งมุ่งให้ยกเลิกในที่สุด แม้หลายชาติยกเลิกโทษประหารชีวิตแล้ว แต่ประชากรโลกกว่า 60% อาศัยอยู่ในประเทศซึ่งเกิดการประหารชีวิต เช่น สี่ประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก คือ จีน อินเดีย สหรัฐอเมริกาและอินโดนีเซีย ซึ่งยังใช้บังคับโทษประหารชีวิต ทั้งสี่ประเทศออกเสียงคัดค้านข้อมติสมัชชาใหญ่ดังกล่าว.

ใหม่!!: พันท้ายนรสิงห์และโทษประหารชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ศาลพันท้ายนรสิงห์พันท้ายนรสิงห์ (ละครโทรทัศน์ไทย)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »