โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จ่าดับ จำเปาะ

ดัชนี จ่าดับ จำเปาะ

ับ จำเปาะ เป็นตัวละครสมมติ สร้างโดย ส. อาสนจินดา ซึ่งปรากฏอยู่ในภาพยนตร์ชุด หนึ่งต่อเจ็ด ภาพยนตร์ไทยแนวแอ็คชั่นนักเลง-ตลก ช่วงปี..

60 ความสัมพันธ์: ชุมทางหาดใหญ่ (ภาพยนตร์)พ.ศ. 2501พ.ศ. 2502พ.ศ. 2506พ.ศ. 2508พ.ศ. 2509พ.ศ. 2510พ.ศ. 2512พ.ศ. 2519พ.ศ. 2520พ.ศ. 2545พ.ศ. 2548พ.ศ. 2553พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงกรุง ศรีวิไลกุณฑีรา สัตตบงกชภาพยนตร์ไทยรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2502รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2506รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2508รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2510รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2512ละครโทรทัศน์ลักษณ์ อภิชาติวิไลวรรณ วัฒนพานิชศรินทิพย์ ศิริวรรณสมชาย อาสนจินดาสมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐสรพงศ์ ชาตรีสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนลสามารถ พยัคฆ์อรุณสายัณห์ จันทรวิบูลย์สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์สถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สงครามโลกครั้งที่สองสงครามเวียดนามหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2501)หนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520)อัมรินทร์ นิติพนอำนวย กลัสนิมิอดุลย์ ดุลยรัตน์ทักษิณ แจ่มผลค่อม ชวนชื่นตรุษจีนฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมินักเลงเดี่ยวนิรุตติ์ ศิริจรรยาแช่ม แช่มรัมย์แม่ไม้มวยไทย...เก่งกาจ จงใจพระเล็บครุฑเจ็ดแหลกเท่ง เถิดเทิง11 กุมภาพันธ์14 กุมภาพันธ์26 เมษายน7 ตุลาคม7 ประจัญบาน7 ประจัญบาน 2 ขยายดัชนี (10 มากกว่า) »

ชุมทางหาดใหญ่ (ภาพยนตร์)

มทางหาดใหญ่ หรือชื่ออื่น หนึ่งต่อเจ็ด ตอนใหม่ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและชุมทางหาดใหญ่ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง

งษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด อ๊อฟจบปริญญาตรี พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ดูเพิ่มเติม »

กรุง ศรีวิไล

กรุง ศรีวิไล มีชื่อจริงว่า กรุงศรีวิไล สุทินเผือก (ชื่อเดิม: นที สุทินเผือก; ชื่อเล่น: เอ๊ด) เกิดวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 ที่อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานอย่างเช่นเรื่อง ลูกยอด ชู้ ทอง ตัดเหลี่ยมเพชร ซุปเปอร์ลูกทุ่ง คืนนี้ไม่มีพระจันทร์ มีนัดไว้กับหัวใจ เสาร์ห้า เดียมห์ เพศสัมพันธ์อันตราย แมงดาปีกทอง สาวแรงสูง.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและกรุง ศรีวิไล · ดูเพิ่มเติม »

กุณฑีรา สัตตบงกช

กุณฑีรา สัตตบงกช (ขื่อเล่น: เมย์; เกิดเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2524) เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง ธิดาช้าง และ โคลิค เด็กเห็นผี จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาสถิติ เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงโดยการเป็น รองนางสาวไทยอันดับ 2 ประจำปี 2543 (ปีนางสาวไทยคือ บุ๋ม ปนัดดา วงศ์ผู้ดี) และมีผลงานจากการถ่ายโฆษณาและเป็นพิธีกรมากมายในช่วยนั้น จึงได้มีโอกาสแสดงภาพยนตร์จนเป็นที่รู้จักจากเรื่อง ธิดาช้าง เป็นต้น ปัจจุบัน เป็นนักธุรกิจบริษัทยูนิซิตี้ระดับ Presidential Director.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและกุณฑีรา สัตตบงกช · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2502

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2506

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2508

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2510

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2512

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน พ.ศ. 2512.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

ละครโทรทัศน์

ละครโทรทัศน์ คือรายการทางโทรทัศน์ที่มีบทละครและเรื่องราว ไม่รวมถึงรายการจำพวก กีฬา ข่าว เรียลลิตี้โชว์ เกมโชว์ สแตนอัพคอเมดี้ และวาไรตี้โชว์ โดยละครโทรทัศน์โดยมากจะมีหลายตอน เน้นความบันเทิงเป็นหลัก เพื่อการรับชมภายในเคหสถาน นักแสดงที่แสดงในละครโทรทัศน์จะใช้หลายมุมกล้อง บางครั้งนักแสดงจะไม่ทราบว่าเมื่อไรกล้องจะจับภาพ ทางด้านบทละครโทรทัศน์ ต้องมีความละเอียดทุกขั้นตอนกว่าละครเวที เพราะบทโทรทัศน์เป็นตัวกำหนดมุมกล้อง กำหนดฉาก การแต่งกายของผู้แสดง ดนตรี เสียงประกอบ และบางเรื่องยังมีคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามาเพื่อความสมจริงอีกด้ว.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและละครโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

ลักษณ์ อภิชาติ

ลักษณ์ อภิชาติ (9 ตุลาคม พ.ศ. 2498-26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547) อดีตนักแสดงผู้ล่วงลับ มีชื่อจริงว่า ลักษณ์ กุลศิริวุฒิชัย เกิดเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและลักษณ์ อภิชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วิไลวรรณ วัฒนพานิช

วิไลวรรณ วัฒนพานิช (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 -) นักแสดงหญิงชาวไทย เจ้าของฉายา "ดาราเจ้าน้ำตา" และเธอเป็นนักแสดงนำหญิงคนแรกที่ได้รับรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง เมื่อปี พ.ศ. 2500.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและวิไลวรรณ วัฒนพานิช · ดูเพิ่มเติม »

ศรินทิพย์ ศิริวรรณ

รินทิพย์ ศิริวรรณ นักแสดงอาวุโส ผู้เคยรับบทนำในภาพยนตร์ โรงแรมนรก ของ รัตน์ เปสตันยี คู่กับชนะ ศรีอุบล และสุรสิทธิ์ สัตยวงศ์ เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง 3 ครั้ง เป็นรางวัลนักแสดงประกอบหญิง 2 ครั้ง จากเรื่อง ขบวนเสรีจีน (2502) และ ลูกอีสาน (2525) และรางวัลตลกหญิงยอดเยี่ยม จากเรื่อง ไม่สิ้นไร้ไฟสวาท (2529) ระยะหลังหันมาแสดงละครโทรทัศน์ เนื่องจากเป็นดาราหน้าตาย ไม่ค่อยยิ้ม จึงมักได้รับบทแม่ บทที่เป็นที่จดจำคือ บทหม่อมแม่ ของคุณชายกลาง ในเรื่องบ้านทรายทอง ฉบับจารุณี สุขสวัสดิ์-พอเจตน์ แก่นเพชร ศรินทิพย์ มีชื่อจริงว่า ไพลิน คอลลิน เกิดที่อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เมื่อ พ.ศ. 2469 บิดาเป็นชาวเนเธอร์แลนด์ จบการศึกษาจากโรงเรียนผดุงดรุณี แล้วไปสมัครเป็นนักร้องของวงดนตรีกรมสรรพสามิต และได้พบรักกับชาลี อินทรวิจิตร นักแต่งเพลง และแต่งงานกัน ชาลี อินทรวิจิตร ได้นำเธอไปฝากฝังกับ อรรถ อรรถไกวัลวที ผู้จัดการคณะละครเทพศิลป์ ซึ่งชักนำเข้าสู่วงการ และตั้งชื่อให้ว่า "ศรินทิพย์ ศิริวรรณ" ได้แสดงภาพยนตร์เรื่อง โรงแรมนรก เป็นเรื่องแรกในปี..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและศรินทิพย์ ศิริวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย อาสนจินดา

มชาย อาสนจินดา หรือ.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและสมชาย อาสนจินดา · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ

มศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ หรือ เสี่ยเจียง ผู้ก่อตั้งบริษัท สหมงคลฟิล์ม จำกัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2513 (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ในปี พ.ศ. 2545) ผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของ สุริโยไท และ องค์บาก.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและสมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

สรพงศ์ ชาตรี

รพงษ์ ชาตรี หรือชื่อจริง กรีพงษ์ เทียมเศวต หรือ พิทยา เทียมเศวต นักแสดงชายชั้นแนวหน้าของไทย ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและสรพงศ์ ชาตรี · ดูเพิ่มเติม »

สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล

ริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เป็นบริษัทธุรกิจผู้สร้างและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำเข้าภาพยนตร์จากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์ฮ่องกง, ภาพยนตร์ฮอลลีวูด ก่อตั้งและบริหารงานโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ตั้งแต..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

สามารถ พยัคฆ์อรุณ

มารถ พยัคฆ์อรุณ แชมป์โลกมวยสากลอาชีพคนที่ 10 ของไทย และอดีตยอดนักมวยไทยชื่อดัง.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและสามารถ พยัคฆ์อรุณ · ดูเพิ่มเติม »

สายัณห์ จันทรวิบูลย์

ัณห์ จันทรวิบูลย์ ชื่อเล่น ตุ๋ย เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2491 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอดีตนักแสดงที่เคยได้รับฉายาว่า หุ่นทรมานใจสาว สายัณห์เกิดในครอบครัวลิเก ฉะอ้อน เรืองศิลป์ มีพี่น้อง 7 คน เข้าสู่วงการบันเทิงขณะที่กำลังศึกษาต่อที่วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรมศิลปากร ขณะที่กำลังรับบทพระรามในละครเวทีของกรมศิลปากรเรื่องรามเกียรติ์ จากการชักนำของหลานพระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ ยุคล ซึ่งเป็นเพื่อนร่วมห้องให้มาเป็นพระเอกเรื่อง ละครเร่ ของอัศวินภาพยนตร์ ก้าวสู่วงการบันเทิงโดยการสนับสนุนของหม่อมปริม บุนนาค ต่อด้วยบทพระรองในเรื่อง โทน และมีผลงานออกมาอย่างต่อเนื่อง และยังมีผลงานทางจอแก้วด้วยการแสดงละครทีวีเรื่องแรกในเรื่อง "รอยมลทิน" ของคณะศรีไทยการละคร เรื่องต่อมา "นางพญาม่านจู" และ "หัวหมู่เจน" เมื่อปี..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและสายัณห์ จันทรวิบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรสิทธิ์ สัตยวงษ์

รสิทธิ์ สัตยวงศ์ (พ.ศ. 2466 - พ.ศ. 2526) อดีตนักร้อง นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและสุรสิทธิ์ สัตยวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่

นีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ ตั้งอยู่บนถนนรถไฟ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นสถานีรถไฟ ระดับ 1 ของทางรถไฟสายใต้ โดยจากจุดนี้ทางรถไฟจะแยกออกเป็นสองสาย คือ.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเวียดนาม

งครามเวียดนาม หรือ สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง หรือที่ชาวเวียดนามรู้จักกันในชื่อ สงครามอเมริกา เป็นสงครามตัวแทนสมัยสงครามเย็นที่เกิดขึ้นในประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาตั้งแต่เดือนธันวาคม 2498 กระทั่งกรุงไซ่ง่อนแตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2518 สงครามเวียดนามนี้เกิดขึ้นหลังสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และมีเวียดนามเหนือซึ่งได้รับการสนับสนุนจากจีน สหภาพโซเวียตและพันธมิตรคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามฝ่ายหนึ่ง กับรัฐบาลเวียดนามใต้ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐและประเทศที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามอีกฝ่ายหนึ่ง เวียดกง (หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ) เป็นแนวร่วมประชาชนคอมมิวนิสต์เวียดนามใต้ที่ติดอาวุธเบาซึ่งมีเวียดนามเหนือสั่งการ สู้รบในสงครามกองโจรต่อกำลังต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค กองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) ต่อสู้ในสงครามตามแบบมากกว่า และบางครั้งส่งหน่วยขนาดใหญ่เข้าสู่ยุทธการ เมื่อสงครามดำเนินไป ส่วนการต่อสู้ของเวียดกงลดลงขณะที่บทบาทของกองทัพประชาชนเวียดนามเพิ่มขึ้น กำลังสหรัฐและเวียดนามใต้อาศัยความเป็นเจ้าเวหาและอำนาจการยิงที่เหนือกว่าเพื่อดำเนินปฏิบัติการค้นหาและทำลาย ซึ่งรวมถึงกำลังภาคพื้นดิน ปืนใหญ่และการโจมตีทางอากาศ ตลอดห้วงสงคราม สหรัฐดำเนินการทัพทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ขนานใหญ่ต่อเวียดนามเหนือ และต่อมาน่านฟ้าเวียดนามเหนือกลายเป็นน่านฟ้าที่มีการป้องกันหนาแน่นที่สุดในโลก รัฐบาลสหรัฐมองว่าการเข้ามามีส่วนในสงครามของตนเป็นหนทางป้องกันการยึดเวียดนามใต้ของคอมมิวนิสต์อันเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาที่ใหญ่กว่า โดยมีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อหยุดการแพร่ของคอมมิวนิสต์ ตามทฤษฎีโดมิโนของสหรัฐ หากรัฐหนึ่งกลายเป็นคอมมิวนิสต์ รัฐอื่นในภูมิภาคก็จะเป็นไปด้วย ฉะนั้น นโยบายของสหรัฐจึงถือว่าการผ่อนปรนการแพร่ของคอมมิวนิสต์ทั่วประเทศเวียดนามนั้นยอมรับไม่ได้ รัฐบาลเวียดนามเหนือและเวียดกงต่อสู้เพื่อรวมเวียดนามอยู่ในการปกครองคอมมิวนิสต์ ทั้งสองมองข้อพิพาทนี้เป็นสงครามอาณานิคม ซึ่งเริ่มแรกสู้กับฝรั่งเศส โดยได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ แล้วต่อมาสู้กับเวียดนามใต้ ซึ่งถูกมองว่าเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหรัฐ ที่ปรึกษาทางทหารชาวอเมริกันมาถึงอินโดจีนขณะนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 2493 การเข้ามามีส่วนของสหรัฐเพิ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีระดับทหารเพิ่มเป็นสามเท่าในปี 2494 และเพิ่มอีกสามเท่าในปีต่อมา การเข้ามามีส่วนของสหรัฐทวีขึ้นอีกหลังเหตุการณ์อ่าวตังเกี๋ย ปี 2507 ซึ่งเรือพิฆาตของสหรัฐปะทะกับเรือโจมตีเร็วของเวียดนามเหนือ ซึ่งตามติดด้วยข้อมติอ่าวตังเกี๋ยซึ่งอนุญาตให้ประธานาธิบดีสหรัฐเพิ่มทหารในพื้นที่ หน่วยรบปกติของสหรัฐถูกจัดวางเริ่มตั้งแต่ปี 2498 ปฏิบัติการข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ โดยพื้นที่ติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชาถูกกองทัพสหรัฐทิ้งระเบิดอย่างหนักขณะที่การเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐเพิ่มขึ้นสูงสุดในปี 2511 ปีเดียวกัน ฝ่ายคอมมิวนิสต์เปิดฉากการรุกตรุษญวน การรุกตรุษญวนไม่สัมฤทธิ์ผลในการโค่นรัฐบาลเวียดนามใต้ แต่ได้กลายเป็นจุดพลิกผันของสงคราม เพราะได้แสดงว่าเวียดนามใต้ไม่อาจป้องกันตัวเองจากเวียดนามเหนือได้ แม้สหรัฐจะทุ่มความช่วยเหลือทางทหารอย่างมหาศาลหลายปี ด้วยจุดชัยชนะของสหรัฐนั้นไม่ชัดเจน จึงค่อย ๆ มีการถอนกำลังภาคพื้นดินของสหรัฐโดยเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเรียก การแผลงเป็นเวียดนาม (Vietnamization) ซึ่งมุ่งยุติการเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐขณะที่โอนภารกิจต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ให้เวียดนามใต้เอง แม้ภาคีทุกฝ่ายลงนามข้อตกลงสันติภาพปารีสในเดือนมกราคม 2516 แล้วก็ตาม แต่การสู้รบยังดำเนินต่อไป ในสหรัฐและโลกตะวันตก มีการพัฒนาขบวนการต่อต้านสงครามเวียดนามขนาดใหญ่ขึ้น ขบวนการนี้ทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมต่อต้าน (Counterculture) แห่งคริสต์ทศวรรษ 1960 และเป็นปัจจัยหนึ่งของมัน การมีส่วนร่วมทางทหารของสหรัฐยุติลงเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2516 อันเป็นผลมาจากคำแปรญัตติเคส–เชิร์ช (Case–Church Amendment) ที่รัฐสภาสหรัฐผ่าน การยึดกรุงไซ่ง่อนโดยกองทัพประชาชนเวียดนามในเดือนเมษายน 2518 เป็นจุดสิ้นสุดของสงคราม และมีการรวมชาติเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ในปีต่อมา สงครามนี้คร่าชีวิตมนุษย์ไปมหาศาล ประเมินตัวเลขทหารและพลเรือนชาวเวียดนามที่ถูกสังหารมีตั้งแต่น้อยกว่า 1 ล้านคนเล็กน้อย ไปถึงกว่า 3 ล้านคน ชาวกัมพูชาเสียชีวิตราว 2-3 แสนคนHeuveline, Patrick (2001).

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและสงครามเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2501)

หนึ่งต่อเจ็ด เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501 ในระบบถ่ายทำฟิล์ม 16 มม., สี เป็นผลงานกำกับของ ส.อาสนจินดา เป็นภาพยนตร์ตอนแรกในภาพยนตร์ชุด หนึ่งต่อเจ็ด โดยเป็นเรื่องราววีรกรรมการกอบกู้ชาติไทย มีตัวละครที่เด่นสุดคือ จ่าดับ จำเปาะ รับบทโดย ส.อาสนจินดา ปรากฏโฉมครั้งแรกในภาพยนตร์เรื่องนี้ ชื่อของ จ่าดับ จำเปาะ, เหมาะ เชิงมวย, ตังกวย แซ่ลี้, อัคคี เมฆยันต์, ดั่น มหิธา, กล้า ตะลุมพุก, จุก เบี้ยวสกุล ก็กลายเป็นวีรบุรุษของคนไทยเฉพาะในภาพยนตร์ หนึ่งต่อเจ็ด สร้างมาจากความเคืองแค้นโรงภาพยนตร์อันเนื่องมาจากภาพยนตร์ตั้งใจสร้างอย่าง พ่อจ๋า (2500) ที่ฉายโรงภาพยนตร์แกรนด์ โดนกลั่นแกล้งที่กำลังทำเงินแต่โดนออกจากโรง ขณะภาพยนตร์อีกเรื่อง สุภาพบุรุษสลึมสลือ (2500) ภาพยนตร์แอ็คชั่นที่ไม่ได้บรรจงสร้างเหมื่อนพ่อจ๋ากลับทำเงิน ต่อมาเจ้าของโรงภาพยนตร์พัฒนากรให้เงินก้อนหนึ่งให้.อาสนจินดา ไปสร้างภาพยนตร์แอ็คชั่นมาเข้าช่วงเทศกาลตรุษจีนในปี พ.ศ. 2501.อาสนจินดาจึงสร้างภาพยนตร์เรื่องหนึ่งต่อเจ็ดในเวลาเพียง 27 วันในการถ่ายทำก่อนฉายในวันตรุษจีนตามเงื่อนไข นำแสดงโดย สุรสิทธิ์ สัตยวงศ์, วิไลวรรณ วัฒนพานิช, วิภา วัฒนธำรงค์, ศรินทิพย์ ศิริวรรณ, อดุลย์ ดุลยรัตน์,.อาสนจินดา, ทม วิศวชาติ และ สมชาย ตันฑกำเนิด ภาพยนตร์เรื่องนี้เข้าฉายเมื่อวันที่ 14 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2501) · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520)

1 ต่อ 7 หรือ หนึ่งต่อเจ็ด เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2520 โดยนำภาพยนตร์ชื่อเดียวกัน ของ ส.อาสนจินดา นำกลับมาสร้างใหม่ เนื่องจากในยุคนั้น ขณะที่กระแสหนังแนวบู๊ประเภทประกบดาราและชื่อตัวละครต้องอ่านได้สัมผัสคล้องจองกันกำลังเป็นที่นิยม ทางค่ายก็หยิบเอาหนังเก่าเรื่องราวของนักสู้ 7 คนซึ่งเขียน.อาสนจินดา กลับมาปัดฝุ่นสร้างใหม่อีกครั้ง ในระบบ 35 มม.พากย์เสียงในฟิล์ม.อาสนจินดา มาสร้างและกำกับเองเป็นครั้งที่สอง บทของจ่าดับ จำเปาะ ตกเป็นของ ทักษิณ แจ่มผล แต.อาสนจินดา ยังคงรับหน้าที่กำกับเช่นเคย และที่สำคัญเนื้อหาเรื่องราวในแต่ละภาค มักหยิบนำเอาเรื่องของสถานการณ์ปัจจุบันในยุคสมัยนั้น โดยมี สหมงคลฟิล์ม เป็นผู้จัดจำหน่าย อำนวยการสร้างโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ นำแสดงโดย กรุง ศรีวิไล, สรพงศ์ ชาตรี, นิรุตติ์ ศิริจรรยา, สายัณห์ จันทรวิบูลย์, ทักษิณ แจ่มผล, ลักษณ์ อภิชาติ สร้างกลางปี พ.ศ. 2519 ภาพยนตร์เรื่องนี้เข้าฉายต้อนรับตรุษจีน 11 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและหนึ่งต่อเจ็ด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2520) · ดูเพิ่มเติม »

อัมรินทร์ นิติพน

อัมรินทร์ นิติพน (อ่ำ) เกิดเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 ที่ ร..ราชวิถี เมื่อเวลา 00.55 น. จึงเป็นที่มาของชื่ออัลบั้มชุดแรก “00.55 น. ลืมตามาอ่ำ” เป็นนักร้อง นักแสดง พิธีกร นักกอล์ฟ อ่ำมีพี่น้องท้องเดียวกันทั้งหมด 4 คน คือ อั๋น (องอาจ นิติพน) อ่ำ (อัมรินทร์ นิติพน) ก้อง (อรรฆรัตน์ นิติพน) และอุ๋ม (อาภาศิริ นิติพน) พ่อแม่แยกทางกันตั้งแต่อ่ำอายุ 8 ปี อ่ำเข้าศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลสารินันท์ ย่านบางเขน จากนั้นเรียนต่อชั้นมัธยมที่โรงเรียนศรีวิกรม์ วัยเรียนเด็กชายอัมรินทร์ค่อนข้างเกเร จนเรียนจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ช้ากว่าเพื่อนๆ ไปครึ่งเทอม ทำให้ไม่ทันสอบเอ็นทรานซ์ อ่ำจึงตัดสินใจลงเรียนคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงไว้ก่อน ต่อจากนี้ก็เข้ามาเรียนคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต แต่เรียนได้เพียงเทอมเดียวก็ขอลาออก เพราะปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันของครอบครัว อ่ำได้นำเดโมของตัวเองและเพื่อนเข้าค่ายเพลงแต่ได้รับการปฏิเสธ จนบริษัทแกรมมี่รับสมัครนักร้องจึงไปสมัคร และผ่านการเทสต์หน้ากล้อง ในช่วงแรกเข้ามาเป็นดีเจและพีธีกรในรายการ แบง แบง แบ็งคอก กับยู่ยี่ อลิสา อินทุสมิต จนได้มีผลงานเพลงอัลบั้มแรก “00.55 น. ลืมตามาอ่ำ” อ่ำมีธุรกิจส่วนตัว ชื่อร้าน 72 Race & Bar ชีวิตส่วนตัว เคยใช้ชีวิตคู่กับ จอย - อัจฉริยา อังคสุวรรณศิริ มีบุตรสาว 1 คน ชื่อ.ญ.อชิรญา นิติพน (แอลลี่) ปัจจุบันอ่ำได้ออกมาแถลงข่าวว่าได้จดทะเบียนหย่ากันแล้ว เมื่อปี..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและอัมรินทร์ นิติพน · ดูเพิ่มเติม »

อำนวย กลัสนิมิ

ใจเพชร (2506) ชโลมเลือด (2506) พันธุ์ลูกหม้อ (2507) สิงห์ล่าสิงห์ (2507) ผู้ชนะสิบทิศ ตอน ยอดขุนพล (2509) อำนวย กลัสนิมิ หรือ ครูเนรมิต (พ.ศ. 2458 − 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ ผู้บุกเบิกการสร้างภาพยนตร์ไทยด้วยฟิล์ม 16 ม.ม. ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้สร้างภาพยนตร์-ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปี..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและอำนวย กลัสนิมิ · ดูเพิ่มเติม »

อดุลย์ ดุลยรัตน์

อดุลย์ ดุลยรัตน์ (5 เมษายน พ.ศ. 2475 - 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดง ผู้กำกับชาวไทย มีตำแหน่งเป็น คณะกรรมการของสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและอดุลย์ ดุลยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ แจ่มผล

ทักษิณ แจ่มผล หรือ ทิวา แจ่มผล อดีตดาราทั้งดาวดี ดาวร้ายและผู้กำกับชาวไทย เกิดวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2467 ที่จังหวัดภูเก็ต.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและทักษิณ แจ่มผล · ดูเพิ่มเติม »

ค่อม ชวนชื่น

อม ชวนชื่น ชื่อจริง อาคม ปรีดากุล เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2500 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักแสดงตลกชาวไทย อีกทั้งเป็นอดีตสมาชิกตลกคณะชวนชื่น.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและค่อม ชวนชื่น · ดูเพิ่มเติม »

ตรุษจีน

pinoy301770 ตรุษจีน เป็นวันหยุดตามประเพณีของจีนที่สำคัญที่สุด ในประเทศจีน ยังมีอีกชื่อหนึ่งว่า "เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ" เพราะฤดูใบไม้ผลิตามปฏิทินจีนเริ่มต้นด้วยวันลีชุน ซึ่งเป็นวันแรกในทางสุริยคติของปีปฏิทินจีน วันดังกล่าวยังเป็นวันสิ้นสุดฤดูหนาว ซึ่งคล้ายกันกับงานเทศกาลของตะวันตก เทศกาลนี้เริ่มต้นในวันที่ 1 เดือน 1 (正月) ในปฏิทินจีนโบราณและสิ้นสุดลงในวันที่ 15 ด้วยเทศกาลโคมไฟ คืนก่อนตรุษจีนเป็นวันซึ่งครอบครัวจีนมารวมญาติเพื่อรับประทานอาหารเย็นเป็นประจำทุกปี ซึ่งเรียกว่า ฉูซี่ (除夕) หรือ "การผลัดเปลี่ยนยามค่ำคืน" เนื่องจากปฏิทินจีนเป็นแบบสุริยจันทรคติ ตรุษจีนจึงมักเรียกว่า "วันขึ้นปีใหม่จันทรคติ" ตรุษจีนเป็นงานเฉลิมฉลองที่ยาวที่สุดและสำคัญที่สุดในปฏิทินจีน จุดกำเนิดของตรุษจีนนั้นมีประวัติหลายศตวรรษและมีความสำคัญเพราะตำนานและประเพณีหลายอย่าง ตรุษจีนมีการเฉลิมฉลองกันในหลายประเทศและดินแดนซึ่งมีประชากรจีนอาศัยอยู่มาก อย่างเช่น จีนแผ่นดินใหญ่ ฮ่องกง อินโดนีเซีย มาเก๊า มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไต้หวัน ไทย รวมทั้งในชุมชนชาวจีนที่อื่น ตรุษจีนถูกมองว่าเป็นวันหยุดสำคัญสำหรับชาวจีนและได้มีอิทธิพลต่อการเฉลิมฉลองการขึ้นปีใหม่จันทรคติของประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งรวมทั้งเกาหลี (โซลนาล) ภูฏาน และเวียดนาม ในประเทศจีน ธรรมเนียมและประเพณีท้องถิ่นเกี่ยวกับการเฉลิมฉลองตรุษจีนนั้นหลากหลายมาก ประชาชนจะเทเงินของตนเพื่อซื้อของขวัญ ของประดับตกแต่ง วัสดุ อาหารและเครื่องนุ่งห่ม นอกจากนี้ยังมีประเพณีว่า ทุกครอบครัวจะทำความสะอาดบ้านอย่างละเอียดลออ เพื่อปัดกวาดโชคร้ายด้วยหวังว่าจะเปิดทางให้โชคดีเข้ามา มีการประดับหน้าต่างและประตูด้วยกระดาษตัดสีแดงและคู่กับธีม "โชคดี", "ความสุข", "ความมั่งคั่ง" และ "ชีวิตยืนยาว" ที่ได้รับความนิยม ในคืนก่อนตรุษจีน อาหารค่ำเป็นการกินเลี้ยงกับครอบครัว อาหารนั้นจะมีเช่น หมู เป็ด ไก่และอาหารอย่างดี (delicacies) รสหวาน ครอบครัวจะปิดท้ายค่ำคืนด้วยประทัด เช้าวันรุ่งขึ้น เด็กจะทักทายบิดามารดาของตนโดยอวยพรพวกท่านให้มีสุขภาพดีและสวัสดีปีใหม่ และได้รับเงินอั่งเปา ประเพณีตรุษจีนนั้นเพื่อการสมานฉันท์ ลืมความบาดหมางและปรารถนาสันติและความสุขแก่ทุกคนอย่างจริงใจ แม้ปฏิทินจีนแต่โบราณไม่ใช้ปีตัวเลขต่อเนื่องกัน นอกประเทศจีน ปีจีนจึงมักนับเลขนับแต่รัชสมัยจักรพรรดิเหลือง แต่เนื่องจากมีการกำหนดให้อย่างน้อยสามปีเป็นเลข 1 ที่นักวิชาการใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน จึงทำให้ปี..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและตรุษจีน · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ

ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ (23 พฤศจิกายน 2474 -) นักเขียนนวนิยายที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2540 เป็นเจ้าของนามปากกา พนมเทียน ผู้แต่ง เพชรพระอุมา ฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ เกิดที่จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรคนสุดท้องของขุนวิเศษสุวรรณภูมิ กับนางสะอาด รัตนกุล เริ่มเขียนนวนิยายเรื่องแรกตั้งแต่สมัยเรียนมัธยมที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เรื่อง “เห่าดง” ลงในสมุดอ่านกันเล่น เมื่อ พ.ศ. 2484 นอกจากเขียนนวนิยายแล้ว ฉัตรชัยยังเป็นคอลัมนิสต์เขียนบทความเกี่ยวกับอาวุธปืน ในหนังสือพิมพ์และนิตยสารบางฉบับด้วย โดยใช้ชื่อจริง และนามปากกา "ก้อง สุรกานต์".

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและฉัตรชัย วิเศษสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

นักเลงเดี่ยว

นักเลงเดี่ยว เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2501 เป็นผลงานกำกับของ ส.อาสนจินดา เป็นภาคต่อของ หนึ่งต่อเจ็ด (2501) ออกฉายปีเดียวกับภาคแรก ในปลายปี..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและนักเลงเดี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

นิรุตติ์ ศิริจรรยา

นิรุตติ์ ศิริจรรยา เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มต้นการศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ แล้วเดินทางไปเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรที่ประเทศออสเตรเลีย วิชาการบริหารธุรกิจ เป็นเวลา 1 ปีเต็ม และที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียอีก 2 ปีครึ่ง หลังกลับมาจากต่างประเทศ เข้าทำงานที่ AM PAC ตำแหน่งหน้าที่เอ็นจิเนียร์ จากนั้นย้ายไปทำงานตามสายการบินต่าง ๆ สุดท้ายคือบริษัทสายการบินอาลิตาเลีย นิรุตติ์เริ่มต้นด้วยการแสดงละครโทรทัศน์ โดยการชักชวนจาก เทิ่ง สติเฟื่อง และเข้าสู่วงการภาพยนตร์ จากนั้นนิรุตติ์ก็มีงานแสดงภาพยนตร์เรื่อยมา โดยส่วนใหญ่จะได้แสดงประกบพระเอกอื่นๆ แต่ก็ยังมีงานละครโทรทัศน์พร้อมอีกด้วย โฆษณ.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและนิรุตติ์ ศิริจรรยา · ดูเพิ่มเติม »

แช่ม แช่มรัมย์

วิวัฒน์ แช่มรัมย์ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แช่ม แช่มรัมย์ เกิดเมื่อวันที่ 14 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและแช่ม แช่มรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่ไม้มวยไทย

รูปปั้นแสดงท่าแม่ไม้มวยไทย ที่วัดบางกุ้ง จังหวัดสมุทรสงคราม (ขวาสุด: ''จระเข้ฟาดหาง'') แม่ไม้มวยไทย เป็นท่าต่อสู้ของวิชามวยไทยที่สำคัญที่สุด ซึ่งรวมถึงมีการใช้ในศาสตร์แห่งกระบี่กระบอง.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและแม่ไม้มวยไทย · ดูเพิ่มเติม »

เก่งกาจ จงใจพระ

ก่งกาจ จงใจพระ เดิมมีชื่อว่า ศรีไพร ใจพระ เกิดเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2481 ที่ตำบลศาลเจ้าโรงทอง อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีน ในอดีตเคยเป็นดาราภาพยนตร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ นักจัดรายการวิทยุ นักร้องเพลงลูกทุ่ง และผู้จัดการวงดนตรีลูกทุ่ง โดยผลงานการแสดงที่เด่น ๆ ได้แก่ การรับบท ไอ้แว่น เพื่อนรักของ ไอ้คล้าว ในภาพยนตร์เรื่อง มนต์รักลูกทุ่ง ในปี พ.ศ. 2513 โดยแสดงคู่กับมิตร ชัยบัญชา และบุปผา สายชล ที่ต่อมากลายเป็นภรรยาของตนเอง ต่อมา ได้เปลี่ยนชื่อ และนามสกุล และศึกษาโหราศาสตร์มาตั้งแต่เด็ก จนกลายเป็นหมอดูชื่อดัง โดยมักจะให้คำทำนายเกี่ยวกับสถานการณ์บ้านเมืองตามสื่อมวลชนเป็นระยะ ๆ โดยเริ่มงานครั้งแรกด้วยการเป็นคอลัมนิสต์โหรการเมืองในหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ในปี พ.ศ. 2518 เคยเป็นพิธีกรในรายการ "นายมั่ง นายคง คนสองยุค" โดยใช้ชื่อว่า "นายคง" ร่วมกับ "นายมั่น" (ประสาน ศิลป์จารุ) ออกอากาศตอนเวลา 12.30 น. ทางสถานี TTV 2 ชีวิตครอบครัวมีภรรยามาแล้วทั้งหมด 3 คน มีลูกที่เกิดกับภรรยาทั้ง 3 ทั้งหมด 6 คน โดยภรรยาคนปัจจุบันชื่อ มณฑา จงใจพระ ปัจจุบัน ถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย จากการเป็นหนี้สินจำนวนมากกับธนาคารกสิกรไทย เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและเก่งกาจ จงใจพระ · ดูเพิ่มเติม »

เล็บครุฑ

ล็บครุฑ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและเล็บครุฑ · ดูเพิ่มเติม »

เจ็ดแหลก

็ดแหลก เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและเจ็ดแหลก · ดูเพิ่มเติม »

เท่ง เถิดเทิง

ท่ง เถิดเทิง ได้รับรางวัล เอเชี่ยน เทเลวิชั่น อวอร์ด 2007 ประเภทนักแสดงตลกฝ่ายชายยอดเยี่ยม พงษ์ศักดิ์ พงษ์สุวรรณ ในวงการ เท่ง เถิดเทิง (เกิด 7 เมษายน พ.ศ. 2509) เป็นนักแสดงตลกชายจากแก๊งสามช่า มีชื่อเสียงจากการเป็นดาวตลก ได้กลายเป็นนักแสดงภาพยนตร์หลายเรื่อง และประกอบอาชีพหลายอย่าง ตั้งแต่ เล่นลิเก (มีคณะลิเกชื่อว่า ลิเกครื้นเครง เท่ง เถิดเทิง) ถีบรถสามล้อ ปัจจุบันเป็นนักแสดงตลกและพิธีกรในสังกัด รวมถึงเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ให้แก่ บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) เนื่องจากได้รับรางวัล เอเชี่ยน เทเลวิชั่น อวอร์ด 2007 ประเภทนักแสดงตลกฝ่ายชายยอดเยี่ยม เท่ง เถิดเทิงจึงได้รับฉายาว่า "ตลกเอเชีย" และ "ตลกอัจฉริยะ".

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและเท่ง เถิดเทิง · ดูเพิ่มเติม »

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและ11 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

14 กุมภาพันธ์

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและ14 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

26 เมษายน

วันที่ 26 เมษายน เป็นวันที่ 116 ของปี (วันที่ 117 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 249 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและ26 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

7 ตุลาคม

วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและ7 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 ประจัญบาน

7 ประจัญบาน เป็นภาพยนตร์ไทย ซึ่งดัดแปลงจากภาพยนตร์เรื่อง 1 ต่อ 7 ของ ส.อาสนจินดา โดยเป็นเรื่องราววีรกรรมการกอบกู้ชาติไทยที่เกิดขึ้นในช่วงสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2506 กำกั.อาสนจินดา นำแสดงโดย มิตร ชัยบัญชา, คริสติน เหลียง, รุจน์ รณภพ และ ทักษิณ แจ่มผล.อาสนจินดา ได้นำเรื่อง 7 ประจัญบาน มาสร้างและกำกับเองเป็นครั้งที่สอง โดยมีสหมงคลฟิล์ม เป็นผู้จัดจำหน่าย ออกฉายวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2520 นำแสดงโดย กรุง ศรีวิไล, เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์, สรพงศ์ ชาตรี, วิยะดา อุมารินทร์ และ นิรุตติ์ ศิริจรรยา ในปี พ.ศ. 2545 สหมงคลฟิล์ม นำเรื่อง 7 ประจัญบาน มาสร้างภาพยนตร์อีกครั้ง โดยมี เฉลิม วงศ์พิมพ์เป็นผู้กำกับ ออกฉายวันที่ 26 เมษายน..

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและ7 ประจัญบาน · ดูเพิ่มเติม »

7 ประจัญบาน 2

ลโก้ของ 7 ประจัญบาน 2 7 ประจัญบาน 2 เป็น ภาพยนตร์ไทย โดย สหมงคลฟิล์ม และ บาแรมยู ออกฉายเมื่อ 28 เมษายน พ.ศ. 2548 เป็นภาคต่อของ 7 ประจัญบาน กำกับภาพยนตร์โดย เฉลิม วงศ์พิมพ์ อำนวยการสร้างโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ควบคุมสร้างโดย ปรัชญา ปิ่นแก้ว และ สุกัญญา วงศ์สถาปัตย์ บทภาพยนตร์โดย ก้องเกียรติ โขมศิริ กำกับภาพโดย สวน บุญหล้า กำกับศิลป์โดย สหรัฐ บุญสถิตย์ ลำดับภาพโดย เฉลิม วงค์พิมพ์ และ วิชิต วัฒนานนท์ ออกแบบงานสร้างโดย เกียรติชัย คีรีศรี ออกแบบกำกับคิวบู๊โดย สมใจ จันทร์มูนตรี ภาพยนตร์ทำรายได้ 37.42 ล้านบาท.

ใหม่!!: จ่าดับ จำเปาะและ7 ประจัญบาน 2 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หนึ่งต่อเจ็ด

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »