โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

ดัชนี สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 (24 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 324 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

283 ความสัมพันธ์: บรม ตันเถียรบรรหาร ศิลปอาชาชวน หลีกภัยบัญญัติ บรรทัดฐานชัย ชิดชอบชาญ อังศุโชติชาญชัย ชัยรุ่งเรืองชาญชัย ปทุมารักษ์ชาติชาย ชุณหะวัณบุญเลิศ เลิศปรีชาบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณบุญเทียม เขมาภิรัตน์บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ชุมพล ศิลปอาชาชูชีพ หาญสวัสดิ์พ.ศ. 2526พ.ศ. 2529พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)พรรคชาติประชาธิปไตยพรรคชาติไทยพรรคกิจสังคมพรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)พรรคประชากรไทยพรรคประชาธิปัตย์พร้อม บุญฤทธิ์พล เริงประเสริฐวิทย์พวงเล็ก บุญเชียงพิชัย รัตตกุลพิภพ อะสีติรัตน์พิจิตต รัตตกุลพินิจ จันทรสุรินทร์พูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทรพีรพันธุ์ พาลุสุขกมล จิระพันธุ์วาณิชกร ทัพพะรังสีกระบี่กริช กงเพชรกรุงเทพมหานครการุณ ใสงามการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526กำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์กุศลหมีเทศริ์ ศรีอารวงศาภิญญา ช่วยปลอดมารุต บุนนาคมานะ แพรสกุลมาโนชญ์ วิชัยกุลมงคล จงสุทธนามณีมนตรี พงษ์พานิชยิ่งพันธ์ มนะสิการ...ยุพา อุดมศักดิ์ยุทธ อังกินันทน์ยงยุทธ นพเกตุรักเกียรติ สุขธนะวัชรินทร์ เกตะวันดีวัลลภ สุปริยศิลป์วัฒนา อัศวเหมวาสนา บุญภูพันธ์ตันติวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์วิทยา เทียนทองวิเชียร คันฉ่องวิเชียร เวชสวรรค์วิเศษ ใจใหญ่วีรวร สิทธิธรรมวีระกร คำประกอบวีระกานต์ มุสิกพงศ์วงศ์ พลนิกรวโรทัย ภิญญสาสน์ศุภสิธ เตชะตานนท์สกุล ศรีพรหมสมบัติ ศรีสุรินทร์สมบูรณ์ จีระมะกรสมรรค ศิริจันทร์สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์สมศักดิ์ เทพสุทินสมศาสตร์ รัตนสัคสมัคร สุนทรเวชสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมาน ภุมมะกาญจนะสมานฉันท์ ชมภูเทพสยม รามสูตสวัสดิ์ คำประกอบสอาด ปิยวรรณสัมพันธ์ ทองสมัครสัมพันธ์ แป้นพัฒน์สังข์ทอง ศรีธเรศสันติ ชัยวิรัตนะสันต์ศักด์ จรูญ งามพิเชษฐ์สำเภา ประจวบเหมาะสิทธิ เศวตศิลาสุบิน ปิ่นขยันสุชน ชามพูนทสุพัตรา มาศดิตถ์สุมิตร สุนทรเวชสุรพันธ์ ชินวัตรสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์สุวิทย์ คุณกิตติสุทัศน์ เงินหมื่นสุขุม เลาวัณย์ศิริสุนทร วิลาวัลย์สุเทพ เทือกสุบรรณสงบ ทิพย์มณีสนอง นิสาลักษณ์สนั่น ขจรประศาสน์สนิท กุลเจริญสนธิ บุณยะชัยหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมหลวงเสรี ปราโมชหาญ ลีนานนท์อร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระอารยะ ชุมดวงอาคม เอ่งฉ้วนอำพัน หิรัญโชติอำนวย ยศสุขอำนวย สุวรรณคีรีอุทัย พิมพ์ใจชนอุดมศักดิ์ ทั่งทองอุดร ตันติสุนทรอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์อดุล ภูมิณรงค์อนันต์ ฉายแสงอนันต์ เรืองกูลอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริอนงค์ ตงศิริผัน บุญชิตจรัส พั้วช่วยจรูญ กุวานนท์จองชัย เที่ยงธรรมจังหวัดชลบุรีจังหวัดชัยภูมิจังหวัดชัยนาทจังหวัดชุมพรจังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดพะเยาจังหวัดพัทลุงจังหวัดพังงาจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดพิจิตรจังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดภูเก็ตจังหวัดมหาสารคามจังหวัดมุกดาหารจังหวัดยะลาจังหวัดยโสธรจังหวัดระยองจังหวัดระนองจังหวัดราชบุรีจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดลพบุรีจังหวัดลำพูนจังหวัดลำปางจังหวัดศรีสะเกษจังหวัดสกลนครจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดสระบุรีจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดสุรินทร์จังหวัดสุโขทัยจังหวัดสงขลาจังหวัดสตูลจังหวัดหนองคายจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอุทัยธานีจังหวัดอุดรธานีจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดอ่างทองจังหวัดจันทบุรีจังหวัดขอนแก่นจังหวัดตรังจังหวัดตราดจังหวัดตากจังหวัดฉะเชิงเทราจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปัตตานีจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนราธิวาสจังหวัดนครพนมจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดนครสวรรค์จังหวัดนครปฐมจังหวัดนครนายกจังหวัดนนทบุรีจังหวัดน่านจังหวัดแพร่จังหวัดแม่ฮ่องสอนจังหวัดเชียงรายจังหวัดเชียงใหม่จังหวัดเพชรบุรีจังหวัดเพชรบูรณ์จำรัส มังคลารัตน์จิรายุส เนาวเกตุจิตรพล ณ ลำปางธนา เมตตาริกานนท์ถวิล จันทร์ประสงค์ถวิล ไพรสณฑ์ทวิช กลิ่นประทุมทวี ไกรคุปต์ทวีศักดิ์ อับดุลบุตรทศพล สังขทรัพย์ทินกร พันธุ์กระวีขุนทอง ภูผิวเดือนขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ณรงค์ กิตติขจรณรงค์ วงศ์วรรณดำรง ลัทธพิพัฒน์ดุสิต รังคสิริคำรณ ณ ลำพูนตรี ด่านไพบูลย์ตุ่น จินตะเวชประชุม รัตนเพียรประพาส ลิมปะพันธุ์ประภัตร โพธสุธนประมวล สภาวสุประมาณ อดิเรกสารประยุทธ์ ศิริพานิชย์ประยูร สุรนิวงศ์ประสพ บุษราคัมประสงค์ บูรณ์พงศ์ประจวบ ไชยสาส์นประโยชน์ เนื่องจำนงค์ประเทศไทยประเทือง วิจารณ์ปรีชาประเทือง คำประกอบปรีชา มุสิกุลปรีดา พัฒนถาบุตรปองพล อดิเรกสารปัญญวัฒน์ บุญมีปัญจะ เกสรทองปิยะ อังกินันทน์ปิยะณัฐ วัชราภรณ์นฤชาติ บุญสุวรรณนิยม วรปัญญานิคม แสนเจริญแคล้ว นรปติใหม่ ศิรินวกุลโกศล ไกรฤกษ์โสภณ เพชรสว่างโอภาส พลศิลปโอภาส รองเงินไพศาล จันทรภักดีไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูนไพโรจน์ ไชยพรไพโรจน์ เครือรัตน์ไกรสร ตันติพงศ์ไกรสร นันทมานพไสว พัฒโนเชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์เกษม ศิริสัมพันธ์เกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์เรวัต สิรินุกุลเรืองวิทย์ ลิกค์เล็ก นานาเวียง วรเชษฐ์เสริมศักดิ์ การุญเสนาะ พึ่งเจียมเสนาะ เทียนทองเสนีย์ มะดากะกุลเอนก ทับสุวรรณเจริญ เชาวน์ประยูรเจี่ย ก๊กผลเทอดพงษ์ ไชยนันทน์เที่ยง เรืองประดิษฐ์เด่น โต๊ะมีนาเงิน บุญสุภาเตือนใจ นุอุปละเฉลิม อยู่บำรุงเฉลิมยศ แสนวิเศษเฉลียว วัชรพุกก์เปรม มาลากุล ณ อยุธยาเปรม รุจิเรข1 พฤษภาคม24 เมษายน ขยายดัชนี (233 มากกว่า) »

บรม ตันเถียร

รม ตันเถียร อดีตนักการเมืองไทยชาวพังงา และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ (ครม.42, 43).

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และบรม ตันเถียร · ดูเพิ่มเติม »

บรรหาร ศิลปอาชา

รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และบรรหาร ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และชวน หลีกภัย · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ บรรทัดฐาน

ัญญัติ บรรทัดฐาน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และบัญญัติ บรรทัดฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ชัย ชิดชอบ

ัย ชิดชอบ (5 เมษายน พ.ศ. 2471 —) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบสัดส่วน พรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนพรรคพลังประชาชน ในการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรแทนนายยงยุทธ ติยะไพรัช ที่โดนใบแดง ก่อนหน้านี้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)หลายสมัย และสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.)จังหวัดบุรีรัม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และชัย ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญ อังศุโชติ

ลโท ชาญ อังศุโชติ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 3 สมัย เคยมีประสบการในการรับราชการ การทูต เป็นผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ และเป็นนายทหารที่ได้รับความไว้วางใจของจอมพลถนอม กิตติขจร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และชาญ อังศุโชติ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง

นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และชาญชัย ชัยรุ่งเรือง · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย ปทุมารักษ์

นายชาญชัย ปทุมารักษ์ (11 เมษายน พ.ศ. 2479 - 6 เมษายน พ.ศ. 2555) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม 9 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และชาญชัย ปทุมารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย ชุณหะวัณ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และชาติชาย ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเลิศ เลิศปรีชา

ันตำรวจโท บุญเลิศ เลิศปรีชา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก 5 สมัย และอดีตเลขาธิการพรรคธรรมสังคม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และบุญเลิศ เลิศปรีชา · ดูเพิ่มเติม »

บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ

ลตรี บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ (ชื่อเดิม: กิมกุ่ย) (13 เมษายน พ.ศ. 2462 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) อดีตประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเทียม เขมาภิรัตน์

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ บุญเทียม เขมาภิรัตน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 4 สมัย สังกัดพรรคประชากรไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และบุญเทียม เขมาภิรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ญเท่ง ทองสวัสดิ์ (15 เมษายน พ.ศ. 2455 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวม 16 สมัย ซึ่งมากที่สุดในโลก รวมถึงผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับฉายาจากนักสื่อมวลชนว่า เท่งเที่ยงถึง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชุมพล ศิลปอาชา

มพล ศิลปอาชา (6 มิถุนายน พ.ศ. 2483 — 21 มกราคม พ.ศ. 2556) เป็น รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร หัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีหลายสมัย ตลอดจนตำแหน่งทางการเมืองอื่น ๆ และยังเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และชุมพล ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

ชูชีพ หาญสวัสดิ์

นายชูชีพ หาญสวัสดิ์ (30 กันยายน 2487 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี ปัจจุบันต้องโทษจำคุกในเรือนจำพิเศษกรุงเท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และชูชีพ หาญสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

รรคชาติพัฒนา (National Development Party) เป็นพรรคการเมืองที่จดทะเบียนเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2525 ในชื่อพรรคปวงชนชาวไทย ต่อมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2535 ได้เปลี่ยนชื่อเป็นพรรคชาติพัฒนา หลังการยุบสภาในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 เนื่องจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติประชาธิปไตย

รรคชาติประชาธิปไตย (National Democrat Party) เป็นพรรคการเมืองของประเทศไทย ในอดีตซึ่งมีพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าพรรค และมีพลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ เป็นประธานที่ปรึกษา พรรคจดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพรรคชาติประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติไทย

รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพรรคชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคกิจสังคม

รรคกิจสังคม (Social Action Party) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช โดยให้ชื่อว่า "กิจสังคม" โดยแปลตรงตัวจากภาษาอังกฤษ โดยนำชื่อพรรคมาจากพรรคการเมืองนี้ในประเทศอังกฤษ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 27,413 คน และมีสาขาพรรคจำนวน 4 สาขา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ผู้ก่อตั้งพรรค และหัวหน้าพรรคคนแรกให้เหตุผลว.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพรรคกิจสังคม · ดูเพิ่มเติม »

พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)

รรคก้าวหน้า พรรคการเมืองไทยที่ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2526 มีนายอุทัย พิมพ์ใจชน เป็นหัวหน้าพรรค และนายบุญเกิด หิรัญคำ เป็นเลขาธิการพรรค และมีสำนักงานตั้งอยู่ที่ถนนลาดพร้าว เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชากรไทย

รรคประชากรไทย (Thai Citizen Party - TCP, ย่อว่า: ปชท.) เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2522 ณ บริเวณสนามชัยข้างพระบรมมหาราชวัง โดยมี นายสมัคร สุนทรเวช เป็นหัวหน้าพรรค เพื่อการเลือกตั้งในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 โดยผลการเลือกตั้งในครั้งนั้นพรรคประชากรไทยได้รับเลือกตั้ง 29 ที่นั่ง จากจำนวน 32 ที่นั่งในกรุงเทพมหานคร และอีก 3 ที่นั่งในต่างจังหวัด พรรคประชากรไทยจัดเป็นพรรคการเมืองขนาดเล็ก มีฐานเสียงที่สำคัญอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีบุคคลสำคัญอันเป็นเสมือนเอกลักษณ์ของพรรค คือ นายสมัคร สุนทรเวช หัวหน้าพรรค แต่หลังจากปี พ.ศ. 2540 แล้ว พรรคประชากรไทยมีบทบาทการเมืองในระดับประเทศลดลง อีกทั้งมีสมาชิกพรรคจำนวน 12 คน หันไปให้การสนับสนุนนายชวน หลีกภัย ให้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในสมัยที่ 2 ซึ่งขัดต่อความเห็นของนายสมัคร หัวหน้าพรรค ซึ่งเรียกกันว่า "กลุ่มงูเห่า" ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 นายสมัคร ได้ลงรับสมัครเลือกตั้งได้เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน มีหัวหน้าพรรค คือ นายสุมิตร สุนทรเวช น้องชายของนายสมัคร ที่ทำการพรรคตั้งอยู่ที่ ถนนศรีวรา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีสมาชิกพรรคจำนวน 69,852 คน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพรรคประชากรไทย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พร้อม บุญฤทธิ์

ร้อม บุญฤทธิ์ หรือ พร้อมน้อย ตลุงสากล เป็นนายหนังตะลุงที่มีชื่อเสียง และเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (หนังตะลุง) ปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพร้อม บุญฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พล เริงประเสริฐวิทย์

ันเอก พล เริงประเสริฐวิทย์ (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพล เริงประเสริฐวิทย์ · ดูเพิ่มเติม »

พวงเล็ก บุญเชียง

นางพวงเล็ก บุญเชียง (เกิด 18 มีนาคม พ.ศ. 2493) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา 7 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพวงเล็ก บุญเชียง · ดูเพิ่มเติม »

พิชัย รัตตกุล

ัย รัตตกุล (16 กันยายน พ.ศ. 2469 —) เป็น อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 4 ระหว่างปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพิชัย รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

พิภพ อะสีติรัตน์

นายพิภพ อะสีติรัตน์ (มกราคม พ.ศ. 2483 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 5 สมัย และ อดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพิภพ อะสีติรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พิจิตต รัตตกุล

ตต รัตตกุล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 90/2557 อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพิจิตต รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

พินิจ จันทรสุรินทร์

ระวังสับสนกับ: พินิจ จันทร์สมบูรณ์ ดร.พินิจ จันทรสุรินทร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปางหลายสมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพินิจ จันทรสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทร

ูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทร อดีตนักการเมืองชาวสุรินทร์ที่มีชื่อเสียง, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และอดีตนักมวยไทยชื่อดัง นายพูนสวัสดิ์ เกิดเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทร · ดูเพิ่มเติม »

พีรพันธุ์ พาลุสุข

ีรพันธุ์ พาลุสุข (10 มิถุนายน พ.ศ. 2489 - 30 เมษายน พ.ศ. 2557) อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตรอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยโสธร เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2528 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ แล้วได้ย้ายมาสังกัดพรรคเพื่อไทย เมื่อตอนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และพีรพันธุ์ พาลุสุข · ดูเพิ่มเติม »

กมล จิระพันธุ์วาณิช

นายกมล จิระพันธุ์วาณิช (เกิด 14 มีนาคม พ.ศ. 2475) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี 8 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และกมล จิระพันธุ์วาณิช · ดูเพิ่มเติม »

กร ทัพพะรังสี

นายกร ทัพพะรังสี (14 กันยายน 2488 -) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาราช อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เป็นบุตรของ นายอรุณ ทัพพะรังสี (บุตร พระยานราธรหิรัญรัฐ กับคุณหญิงหวาน) และ นางพร้อม ทัพพะรังสี (สกุลเดิม "ชุณหะวัณ" เป็นบุตรีของจอมพลผิน ชุณหะวัณ) เนื่องจากสืบเชื้อสายจากนักการเมืองซอยราชครู ทำให้ได้รับการขนานนามให้เป็น “ทายาทราชครู รุ่นที่ 3” ด้านครอบครัวสมรส กับ ระพีพรรณ ทัพพะรังสี มีบุตรชื่อ กฤตพณ ทัพพะรังสี และ กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี โดย กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี บุตรชายสมรสกับ อุษณา มหากิจศิริ บุตรสาว ประยุทธ มหากิจศิริ ในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และกร ทัพพะรังสี · ดูเพิ่มเติม »

กระบี่

กระบี่ อาจหมายถึง; เขตการปกครอง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และกระบี่ · ดูเพิ่มเติม »

กริช กงเพชร

กริช กงเพชร (เกิด 30 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 9 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และกริช กงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การุณ ใสงาม

การุณ ใสงาม ขณะกำลังอภิปรายในที่ประชุมวุฒิสภา นายการุณ ใสงาม นักการเมืองอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดบุรีรัมย์ อดีต..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และการุณ ใสงาม · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

กำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์

นายกำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ (เกิด 9 ธันวาคม พ.ศ. 2488) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ 5 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และกำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์

นายกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และกิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

กุศลหมีเทศริ์ ศรีอารวงศา

กุศลหมีเทศริ์ ศรีอารวงศา นักการเมืองชาวไทย ผู้มีหลายชื่อ และหลายพรรคการเมือง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุโขทัย (ส.ส.สุโขทัย) พรรคกิจสังคมและพรรคความหวังใหม่ ปัจจุบันมีอาชีพเป็นที่ปรึกษาบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง และประกอบธุรกิจส่วนตัว.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และกุศลหมีเทศริ์ ศรีอารวงศา · ดูเพิ่มเติม »

ภิญญา ช่วยปลอด

นายภิญญา ช่วยปลอด (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2483) อดีตรัฐมนตรีช่วยวาการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี 4 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และภิญญา ช่วยปลอด · ดูเพิ่มเติม »

มารุต บุนนาค

ตราจารย์พิเศษ มารุต บุนนาค อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐมนตรีหลายกระทรวง ปัจจุบันวางมือทางการเมือง แต่ยังคงดำรงตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และมารุต บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

มานะ แพรสกุล

นายมานะ แพรสกุล เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 4 สมัย ได้รับการเลือกตั้งครั้งแรก ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 ในสังกัดพรรคกิจสังคม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และมานะ แพรสกุล · ดูเพิ่มเติม »

มาโนชญ์ วิชัยกุล

นายมาโนชญ์ วิชัยกุล (เกิด 12 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช 9 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และมาโนชญ์ วิชัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

มงคล จงสุทธนามณี

นายมงคล จงสุทธนามณี (เกิด 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2489) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 7 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และมงคล จงสุทธนามณี · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี พงษ์พานิช

นายมนตรี พงษ์พานิช (9 พ.ย. 2486 - 12 มิ.ย. 2543) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง อาทิ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงสาธารณสุข และเป็นผู้อนุมัติ "โครงการโฮปเวลล์" เมื่อปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และมนตรี พงษ์พานิช · ดูเพิ่มเติม »

ยิ่งพันธ์ มนะสิการ

นายยิ่งพันธ์ มนะสิการ (23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480 - 22 ธันวาคม พ.ศ. 2546) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดพิษณุโลก และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และยิ่งพันธ์ มนะสิการ · ดูเพิ่มเติม »

ยุพา อุดมศักดิ์

ร.ยุพา อุดมศักดิ์ (เกิด 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2471) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร 4 สมัย โดยเป็นผู้หญิงไทยคนแรกที่ได้เป็นรัฐมนตรีในคณะรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง (สส.หญิงคนแรกจากการเลือกตั้งที่ได้เป็นรัฐมนตรี).

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และยุพา อุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธ อังกินันทน์

นายยุทธ อังกินันทน์ (เกิด 6 เมษายน พ.ศ. 2479) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี 7 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และยุทธ อังกินันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ นพเกตุ

นายยงยุทธ นพเกตุ (เกิด 17 เมษายน พ.ศ. 2489) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระนอง 3 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และยงยุทธ นพเกตุ · ดูเพิ่มเติม »

รักเกียรติ สุขธนะ

นายรักเกียรติ สุขธนะ (4 เมษายน พ.ศ. 2497-) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 7 สมัย และอดีตรัฐมนตรี 5 สมัย เมื่อปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และรักเกียรติ สุขธนะ · ดูเพิ่มเติม »

วัชรินทร์ เกตะวันดี

วัชรินทร์ เกตะวันดี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย 5 สมัย และอดีตกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวัชรินทร์ เกตะวันดี · ดูเพิ่มเติม »

วัลลภ สุปริยศิลป์

ร.วัลลภ สุปริยศิลป์ อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อธรรม และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน 8 สมัย และเป็นบิดาของนายณัฐพงษ์ สุปริยศิลป์ อดีต..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวัลลภ สุปริยศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนา อัศวเหม

วัฒนา อัศวเหม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ อดีตหัวหน้าพรรคราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ 11 สมัย จนได้รับฉายา "เจ้าพ่อปากน้ำ" นายวัฒนา ได้ถูก ป.ป..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวัฒนา อัศวเหม · ดูเพิ่มเติม »

วาสนา บุญภูพันธ์ตันติ

นายวาสนา บุญภูพันธ์ตันติ (เกิด 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ 3 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวาสนา บุญภูพันธ์ตันติ · ดูเพิ่มเติม »

วิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์

นายวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์ หรือวิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวิวรรธนไชย ณ กาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยา เทียนทอง

นายวิทยา เทียนทอง (เกิด 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระแก้ว รวม 8 สมัย รวมถึง อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสระแก้ว ปัจจุบันต้องโทษในเรือนจำพิเศษกรุงเท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวิทยา เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียร คันฉ่อง

นายวิเชียร คันฉ่อง (เกิด 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2486) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 6 สมัย และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดตรัง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวิเชียร คันฉ่อง · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียร เวชสวรรค์

นายวิเชียร เวชสวรรค์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 2 สมัย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวิเชียร เวชสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

วิเศษ ใจใหญ่

นายวิเศษ ใจใหญ่ (เกิด 7 มีนาคม พ.ศ. 2482) เป็นบุคคลล้มละลาย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 7 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ อดีตผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวิเศษ ใจใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

วีรวร สิทธิธรรม

นายวีรวร สิทธิธรรม (เกิด 9 กันยายน พ.ศ. 2481) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม 5 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดนครพนม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวีรวร สิทธิธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วีระกร คำประกอบ

นายวีระกร คำประกอบ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 7 สมัย และเป็นบุตรชายของนายสวัสดิ์ คำประกอบอดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 12 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวีระกร คำประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

วีระกานต์ มุสิกพงศ์

วีระกานต์ มุสิกพงศ์ หรือชื่อเดิม วีระ มุสิกพงศ์ อดีตประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย มีฉายาว่า ไข่มุกดำ เป็นผู้นำเคลื่อนไหวต่อต้านเผด็จการทหาร เมื่อปี พ.ศ. 2550 และอดีตผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ ทางเอ็นบีที.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวีระกานต์ มุสิกพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ พลนิกร

นายวงศ์ พลนิกร (1 พฤษภาคม พ.ศ. 2462 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2544) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย 2 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวงศ์ พลนิกร · ดูเพิ่มเติม »

วโรทัย ภิญญสาสน์

นายวโรทัย ภิญญสาสน์ (เกิด 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2 สมัย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี 4 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และวโรทัย ภิญญสาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

ศุภสิธ เตชะตานนท์

นายศุภสิธ เตชะตานนท์ (ชื่อเดิม: ศุภสิทธิ์) (เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2485) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 6 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และศุภสิธ เตชะตานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สกุล ศรีพรหม

กุล ศรีพรหม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสกุล ศรีพรหม · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ ศรีสุรินทร์

นายสมบัติ ศรีสุรินทร์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลพลเอก สุจินดา คราประยูร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสมบัติ ศรีสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณ์ จีระมะกร

นายสมบูรณ์ จีระมะกร (เต๊กเล้งหยวน) (เกิด 7 กันยายน พ.ศ. 2471) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมและ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 3 สมัย เป็นคนจีนโพ้นทะเล มีถิ่นกำเนิดที่มณฑลเสี้ยะหยาง เดิมสกุลเล้ง ซึ่งแปลว่ามังกร ตอนหลังจึงตั้งนามสกุลว่า "จีระมังกร" และเปลี่ยนเป็น 'จีระมะกร' ในภายหลังเพื่อลดความเชื่อมโยงกับสัญชาติจีน มีบุตร 1 คน คือนายนรุตน์ จีระมะกร(เต๊กหงี).

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสมบูรณ์ จีระมะกร · ดูเพิ่มเติม »

สมรรค ศิริจันทร์

นายสมรรค ศิริจันทร์ (24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466 -) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ 3 สมัย และอดีตเลขาธิการพรรคประชากรไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสมรรค ศิริจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ (27 มิถุนายน 2497 —) อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย แกนนำกลุ่มขุนค้อน ประธานสภาสถาบันพระปกเกล้า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เทพสุทิน

นายสมศักดิ์ เทพสุทิน แกนนำกลุ่มสามมิตร หรือ กลุ่มวังน้ำยม และ กลุ่มมัชฌิมาเดิม กลุ่มอดีต..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสมศักดิ์ เทพสุทิน · ดูเพิ่มเติม »

สมศาสตร์ รัตนสัค

ร้อยโทสมศาสตร์ รัตนสัค (3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 7 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสมศาสตร์ รัตนสัค · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สมาน ภุมมะกาญจนะ

มาน ภุมมะกาญจนะ (1 มกราคม พ.ศ. 2479 - 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2555) อดีตนักการเมืองชาวไทย เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสมาน ภุมมะกาญจนะ · ดูเพิ่มเติม »

สมานฉันท์ ชมภูเทพ

ร.สมานฉันท์ ชมภูเทพ (ชื่อเดิม: สมาน ชมภูเทพ) อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน (อบจ.) และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นที่รู้จักในนาม "หนานหล้า".

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสมานฉันท์ ชมภูเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สยม รามสูต

นายสยม รามสูต อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 2 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรก ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 สังกัดพรรคกิจสังคม เขตเลือกตั้งที่ 3 จังหวัดเชียงใหม่ โดยลงสมัครคู่กับนายอำนวย ยศสุข ต่อมาได้ย้ายไปร่วมงานกับพรรครวมไทย พร้อมกับเจริญ เชาว์ประยูร สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ และมานะ แพรสกุล และได้รับเลือกตั้งเป็นสมัยที่ 2 ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 ในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสยม รามสูต · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ คำประกอบ

นายสวัสดิ์ คำประกอบ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2462 - 28 กันยายน พ.ศ. 2557) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 12 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสวัสดิ์ คำประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

สอาด ปิยวรรณ

ร.สอาด ปิยวรรณ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง 6 สมัย สังกัดพรรคชาติไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสอาด ปิยวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สัมพันธ์ ทองสมัคร

นายสัมพันธ์ ทองสมัคร กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ แล..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสัมพันธ์ ทองสมัคร · ดูเพิ่มเติม »

สัมพันธ์ แป้นพัฒน์

นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ (เกิด 17 ธันวาคม พ.ศ. 2488) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช 2 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สังข์ทอง ศรีธเรศ

ังข์ทอง ศรีธเรศ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 7 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสังข์ทอง ศรีธเรศ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ ชัยวิรัตนะ

นายสันติ ชัยวิรัตนะ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2543) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ 7 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสันติ ชัยวิรัตนะ · ดูเพิ่มเติม »

สันต์ศักด์ จรูญ งามพิเชษฐ์

ันตศักย์ จรูญ งามพิเชษฐ์ หรือ จรูญ งามพิเชษฐ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคพลังชล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดชลบุรี ปัจจุบันเป็นแกนนำพรรคพลังชล.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสันต์ศักด์ จรูญ งามพิเชษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

สำเภา ประจวบเหมาะ

นายสำเภา ประจวบเหมาะ (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 9 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสำเภา ประจวบเหมาะ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิ เศวตศิลา

ลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (7 มกราคม พ.ศ. 2462 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ อดีตเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาต.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสิทธิ เศวตศิลา · ดูเพิ่มเติม »

สุบิน ปิ่นขยัน

น ปิ่นขยัน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และทบวงมหาวิทยาลัย เป็นผู้ก่อตั้งและเป็นประธานกรรมการบริหารของ บม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสุบิน ปิ่นขยัน · ดูเพิ่มเติม »

สุชน ชามพูนท

นายสุชน ชามพูนท ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ) อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายสมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสุชน ชามพูนท · ดูเพิ่มเติม »

สุพัตรา มาศดิตถ์

ณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นบุตรสาวของนายสุรินทร์ มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นน้องสาวของนายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ผู้ช่วยเลขาธิการพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสุพัตรา มาศดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุมิตร สุนทรเวช

มิตร สุนทรเวช หัวหน้าพรรคประชากรไทย น้องชายของ สมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ของประเทศไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสุมิตร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สุรพันธ์ ชินวัตร

นายสุรพันธ์ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคชาติไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสุรพันธ์ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ

นายสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 1) และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์

ร้อยตำรวจเอกสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2473 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงคมนาคม อดีตรองหัวหน้าพรรคกิจสังคม ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประธานกรรมการบริษัท โอสถสภา จำกัด กลุ่มบริษัทในเครือโอสถสภา และนายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

สุวิทย์ คุณกิตติ

นายสุวิทย์ คุณกิตติ (17 ตุลาคม 2500 -) ประธานที่ปรึกษาพรรคกิจสังคม อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน..ขอนแก่น 7 สมัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี เคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีในหลายกระทรวงทั้งกระทรวงยุติธรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสุวิทย์ คุณกิตติ · ดูเพิ่มเติม »

สุทัศน์ เงินหมื่น

ทัศน์ เงินหมื่น กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และเป็นบิดาของนายอภิวัฒน์ เงินหมื่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอำนาจเจริญ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสุทัศน์ เงินหมื่น · ดูเพิ่มเติม »

สุขุม เลาวัณย์ศิริ

นายสุขุม เลาวัณย์ศิริ (22 เมษายน พ.ศ. 2482 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคไทยรักไทย และอดีตประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ).

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสุขุม เลาวัณย์ศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สุนทร วิลาวัลย์

นายสุนทร วิลาวัลย์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี 8 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสุนทร วิลาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ เทือกสุบรรณ

ทพ เทือกสุบรรณ เป็นประธานมูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย และ ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาภาวนาโพธิคุณ เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานีหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการหลายกระทรวง จนถึงปี 2554 เป็นเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เขาลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤศจิกายน 2556 เป็นเลขาธิการ กปปส. ซึ่งดำเนินการประท้วงเพื่อพยายามโค่นรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในห้วงวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 เขาเรียกร้องให้ตั้ง "สภาประชาชน" ซึ่งมิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อปฏิรูปประเทศก่อนเลือกตั้ง เขาเคยเรียกร้องเพื่อให้เขาสวมบทบาทเป็น "องค์อธิปัตย์" เพื่อออกกฎบัตร ตั้งรัฐบาลใหม่ และตั้งสภาประชาชน และจะประท้วงต่อหากรัฐบาลใหม่ไม่สามารถนำการปฏิรูปที่ กปป.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสุเทพ เทือกสุบรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สงบ ทิพย์มณี

นายสงบ ทิพย์มณี (เกิด 17 สิงหาคม พ.ศ. 2481) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 4 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสงบ ทิพย์มณี · ดูเพิ่มเติม »

สนอง นิสาลักษณ์

ลเรือตรี สนอง นิสาลักษณ์ อดีตนายทหารเรือ นักการทูต และนักการเมืองไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสนอง นิสาลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น ขจรประศาสน์

ลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (7 กันยายน พ.ศ. 2478 — 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี แกนนำพรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ เป็นผู้ก่อตั้ง และเคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคมหาชน เคยดำรงตำแหน่งสำคัญในรัฐบาลเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ".หนั่น".

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสนั่น ขจรประศาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

สนิท กุลเจริญ

นายสนิท กุลเจริญ (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2561) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ 9 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสนิท กุลเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุณยะชัย

ลเรือเอกสนธิ บุณยะชัย (20 มิถุนายน พ.ศ. 2460 - 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554) อดีตรองนายกรัฐมนตรี (2 สมัย) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 2 สมัย และ อดีตรองผู้บัญชาการทหารเรือ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และสนธิ บุณยะชัย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงเสรี ปราโมช

หม่อมหลวงเสรี ปราโมช อดีตนักการเมืองและนักดนตรีชาวไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และหม่อมหลวงเสรี ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หาญ ลีนานนท์

ลเอก หาญ ลีนานนท์ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2467 - 11 กุมภาพันธ์ 2561) อดีตแม่ทัพภาคที่ 4 และอดีตนักการเมืองผู้มีบทบาทอย่างมากในพื้นที่ภาคใต้.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และหาญ ลีนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระ

นายอร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระ หรือชื่อเดิม นายอร่าม โล่ห์วีระ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ 6 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอร่ามอาชว์วัต โล่ห์วีระ · ดูเพิ่มเติม »

อารยะ ชุมดวง

นายอารยะ ชุมดวง อดีตเลขาธิการพรรคมวลชน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย ได้รับการเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 สังกัดพรรคปวงชนชาวไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอารยะ ชุมดวง · ดูเพิ่มเติม »

อาคม เอ่งฉ้วน

อาคม เอ่งฉ้วน กรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกระบี่ 9 สมัย เกิดวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2494 เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เนื่องจากนายอาคมเป็นบุคคลที่มีรูปร่างอ้วนใหญ่ จึงได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า ตูมตาม มีบทบาทตรวจสอบรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ผ่านสภาผู้แทนราษฎร โดยเป็นผู้อภิปรายเรื่อง การทุจริตจัดซื้อเครื่องฉายดาว.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอาคม เอ่งฉ้วน · ดูเพิ่มเติม »

อำพัน หิรัญโชติ

ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2462 - ???) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด 4 สมัย และอดีตนายกเทศมนตรีเมืองร้อยเอ็.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอำพัน หิรัญโชติ · ดูเพิ่มเติม »

อำนวย ยศสุข

อำนวย ยศสุข อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 7 สมัย และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอำนวย ยศสุข · ดูเพิ่มเติม »

อำนวย สุวรรณคีรี

นายอำนวย สุวรรณคีรี อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 9 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอำนวย สุวรรณคีรี · ดูเพิ่มเติม »

อุทัย พิมพ์ใจชน

นายอุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 8 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอุทัย พิมพ์ใจชน · ดูเพิ่มเติม »

อุดมศักดิ์ ทั่งทอง

นายอุดมศักดิ์ ทั่งทอง (4 สิงหาคม พ.ศ. 2472 - 25 มกราคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรี 5 รัฐบาล และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 11 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอุดมศักดิ์ ทั่งทอง · ดูเพิ่มเติม »

อุดร ตันติสุนทร

นายอุดร ตันติสุนทร (เกิด 13 กันยายน พ.ศ. 2476) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก 5 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอุดร ตันติสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์

นายอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย และเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุบลราชธานีหลายสมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อดุล ภูมิณรงค์

อดุล ภูมิณรงค์ (1 เมษายน พ.ศ. 2470 - 1 เมษายน พ.ศ. 2543) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา 5 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอดุล ภูมิณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ ฉายแสง

นายอนันต์ ฉายแสง (เกิด 20 มกราคม พ.ศ. 2470) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และกระทรวงสาธารณสุข อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา 4 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอนันต์ ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ เรืองกูล

ตำรวจ อนันต์ เรืองกูล (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 - ?) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 6 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอนันต์ เรืองกูล · ดูเพิ่มเติม »

อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ

อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงาน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดบุรีรัมย์ และอดีตหัวหน้าพรรคเทิดไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ · ดูเพิ่มเติม »

อนงค์ ตงศิริ

อนงค์ ตงศิริ (12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 - 21 กันยายน พ.ศ. 2536) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร 3 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และอนงค์ ตงศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ผัน บุญชิต

นายผัน บุญชิต (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 - พ.ศ. 2541) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี 6 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และผัน บุญชิต · ดูเพิ่มเติม »

จรัส พั้วช่วย

รัส พั้วช่วย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และกระทรวงคมนาคม และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจรัส พั้วช่วย · ดูเพิ่มเติม »

จรูญ กุวานนท์

นายจรูญ กุวานนท์ (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 - ???) อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี 4 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจรูญ กุวานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

จองชัย เที่ยงธรรม

นายจองชัย เที่ยงธรรม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี และอดีตกรรมการบริหารพรรคชาติไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจองชัย เที่ยงธรรม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชัยภูมิ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดชัยภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชัยนาท

ังหวัดชัยนาท เดิมสะกดว่า ไชยนาท เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดต่าง ๆ ตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดอุทัยธานี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดชัยนาท · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชุมพร

มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ. 1997 รัชสมัยแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงว่า เมืองชุมพรเป็นเมืองตรี อาณาจักรฝ่ายใต้ของราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในช่วงนี้ชนชาติจาม แห่งราชอาณาจักรจามปา ถูกชาวเวียดนามรุกราน ชาวจามกลุ่มนี้อพยพเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาครั้งแรก ปรากฏว่ามี "อาสาจาม" ในแผ่นดินนี้ เพื่อการขยายอาณานิคมของกรุงศรีอยุธยา ส่วนหนึ่งต้องมารักษาด่านเมืองชุมพร ซึ่งเป็นเมืองตรี และตั้งชาวจาม เป็นเจ้าเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้ขึ้นตรงต่อกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วย ชาวจาม มีความสามารถในการรบ ที่มีชื่อเสียง เช่น กองอาสาจาม เป็นทหารชั้นดี มีวินัย เชี่ยวชาญการเดินเรือ รับใช้ราชสำนักมานาน และเก่งการค้ามาหลายพันปี และต่อมาระหว่าง ปี พ.ศ. 2173 - 2199 ในแผ่นดิน พระเจ้าปราสาททองแห่งราชอาณาจักกรุงศรีอยุธยา ได้กวาดต้อนชาวเมืองแถง หรือ (เดียนเบียนฟู) อยู่ในประเทศเวียดนาม และชาวเมืองพงสาลี อยู่ในประเทศลาว มาเป็นพลเมือง เมืองชุมพร เมืองปะทิว(อำเภอปะทิว) เพื่อทำการเกษตรกรรม และเมืองท่าการค้าสำคัญ ตั้งแต่นั้นมา เดิมชาวจามนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พ.ศ. 1400 นับถือศาสนาพุทธมหายาน และเมื่อค้าขายกับอาหรับก็นับถือ ศาสนาอิสลาม แต่ชาวจามที่มาอยู่เมืองชุมพร ต่อมานับถือ ศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรม ประเพณี เหมือนกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปกว่า 500 -600 ปี ที่ชาวจาม เข้าปกครองเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้จนแทบจะไม่เหลือวัฒนธรรมเดิมเลย เช่น ข้าวต้มใบพ้อ ที่ใช้ในงานมงคล เช่นเดียวกับชาวมุสลิม บ้านกาลอ ตำบลกาลอ อำเภอรามัญ จังหวัดยะลา ก็สูญหายไม่ได้ใช้ในงานมงคลแล้ว.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบุรีรัมย์

ังหวัดบุรีรัมย์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 5 รองจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดขอนแก่น และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 17 ของประเทศไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพะเยา

ังหวัดพะเยา (30px พ(ร)ะญาว) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบน บริเวณที่ตั้งของตัวเมืองพะเยาในปัจจุบันอยู่ติดกับกว๊านพะเยา เดิมเป็นที่ตั้งของเมือง ภูกามยาว หรือ พะยาว ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 โดยกษัตริย์องค์แรกคือ พญาจอมธรรม ซึ่งเป็นราชบุตรองค์หนึ่งจากเมืองหิรัญนครเงินยางเชียงแสน และเป็นบรรพบุรุษของกษัตริย์เมืองพะยาวอีกหลายองค์ เช่น พญาเจือง วีรบุรุษแห่งเผ่าไท-ลาวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขง และพญางำเมืองซึ่งได้กระทำสัตย์สาบานเป็นไมตรีต่อกันกับพญามังรายแห่งนครพิงค์เชียงใหม่ และพญาร่วงรามคำแหงแห่งสุโขทัย ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงอำนาจ และตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรล้านนา ในสมัยพญาคำฟู เมื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ใน..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพัทลุง

ัทลุง เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย เคยเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่แห่งหนึ่ง และยังมีสภาพภูมิประเทศทั้งที่ราบ เนินเขา และชายฝั่ง โดยทางทิศตะวันตกของจังหวัด จะเป็นพื้นที่ที่ราบสูงและที่ราบเชิงเขา อันเนื่องมาจากมีพื้นที่ติดต่อกับเทือกเขานครศรีธรรมราช ถัดลงมาทางตอนกลางและทางทิศตะวันออกของจังหวัด จรดทะเลสาบสงขลาจะเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การทำการเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำนาข้าว ชาวภาคใต้จะเรียกจังหวัดนี้ว่า เมืองลุง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดพัทลุง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพังงา

ังงา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ฝั่งตะวันตกของประเทศไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดพังงา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิจิตร

ังหวัดพิจิตร เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนบนระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประมาณ 4,531 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดพิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาญจนบุรี

ังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ จรดจังหวัดตากและจังหวัดอุทัยธานี ทิศใต้ จรดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก จรดจังหวัดสุพรรณบุรีและนครปฐม ทิศตะวันตก จรดประเทศพม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดกาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาฬสินธุ์

ังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางหรือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 510 กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ให้ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธุ์” หรือ “เมืองน้ำดำ” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “กาฬ” แปลว่า “ดำ” “สินธุ์” แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธุ์จึงแปลว่า “น้ำดำ” และยังมีแหล่งซากไดโนเสาร์หลายแห่งด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอำเภอสหัสขันธ์ นอกจากนี้ยังมีชื่อเสียงด้านโปงลาง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกำแพงเพชร

ังหวัดกำแพงเพชร เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 8,607 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดกำแพงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดภูเก็ต

ูเก็ต เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในทะเลอันดามัน จังหวัดที่ใกล้เคียงทางทิศเหนือ คือ จังหวัดพังงา ทางทิศตะวันออก คือ จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ ทั้งเกาะล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดีย และยังมีเกาะที่อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดภูเก็ตทางทิศใต้และตะวันออก การเดินทางเข้าสู่ภูเก็ตนอกจากทางเรือแล้ว สามารถเดินทางโดยรถยนต์ซึ่งมีเพียงเส้นทางเดียวผ่านทางจังหวัดพังงา โดยข้ามสะพานสารสินและสะพานคู่ขนาน คือ สะพานท้าวเทพกระษัตรีและสะพานท้าวศรีสุนทร เพื่อเข้าสู่ตัวจังหวัด และทางอากาศโดยมีท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตรองรับ ท่าอากาศยานนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ คำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่าภูเขา) และคำว่า "ภูเขา" ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า "บูเก๊ะ" หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมหาสารคาม

มหาสารคาม เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางของประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่กึ่งกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมุกดาหาร

มุกดาหาร เป็นจังหวัดชายแดน อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 642 กิโลเมตร แยกออกมาจากจังหวัดนครพนมเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2525 นับเป็นจังหวัดที่ 73 ของประเทศไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดมุกดาหาร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยะลา

ลา เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดยะลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยโสธร

ร เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย เดิมชื่อ บ้านสิงห์ท่า, เมืองยศสุนทร เป็นเมืองเก่าแก่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำชีมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 200 ปี มีประเพณีบุญบั้งไฟที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ประเพณีหนึ่งเดียวในโลก จัดตั้งโดยคณะปฏิวัติของจอมพลถนอม กิตติขจร ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 70 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2515 อันให้แยกอำเภอยโสธร อำเภอกุดชุม อำเภอเลิงนกทา อำเภอคำเขื่อนแก้ว อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอป่าติ้ว ออกจากจังหวัดอุบลราชธานี แล้วรวมกันตั้งเป็นจังหวัดยโสธร และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2515 สืบไป โดยมีนายชัยทัต สุนทรพิพิธ รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธรคนแรก.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดยโสธร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดระยอง

ระยอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรายได้ประชากรต่อหัวสูงที่สุดในประเทศ และผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดอยู่ในอันดับ 2 ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากมาย และเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก ทั้งทางด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว และการเกษตรกรรม คำว่าระยองเพี้ยนมาจาก "ราย็อง" เป็นภาษาชองอาจมีความหมายสองอย่าง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดระยอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดระนอง

ระนอง เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันตกของภาคใต้ มีพื้นที่ประมาณ 2,141,250 ไร่ มีพื้นที่ติดต่อทางตะวันออกติดต่อกับจังหวัดชุมพร ทางใต้ติดกับจังหวัดสุราษฎร์ธานีและจังหวัดพังงา ทางตะวันตกติดกับประเทศพม่าและทะเลอันดามัน มีลักษณะพื้นที่เรียวและแคบ มีความยาวถึง 169 กิโลเมตร และมีความแคบในบริเวณอำเภอกระบุรี เพียง 9 กิโลเมตร ระนองเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติความเป็นมายาวนานนับตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ เดิมเป็นหัวเมืองขนาดเล็กขึ้นกับเมืองชุมพร คำว่าระนองเพี้ยนมาจากคำว่า แร่นอง เนื่องจากในพื้นที่จังหวัดมีแร่อยู่มากม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดระนอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดร้อยเอ็ด

ร้อยเอ็ด เดิมสะกดว่า ร้อยเอ็จ เป็นจังหวัดบริเวณลุ่มแม่น้ำชีในภาคอีสานตอนกลางหรือตอนบนของไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำพูน

ังหวัดลำพูน (30px หละปูน) เป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็กที่สุดในภาคเหนือ นับเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ ยาวนาน เคยเป็นที่ตั้งของนครหริภุญชัย ในสมัยพระนางจามเทวีเดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึงการสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำสองสาย คือ แม่น้ำกวงและแม่น้ำปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชยสืบราชวงศ์กษัตริย์ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่งถึงสมัยพญายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พญามังราย ผู้รวบรวมแว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็นอาณาจักรล้านนา ถึงแม้ว่าเมืองลำพูนจะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่ และเชียงราย เมืองลำพูนจึงยังคงความสำคัญในทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรล้านนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย มีผู้ครองนครสืบต่อกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำปาง

ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสกลนคร

กลนคร หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองหนองหานหลวง" เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และเป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ซึ่งเป็นแหล่งชุมชนตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์สืบเนื่องจวบจนปัจจุบัน ทั้งนี้จังหวัดสกลนครยังเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีความสำคัญและหลากหลายในด้านต่างๆโดยเฉพาะทางด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ สังคม การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น และเป็นจังหวัดศูนย์กลางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และศูนย์กลางทางการศึกษา อันเป็นสถานที่ตั้งของสถานศึกษาขนาดใหญ่ใน กลุ่มจังหวัดสนุก (สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร).

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดสกลนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสาคร

ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดสมุทรสาคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรสงคราม

ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ. 2550 ผลการสำรวจดัชนีความมั่นคงของมนุษย์พบว่า สมุทรสงครามเป็นจังหวัดที่มีความมั่นคงของมนุษย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดสมุทรสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระบุรี

ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดสระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสิงห์บุรี

ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดสุราษฎร์ธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุโขทัย

ทัย (ᩈᩩᨠᩮ᩠ᨡᩣᨴᩱ᩠ᨿ, เดิมสะกดว่า ศุโขไทย) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ).

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสตูล

ตูล เป็นจังหวัดที่อยู่ใต้สุดของประเทศไทย (ทางชายฝั่งทะเลอันดามัน) คำว่า สตูล มาจากคำภาษามลายูเกดะห์ว่า เซอตุล (ستول) (ภาษามาเลย์ว่า เซอตุล (setul)) แปลว่ากระท้อน ซึ่งเป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นอยู่ชุกชุมในท้องที่นี้ โดยชื่อเมือง นครสโตยมำบังสการา (Negeri Setoi Mumbang Segara) นั้นหมายความว่า สตูล เมืองแห่งพระสมุทรเทวา ดังนั้น "ตราพระสมุทรเทวา" จึงกลายเป็นตราหรือสัญลักษณ์ของจังหวัดมาตราบเท่าทุกวันนี้.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดสตูล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหนองคาย

หนองคาย เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 เป็นจังหวัดชายแดนและเป็นจังหวัดที่เงียบสงบ น่าอยู่และน่าท่องเที่ยว มีพื้นที่ส่วนใหญ่ติดฝั่งแม่น้ำโขง ตรงข้ามกับประเทศลาว มีพื้นที่แคบแต่ยาว มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการชมบั้งไฟพญานาคในวันออกพรรษ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดหนองคาย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุทัยธานี

ังหวัดอุทัยธานี เดิมสะกดว่า อุไทยธานี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 6,730 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดอุทัยธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุดรธานี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอ่างทอง

ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจันทบุรี

ังหวัดจันทบุรี เป็นจังหวัดทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 6,388 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มน้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้มีประมาณ 3 ใน 10 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา และสระแก้วทางทิศเหนือ ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดตราดและประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดระยองและชลบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 238 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจันทบุรีอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด โดยอาชีพที่ประชากรในจังหวัดนิยมประกอบอาชีพมากที่สุดคือเกษตรกรรมและประมง และศาสนาที่มีการนับถือมากที่สุดในจังหวัดคือศาสนาพุท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตรัง

ตรัง เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ตรังหรือเมืองทับเที่ยงเป็นจังหวัดท่องเที่ยวอีกแห่งหนึ่งของภาคใต้.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดตรัง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตราด

ตราด เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลทางภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 2,819 ตารางกิโลเมตร ติดต่อกับจังหวัดจันทบุรีและประเทศกัมพูชา ตราดนับเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงปลายอยุธยา สินค้าที่ส่งออกขายยังแดนไกล โดยเฉพาะของป่า เช่น เขากวาง หนังสัตว์ ไม้หอม และเครื่องเทศต่าง ๆ ล้วนมาจากเขตป่าเขาชายฝั่งทะเลตะวันออก แถบระยอง จันทบุรี ตราด โดยลำเลียงสินค้าผ่านมาตามแม่น้ำเขาสมิง ออกสู่ปากอ่าวตร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดตราด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตาก

นมิตรภาพ ไทย-พม่า (แม่สอด-เมียวดี) ทอดข้ามแม่น้ำเมย จังหวัดตาก (30px) เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกหรือบางแห่งจัดอยู่ในภาคเหนือตอนล่างของไทย มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ แต่มีประชากรเบาบางที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดชายแดนที่สำคัญอีกจังหวัดหนึ่งของไทย มีประวัติศาสตร์เก่าแก่นับแต่สมัยกรุงสุโขทัย ทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่งดงามหลายแห่งด้วย นอกจากนี้จังหวัดตากยังเป็นจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อจังหวัดอื่น ๆ ถึง 9 จังหวั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดตาก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฉะเชิงเทรา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรูปร่างยาวในแนวเหนือ-ใต้ และแคบในแนวตะวันออก-ตะวันตก โดยมีส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทย ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดอยู่ที่เทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ ในขณะที่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลเมืองหัวหิน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปราจีนบุรี

ปราจีนบุรี เดิมสะกดว่า ปราจิณบุรี เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีการพบซากโบราณสถานในหลายพื้นที่ของจังหวัด นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลายแห่ง มีอุทยานแห่งชาติอยู่ในเขตมรดกโลกถึง 3 แห่ง ทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ป่ามากที่สุดในภาคตะวันออกอีกด้วย แต่เดิมจังหวัดปราจีนบุรีมีพื้นที่กว้างใหญ่มาก เนื่องจากในอดีตเคยมีการยุบรวมจังหวัดนครนายกเข้ากับจังหวัดปราจีนบุรีในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปัตตานี

ปัตตานี เป็นจังหวัดในภาคใต้ ติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนราธิวาส

นราธิวาส เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ห่างจากกรุงเทพฯ ทางรถยนต์ประมาณ 1,149 กิโลเมตร โดยมีเนื้อที่ประมาณ 4,475.43 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,797,143.75 ไร่ ทิศเหนือติดต่อกับจังหวัดปัตตานีในเขตอำเภอสายบุรี อำเภอไม้แก่น และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดยะลาในเขตอำเภอบันนังสตา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้และภูเขา 2 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมด มีป่าพรุประมาณ 361,860 ไร่ ทางแถบทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดทิวเขาสันกาลาคีรีซึ่งเป็นแนวกั้นพรมแดนไทย-มาเลเซีย ลักษณะพื้นที่จะมีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่บริเวณติดกับอ่าวไทยและที่ราบลุ่มบริเวณแม่น้ำ 4 สาย คือ แม่น้ำบางนรา แม่น้ำสายบุรี แม่น้ำตากใบ และแม่น้ำโก-ลก มีประชากรจำนวน 796,239 คน แยกเป็นชาย 393,837 คน หญิง 402,402 คน โดยจังหวัดนราธิวาสมีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการอุตสาหกรรมอยู่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก ซึ่งเป็นอำเภอที่มีขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดนราธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครพนม

ังหวัดนครพนม เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร นับเป็นเมืองชายแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ ความสวยงามของทิวทัศน์ และมีความหลากหลายของวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมีพระธาตุพนมเป็นปูชนียสถานคู่บ้านคู่เมือง พื้นที่ด้านเหนือและตะวันออกของจังหวัดติดกับแม่น้ำโขงโดยตลอ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดนครพนม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครสวรรค์

ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครนายก

ังหวัดนครนายก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดน่าน

ังหวัดน่าน (15px) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของภาคเหนือ เป็นที่ตั้งของเมืองที่สำคัญในอดีต อาทิ เมืองวรนคร เวียงศีรษะเกษ อีกทั้งยังเป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำที่สำคัญของแม่น้ำน่าน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดน่าน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแพร่

ังหวัดแพร่ (25px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย อดีตนครรัฐอิสระขนาดเล็ก มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบระหว่างภูเขา โดยมีทิวเขาล้อมรอบ และมีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านคือแม่น้ำยม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ังหวัดแม่ฮ่องสอน (60px; 80px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย มีความโดดเด่นหลายลักษณะ โดยเฉพาะสภาพภูมิประเทศ ความหลากหลายด้านวัฒนธรรม และความหลากหลายของประชากรจากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ นับเป็นจังหวัดที่สถิติน่าสนใจหลายอย่าง เช่น มีประชากรเบาบางที่สุดในประเทศ และมีประชากรน้อยมากเป็นอันดับ 5 ในขณะที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 8 ของประเทศ แม่ฮ่องสอนได้ชื่อว่าเป็น เมืองสามหมอก เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศเต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพอากาศมีหมอกปกคลุมตลอดเวลาส่วนใหญ่ของปี นอกจากนี้แม่ฮ่องสอนยังนับเป็นพื้นที่ปลายสุดด้านตะวันตกของประเทศ คือที่เส้นแวง 97.5 องศาตะวันออกในเขตอำเภอแม่สะเรียง (ตะวันออกสุดของประเทศ อยู่ที่อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ที่ 105.5 องศาตะวันออก) แม่ฮ่องสอนได้รบการสถาปนาขึ้นเป็นเมือง เมื่อปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดแม่ฮ่องสอน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงราย

ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบูรณ์

ังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 12,668 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 9 ของประเทศ มีประชากร 994,397 คน แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ และมีเขตเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เป็นจังหวัดที่มีทรัพยากรธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

จำรัส มังคลารัตน์

ลตำรวจโท จำรัส มังคลารัตน์ (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2464 - 3 มกราคม พ.ศ. 2540) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 3 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจำรัส มังคลารัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

จิรายุส เนาวเกตุ

นายจิรายุส เนาวเกตุ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2492) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 3 สมัย ปัจจุบันเป็นแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติประจำจังหวัดสตูล.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจิรายุส เนาวเกตุ · ดูเพิ่มเติม »

จิตรพล ณ ลำปาง

ลโท จิตรพล ณ ลำปาง (15 กันยายน พ.ศ. 2462 - ???) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชากรไทย 3 สมัย เป็นนักศึกษาวิทยาลัยการทัพบกรุ่นที่ 9 รุ่นเดียวกับพลเอก เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ และนาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ และมีศักดิ์เป็นหลานของหลวงพ่อเกษม เขมโก รวมทั้งมีบทบาทในการจัดสร้างวัตถุมงคลหลายครั้ง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และจิตรพล ณ ลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

ธนา เมตตาริกานนท์

นายธนา เมตตาริกานนท์ (เกิด 4 กันยายน พ.ศ. 2489) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี 3 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และธนา เมตตาริกานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล จันทร์ประสงค์

วิล จันทร์ประสงค์ (13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 – 18 มีนาคม พ.ศ. 2555) อดีตนักการเมืองชาวไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และถวิล จันทร์ประสงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวิล ไพรสณฑ์

วิล ไพรสณฑ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลชวน หลีกภัย (1) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และถวิล ไพรสณฑ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวิช กลิ่นประทุม

นายทวิช กลิ่นประทุม เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 เป็นบุตรคนที่ 3 ของนายสมชาย กับนางอรุณี กลิ่นประทุม มีพี่น้อง 4 คน และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดราชบุรี อดีตหัวหน้าพรรคธรรมสังคม เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี สมัยรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยหลายสมัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นบิดาของนายสรอรรถ กลิ่นประทุม อดีตรัฐมนตรีหลายสมัย นายทวิช เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และทวิช กลิ่นประทุม · ดูเพิ่มเติม »

ทวี ไกรคุปต์

ทวี ไกรคุปต์ (เกิด 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2482) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี 7 สมัย และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคประชาไทย (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นพรรครวมไทย และพรรคเอกภาพ).

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และทวี ไกรคุปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีศักดิ์ อับดุลบุตร

นายทวีศักดิ์ อับดุลบุตร (เกิด 31 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 4 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และทวีศักดิ์ อับดุลบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ทศพล สังขทรัพย์

นายทศพล สังขทรัพย์ (เกิด 11 มกราคม พ.ศ. 2499) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย 7 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และทศพล สังขทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทินกร พันธุ์กระวี

นาวาอากาศโท ทินกร พันธุ์กระวี เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก และเป็นประธานกรรมการและผู้ก่อตั้ง บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำกัด อดีตนายกสมาคมอัสสัมชัญ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และทินกร พันธุ์กระวี · ดูเพิ่มเติม »

ขุนทอง ภูผิวเดือน

นายขุนทอง ภูผิวเดือน (3 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2538) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 6 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และขุนทอง ภูผิวเดือน · ดูเพิ่มเติม »

ขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์

นายขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ (10 ธันวาคม พ.ศ. 2488 - 7 เมษายน พ.ศ. 2541) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด 6 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ กิตติขจร

ันเอก ณรงค์ กิตติขจร (21 ตุลาคม พ.ศ. 2476 —) เป็นบุตรชายของอดีตนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 10 จอมพลถนอม กิตติขจร อีกทั้งยังเป็นบุตรเขยของ จอมพลประภาส จารุเสถียร เป็นหนึ่งใน 3 บุคคลของฝ่ายรัฐบาลที่ถูกกล่าวถึงมากที่สุด ในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ที่มีผู้เสียชีวิตถึง 77 ราย ส่งผลให้.อ.ณรงค์ กิตติขจร, จอมพล ถนอม กิตติขจร และ จอมพลประภาส ต้องออกจากประเทศ ภายหลังเหตุการณ์สงบลง.อ.ณรงค์ กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับประเทศไทย และได้ลงเล่นการเมือง โดยก่อตั้งพรรคขึ้นมาใหม่ ชื่อว่า "พรรคเสรีนิยม".อ.ณรงค์ กิตติขจร ได้รับเลือกเป็น..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และณรงค์ กิตติขจร · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ วงศ์วรรณ

ณรงค์ วงศ์วรรณ (25 ธันวาคม พ.ศ. 2468 -) หรือเป็นที่รู้จักว่า "พ่อเลี้ยงเมืองแพร่" อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีตหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองที่เคยได้รับเลือกตั้ง..มากที่สุดในสภาผู้แทนราษฎร แต่หัวหน้าพรรคไม่ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และณรงค์ วงศ์วรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ดำรง ลัทธพิพัฒน์

ำรง ลัทธพิพัฒน์ (29 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และดำรง ลัทธพิพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิต รังคสิริ

นายดุสิต รังคสิริ (เกิด 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ 7 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และดุสิต รังคสิริ · ดูเพิ่มเติม »

คำรณ ณ ลำพูน

นายคำรณ ณ ลำพูน กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และคำรณ ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

ตรี ด่านไพบูลย์

นายมนตรี ด่านไพบูลย์ หรือ นายตรี ด่านไพบูลย์ สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลำพูน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำพูน เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2495 เป็นบุตรของนายศักดิ์ - นางทองพูน ด่านไพบูลย์ ที่ตำบลอุโมงค์ อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และตรี ด่านไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตุ่น จินตะเวช

ตุ่น จินตะเวช อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี 8 สมัย สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงคนเดียวของพรรคฯ ที่ได้รับเลือกตั้งในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และตุ่น จินตะเวช · ดูเพิ่มเติม »

ประชุม รัตนเพียร

ประชุม รัตนเพียร เกิดเมื่อวันที่ 25 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประชุม รัตนเพียร · ดูเพิ่มเติม »

ประพาส ลิมปะพันธุ์

ร้อยตรี ประพาส ลิมปะพันธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และเป็นอดีตเลขาธิการพรรคชาติพัฒน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประพาส ลิมปะพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประภัตร โพธสุธน

นายประภัตร โพธสุธน อดีตเลขาธิการพรรคชาติไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการในหลายกระทรวง หลายสมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประภัตร โพธสุธน · ดูเพิ่มเติม »

ประมวล สภาวสุ

นายประมวล สภาวสุ อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและกระทรวงอุตสาหกรรม เกิดวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สมรสกับคุณหญิงศรีประพาฬ สภาวสุ มีบุตรธิดารวม 5 คนคือ นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ, นางสาวศิริณี สภาวสุ, นายกุมพล สภาวสุ, นางจารุวรรณ กัลยางกูร และนายประโภชน์ สภาวสุ นายประมวลเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาหลายสมัย เข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังระหว่างปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประมวล สภาวสุ · ดูเพิ่มเติม »

ประมาณ อดิเรกสาร

ลเอก พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553) นักการเมืองไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคยเป็นสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลา เมื่อ..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประมาณ อดิเรกสาร · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ ศิริพานิชย์

นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย จังหวัดมหาสารคาม และได้รับการแต่งตั้งเป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย ในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประยุทธ์ ศิริพานิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประยูร สุรนิวงศ์

นายประยูร สุรนิวงศ์ (เกิด 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในสมัยรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 4 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประยูร สุรนิวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประสพ บุษราคัม

นายประสพ บุษราคัม (เกิด 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 6 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประสพ บุษราคัม · ดูเพิ่มเติม »

ประสงค์ บูรณ์พงศ์

นายแพทย์ประสงค์ บูรณ์พงศ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และอดีตรองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประสงค์ บูรณ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประจวบ ไชยสาส์น

นายประจวบ ไชยสาส์น นายกสภามหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม อดีตเลขาธิการพรรคชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอื่นๆ อีกหลายกระทรวง และเป็นบิดาของนายต่อพงษ์ ไชยสาส์น และนายจักรพรรดิ ไชยสาส์น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุดรธานี พรรคเพื่อไทย นายประจวบ ไชยสาส์น เป็นที่รู้จักกันในฉายา "อีดี้อีสาน".

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประจวบ ไชยสาส์น · ดูเพิ่มเติม »

ประโยชน์ เนื่องจำนงค์

นายประโยชน์ เนื่องจำนงค์ (19 มีนาคม พ.ศ. 2466 - 2 เมษายน พ.ศ. 2557) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 2 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประโยชน์ เนื่องจำนงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทือง วิจารณ์ปรีชา

นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา (เกิด 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2478) อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสิงห์บุรี รวม 8 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประเทือง วิจารณ์ปรีชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทือง คำประกอบ

นายประเทือง คำประกอบ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 8 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และประเทือง คำประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา มุสิกุล

นายแพทย์ปรีชา มุสิกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และปรีชา มุสิกุล · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดา พัฒนถาบุตร

นายปรีดา พัฒนถาบุตร อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ ในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และปรีดา พัฒนถาบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ปองพล อดิเรกสาร

ปองพล อดิเรกสาร เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เกิดวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2485 เป็นบุตรของ พล.ต.อ.ประมาณ อดิเรกสาร อดีตหัวหน้า พรรคชาติไทย และเป็นบิดาของ ร.ต.ปรพล อดิเรกสาร..สระบุรี พรรคภูมิใจไทย และที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ นิตยสาร TVK mag นอกจากเป็นนักการเมืองแล้ว ยังเป็นเจ้าของนามปากกา Paul Adirex มีผลงานนิยายภาษาอังกฤษและภาษาไทยหลายเล่ม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และปองพล อดิเรกสาร · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญวัฒน์ บุญมี

ปัญญวัฒน์ บุญมี (ชื่อเดิม: ประสานต์ บุญมี) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม (ส.ส.นครปฐม) ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และปัญญวัฒน์ บุญมี · ดูเพิ่มเติม »

ปัญจะ เกสรทอง

นายปัญจะ เกสรทอง อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และปัญจะ เกสรทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะ อังกินันทน์

นายปิยะ อังกินันทน์ (เกิด 5 ตุลาคม พ.ศ. 2476) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี 6 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และปิยะ อังกินันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะณัฐ วัชราภรณ์

ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ อดีตรัฐมนตรีหลายสมัย และอดีตรองหัวหน้าพรรคเอกภาพ เจ้าของวลีทางการเมือง "เก็บอุดมการณ์ใส่ลิ้นชัก" และเป็นนักการเมืองที่ได้รับการยอมรับในเรื่องการพูด จนได้รับฉายา "ดาวสภา" และเคยทำหน้าที่โฆษกพรรคกิจสังคม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และปิยะณัฐ วัชราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นฤชาติ บุญสุวรรณ

นฤชาติ บุญสุวรรณ (เกิด 11 มกราคม พ.ศ. 2489) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 2 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และนฤชาติ บุญสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

นิยม วรปัญญา

นิยม วรปัญญา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคเพื่อไทย ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และนิยม วรปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

นิคม แสนเจริญ

นายนิคม แสนเจริญ (7 ตุลาคม พ.ศ. 2485 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 3 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และนิคม แสนเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

แคล้ว นรปติ

นายแคล้ว นรปติ (1 กันยายน พ.ศ. 2460 - 8 เมษายน พ.ศ. 2549) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 7 สมัย อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดขอนแก่น อดีตเลขาธิการพรรคเศรษฐกร และอดีตหัวหน้าพรรคแนวร่วมสังคมนิยม.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และแคล้ว นรปติ · ดูเพิ่มเติม »

ใหม่ ศิรินวกุล

นายใหม่ ศิรินวกุล (15 มีนาคม พ.ศ. 2481 - 16 กันยายน พ.ศ. 2536) เป็นอดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 5 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และใหม่ ศิรินวกุล · ดูเพิ่มเติม »

โกศล ไกรฤกษ์

นายโกศล ไกรฤกษ์ (10 เมษายน พ.ศ. 2469 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2547) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก 5 สมัย และ อดีตเลขาธิการพรรคกิจสังคม กับ พรรคประชากรไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และโกศล ไกรฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

โสภณ เพชรสว่าง

ณ เพชรสว่าง อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 1 อดีตเลขาธิการพรรคมวลชน ปัจจุบันสังกัดพรรคพลังพลเมืองไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และโสภณ เพชรสว่าง · ดูเพิ่มเติม »

โอภาส พลศิลป

นายโอภาส พลศิลป (เกิด 2 เมษายน พ.ศ. 2464) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี 3 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และโอภาส พลศิลป · ดูเพิ่มเติม »

โอภาส รองเงิน

อภาส รองเงิน (เกิด 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2492) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 3 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และโอภาส รองเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ไพศาล จันทรภักดี

นายไพศาล จันทรภักดี (เกิด 25 มีนาคม พ.ศ. 2492) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ 7 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และไพศาล จันทรภักดี · ดูเพิ่มเติม »

ไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน

ร.ไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง 3 สมัย เป็นอดีตหัวหน้าพรรคแนวประชาธิปไตย และอดีตรองหัวหน้าพรรคราษฎร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ ไชยพร

นายไพโรจน์ ไชยพร (1 ตุลาคม พ.ศ. 2476 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2544) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสงคราม 2 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และไพโรจน์ ไชยพร · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ เครือรัตน์

นายไพโรจน์ เครือรัตน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของพลเอก สุจินดา คราประยูร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ 5 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้ง..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และไพโรจน์ เครือรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไกรสร ตันติพงศ์

กรสร ตันติพงศ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ ที่ได้รับการเลือกตั้งมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของเชียงใหม่ คือ 7 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และไกรสร ตันติพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไกรสร นันทมานพ

กรสร นันทมานพ อดีตนักการเมืองที่มีชื่อเสียงของจังหวัดฉะเชิงเทรา และอดีตกำนันในพื้นที่ เป็นที่รู้จักกันดีของผู้คนในท้องถิ่นในชื่อ กำนันไกรสร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และไกรสร นันทมานพ · ดูเพิ่มเติม »

ไสว พัฒโน

ว พัฒโน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงคมนาคม และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 8 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และไสว พัฒโน · ดูเพิ่มเติม »

เชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ

ร้อยตำรวจโทเชาวรินธร์ ลัทธศักย์ศิริ อดีตที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดราชบุรี.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเชาวรินธร์ ลัทธศักดิ์ศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2460 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม ศิริสัมพันธ์

กษม ศิริสัมพันธ์ (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเกษม ศิริสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์

นายกองเอก เกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ (เกิด 11 ธันวาคม พ.ศ. 2481) อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี 6 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เรวัต สิรินุกุล

นายเรวัต สิรินุกุล (เกิด 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2479) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี 9 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเรวัต สิรินุกุล · ดูเพิ่มเติม »

เรืองวิทย์ ลิกค์

นายกองเอก เรืองวิทย์ ลิกค์ อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกำแพงเพชร 9 สมัย ชาวกำแพงเพชรรู้จักกันในนามผู้แทนฯ "ใจถึง พึ่งได้ พบง่าย ใช้คล่อง".

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเรืองวิทย์ ลิกค์ · ดูเพิ่มเติม »

เล็ก นานา

นายเล็ก นานา (18 มีนาคม พ.ศ. 2468 - 1 เมษายน พ.ศ. 2553) เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 9 อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร หลายสมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเล็ก นานา · ดูเพิ่มเติม »

เวียง วรเชษฐ์

นายเวียง วรเชษฐ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด 4 สมัย และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเวียง วรเชษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

เสริมศักดิ์ การุญ

นายเสริมศักดิ์ การุญ (เกิด 23 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง 7 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเสริมศักดิ์ การุญ · ดูเพิ่มเติม »

เสนาะ พึ่งเจียม

นายเสนาะ พึ่งเจียม (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2475) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร 5 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเสนาะ พึ่งเจียม · ดูเพิ่มเติม »

เสนาะ เทียนทอง

นายกองใหญ่ เสนาะ เทียนทอง (1 เมษายน พ.ศ. 2477 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรคประชาราช ผู้นำ..

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเสนาะ เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

เสนีย์ มะดากะกุล

นายเสนีย์ มะดากะกุล (9 มีนาคม พ.ศ. 2478 - ???) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 4 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเสนีย์ มะดากะกุล · ดูเพิ่มเติม »

เอนก ทับสุวรรณ

นายเอนก ทับสุวรรณ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเอนก ทับสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ เชาวน์ประยูร

นายเจริญ เชาวน์ประยูร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 7 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเจริญ เชาวน์ประยูร · ดูเพิ่มเติม »

เจี่ย ก๊กผล

นายเจี่ย ก๊กผล (31 กรกฎาคม พ.ศ. 2479-24 ธันวาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร หลายสมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเจี่ย ก๊กผล · ดูเพิ่มเติม »

เทอดพงษ์ ไชยนันทน์

ทอดพงษ์ ไชยนันทน์ (25 มีนาคม 2487 -) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นบุตรของ นายเทียม ไชยนันทน์ หนึ่งในผู้ก่อตั้งพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเทอดพงษ์ ไชยนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เที่ยง เรืองประดิษฐ์

นายเที่ยง เรืองประดิษฐ์ (เกิด 5 สิงหาคม พ.ศ. 2480) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 1 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเที่ยง เรืองประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

เด่น โต๊ะมีนา

น โต๊ะมีนา นักการเมือง ชาวปัตตานี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดปัตตานี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หลายสมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเด่น โต๊ะมีนา · ดูเพิ่มเติม »

เงิน บุญสุภา

นายเงิน บุญสุภา เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพลเอก สุจินดา คราประยูร และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระบุรี 7 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเงิน บุญสุภา · ดูเพิ่มเติม »

เตือนใจ นุอุปละ

นางเตือนใจ นุอุปละ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี และเป็นกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเตือนใจ นุอุปละ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเฉลิม อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมยศ แสนวิเศษ

นายเฉลิมยศ แสนวิเศษ (เกิด 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2472) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร 4 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเฉลิมยศ แสนวิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

เฉลียว วัชรพุกก์

นายเฉลียว วัชรพุกก์ (29 มกราคม พ.ศ. 2464 - 23 ธันวาคม พ.ศ. 2546) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (2 สมัย) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตาก.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเฉลียว วัชรพุกก์ · ดูเพิ่มเติม »

เปรม มาลากุล ณ อยุธยา

นายเปรม มาลากุล ณ อยุธยา (2 สิงหาคม พ.ศ. 2480 - ???) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์ 5 สมั.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเปรม มาลากุล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

เปรม รุจิเรข

ันตำรวจโทเปรม รุจิเรข (เกิด 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2472) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และเปรม รุจิเรข · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤษภาคม

วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และ1 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 เมษายน

วันที่ 24 เมษายน เป็นวันที่ 114 ของปี (วันที่ 115 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 251 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14และ24 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 14 ของไทย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »