เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์

ดัชนี สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์

นีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์ เป็นสถานีรถไฟหลักของกัวลาลัมเปอร์ เมืองหลวงของประเทศมาเลเซีย เปิดทำการเมื่อ 16 เมษายน ค.ศ.

สารบัญ

  1. 26 ความสัมพันธ์: ชานชาลาด้านข้างพ.ศ. 2544พ.ศ. 2545กัวลาลัมเปอร์การขนส่งในกัวลาลัมเปอร์ระบบขนส่งมวลชนในหุบเขากลังรถไฟชานเมืองเคทีเอ็มรถไฟระหว่างเมืองของเคทีเอ็มรถไฟเร็วกัวลาลัมเปอร์สายพอร์ตกลังสายเกอลานาจายาสายเซอเร็มบันสถานีบันดาร์ตาซิก์เซอลาตันสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่สถานีรถไฟกัวลาลัมเปอร์สถานีรถไฟยะโฮร์บาห์รูเซ็นทรัลสถานีท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์สถานีเกอลานาจายาประเทศมาเลเซียเกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายูเอ็กซ์เพรสเรลลิงก์ (กัวลาลัมเปอร์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เคแอลโมโนเรลเคแอลไอเอ แทรนซิตเคแอลไอเอ เอ็กซ์เพรส16 เมษายน

ชานชาลาด้านข้าง

แผนผังชานชลาด้านข้างและสะพานลอย ชานชาลาด้านข้าง เป็นรูปแบบชานชลาสถานีรถไฟซึ่งมี 2 ชานชลา ตั้งอยู่ตรงข้ามกัน โดยมีรางรถไฟเป็นตัวแบ่ง ส่วนใหญ่มักใช้แบ่งเป็นชานชลารถเที่ยวขึ้น-ล่อง การก่อสร้างชานชลาลักษณะนี้ไม่ยุ่งยาก แต่มีประสิทธิภาพน้อย เพราะไม่สะดวกในการเปลี่ยนขบวนรถ หรือเปลี่ยนเส้นทาง.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และชานชาลาด้านข้าง

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และพ.ศ. 2544

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และพ.ศ. 2545

กัวลาลัมเปอร์

กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur, อักษรยาวี: كوالا لومڤور, ออกเสียงตามภาษามลายูว่า กัวลาลุมปูร์) เป็นเมืองหลวงของประเทศมาเลเซียและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศด้วย ภายในมาเลเซียเอง กัวลาลัมเปอร์มักจะเรียกย่อ ๆ ว่า KL กัวลาลัมเปอร์เป็นหนึ่งในสามดินแดนสหพันธ์ของมาเลเซีย (Malaysian Federal Territories) ล้อมรอบด้วยรัฐเซอลาโงร์บนชายฝั่งตะวันตกตอนกลางของคาบสมุทรมลายู ฝ่ายบริหารของรัฐบาลมาเลเซียได้ย้ายไปที่เมืองใหม่คือ ปูตราจายา อย่างไรก็ดี พระราชฐานของกษัตริย์ของมาเลเซีย รัฐสภามาเลเซีย และฝ่ายนิติบัญญัติยังคงอยู่ที่กัวลาลัมเปอร.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และกัวลาลัมเปอร์

การขนส่งในกัวลาลัมเปอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ การขนส่งในกัวลาลัมเปอร์ ประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานอันทันสมัยในเขตหุบเขากลัง อาทิ โครงข่ายรถไฟและท่าอากาศยานอันทันสมัย เป็นต้น อัตราการใช้งานระบบขนส่งมวลชนโดยเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 16 กัวลาลัมเปอร์ มีท่าอากาศยานนานาชาติที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ คือ ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ และมีสถานีรถไฟที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และการขนส่งในกัวลาลัมเปอร์

ระบบขนส่งมวลชนในหุบเขากลัง

นีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์ เป็นสถานีรถไฟหลักในกัวลาลัมเปอร์และภูมิภาคหุบเขากลัง ระบบขนส่งมวลชนในหุบเขากลัง ประกอบด้วยระบบขนส่งมวลชนอันหนาแน่น (รถไฟ, รถโดยสารประจำทาง, รถแท็กซี่) ในกัวลาลัมเปอร์และปริมณฑล (ภูมิภาคหุบเขากลัง).

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และระบบขนส่งมวลชนในหุบเขากลัง

รถไฟชานเมืองเคทีเอ็ม

รถไฟชานเมืองเคทีเอ็ม เป็นระบบรถไฟฟ้าชานเมืองขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย ดำเนินการโดยเกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู (เคทีเอ็ม) เปิดใช้งานครั้งแรกในปี..

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และรถไฟชานเมืองเคทีเอ็ม

รถไฟระหว่างเมืองของเคทีเอ็ม

รถไฟระหว่างเมืองที่สถานีรถไฟเกมปัส ประเทศมาเลเซีย รถไฟระหว่างเมืองในมาเลเซีย (KTM Antarabandar) เป็นเส้นทางเดินรถไฟในมาเลเซียตะวันตก สิงคโปร์ และไทย ดำเนินการโดยเคทีเอ็ม (KTMB) โดยมีต้นทางที่สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์ในกัวลาลัมเปอร์ ในปี ค.ศ.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และรถไฟระหว่างเมืองของเคทีเอ็ม

รถไฟเร็วกัวลาลัมเปอร์

รถไฟเร็วกัวลาลัมเปอร์ เป็นระบบรถไฟฟ้าขนาดใหญ่ ซึ่งดำเนินการโดยบริษัท โครงสร้างพื้นฐานแห่งชาติ จำกัด (Syarikat Prasarana Negara Berhad) และแรพิดเคแอล (RapidKL) ให้บริการในเขตกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ประกอบด้วยเส้นทางรถไฟฟ้ารางเบาซึ่งได้แก่สายอัมปังและสายเกอลานาจายา กับเส้นทางเคแอลโมโนเรล นอกจากนี้ยังมีเส้นทางรถไฟชานเมือง ดำเนินการโดยบริษัท ทางรถไฟมลายู จำกัด (Keretapi Tanah Melayu Berhad) และรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานกัวลาลัมเปอร์ เส้นทางมีจำนวน 60 สถานี 64.6 กิโลเมตร รางมาตรฐาน ความถี่ระหว่าง 3-23 นาที.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และรถไฟเร็วกัวลาลัมเปอร์

สายพอร์ตกลัง

อร์ตกลัง (สายสีแดงในแผนที่) เป็นหนึ่งในสองเส้นทางของรถไฟชานเมืองเคทีเอ็ม ดำเนินการโดยเกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู (เคทีเอ็ม) เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และสายพอร์ตกลัง

สายเกอลานาจายา

กอลานาจายา เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย สีประจำเส้นทางคือ สีชมพู มีระยะทาง จำนวน 24 สถานี โดยก่อนหน้านี้รู้จักกันในชื่อ PUTRA LRT เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และสายเกอลานาจายา

สายเซอเร็มบัน

ซอเร็มบัน เป็นหนึ่งในสองเส้นทางของรถไฟชานเมืองเคทีเอ็ม ดำเนินการโดยเกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู (เคทีเอ็ม) เปิดให้บริการในปี..

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และสายเซอเร็มบัน

สถานีบันดาร์ตาซิก์เซอลาตัน

นีบันดาร์ตาซิก์เซอลาตัน เป็นสถานีเปลี่ยนเส้นทางแห่งหนึ่งในกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ตั้งชื่อตามท้องที่ตำบลบันดาร์ตาซิก์เซอลาตัน เป็นจุดเปลี่ยนเส้นทางระหว่างรถไฟชานเมืองเคทีเอ็ม, รถไฟฟ้ารางเบา สายอัมปัง, รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ และรถโดยสารประจำทางของแรพิดเรล ตัวสถานีตั้งอยู่ระหว่างถนนวงแหวนที่สอง (MRR2) และทางพิเศษซูไงเบอซี สถานีบันดาร์ตาซิก์เซอลาตันถือเป็นสถานีเปลี่ยนเส้นทางที่มีขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของกัวลาลัมเปอร.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และสถานีบันดาร์ตาซิก์เซอลาตัน

สถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่

นีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ ตั้งอยู่บนถนนรถไฟ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นสถานีรถไฟ ระดับ 1 ของทางรถไฟสายใต้ โดยจากจุดนี้ทางรถไฟจะแยกออกเป็นสองสาย คือ.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และสถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่

สถานีรถไฟกัวลาลัมเปอร์

นีรถไฟกัวลาลัมเปอร์ (Stesen Keretapi Kuala Lumpur) เป็นสถานีรถไฟหลักแห่งหนึ่งในเขตกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เปิดใช้งานในปี..

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และสถานีรถไฟกัวลาลัมเปอร์

สถานีรถไฟยะโฮร์บาห์รูเซ็นทรัล

นีรถไฟยะโฮร์บาห์รูเซ็นทรัล (JB Sentral) เป็นสถานีรถไฟตั้งอยู่ใจกลางของเมืองยะโฮร์บาห์รู ประเทศมาเลเซีย เปิดให้บริการครั้งแรกวันที่ 21 ตุลาคม..

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และสถานีรถไฟยะโฮร์บาห์รูเซ็นทรัล

สถานีท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

นีท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ หรือ สถานีเคแอลไอเอ เป็นสถานีรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ ตั้งอยู่ในอาคารผู้โดยสารหลัก ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (KLIA) รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย รถไฟฟ้าที่ให้บริการ มีทั้งรถไฟฟ้าเคแอลไอเอ เอ็กซ์เพรส และเคแอลไอเอ แทรนสิต สถานีนี้มีเพียงชานชาลาเดียว รถไฟฟ้าแต่ละประเภทจะจอดเทียบชานชาลาใดชานชาลาหนึ่งเท่านั้น โดยรถไฟฟ้าเคแอลไอเอ เอ็กซ์เพรส จะจอดเทียบชานชาลา A ส่วนรถไฟฟ้าเคแอลไอเอ แทรนสิต จะจอดเทียบชานชาลา B.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และสถานีท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

สถานีเกอลานาจายา

นีเกอลานาจายา เป็นสถานีรถไฟฟ้าปลายทางของรถไฟฟ้ารางเบา สายเกอลานาจายา ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของทางพิเศษดามันซรา-ปูชง (LDP) ระหว่างทางออกที่ 1108 และทางออกที่ 1109 และมีสะพานลอยข้ามทางพิเศษ สถานีเกอลานาจายา เป็นหนึ่งในห้าสถานีของสาย ที่ตั้งอยู่ในเมืองเปอตาลิงจายา สถานีเกอลานาจายา ตั้งอยู่ใกล้ย่านเกอลานาจายา และย่านตามันมายัง มีรถโดยสารประจำทางวิ่งให้บริการไปยังย่านพีเจอูตารา, ย่านโตรปิคานา, ย่านซูบังจายา และย่านซันเว.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และสถานีเกอลานาจายา

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และประเทศมาเลเซีย

เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู

รถไฟระหว่างเมืองขบวนหนึ่งของเคทีเอ็ม เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู (เคทีเอ็ม) (Keretapi Tanah Melayu, كريتاڤي تانه ملايو برحد) หรือ การรถไฟมลายา เป็นผู้ดำเนินการรถไฟในมาเลเซียตะวันตก เริ่มสร้างในสมัยอาณานิคมอังกฤษ ชื่อเดิมคือ การรถไฟสหพันธรัฐมลายู (FMSR) และองค์การบริหารรถไฟมลายา (MRA) และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู" ในปี..

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และเกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู

เอ็กซ์เพรสเรลลิงก์ (กัวลาลัมเปอร์)

ริษัท เอ็กซ์เพรสเรลลิงก์ จำกัด เป็นบริษัทที่ดำเนินการเกี่ยวกับรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานกัวลาลัมเปอร์ มีระยะทาง 57 กิโลเมตร แบ่งชนิดรถที่ให้บริการเป็นสองประเภท คือ.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และเอ็กซ์เพรสเรลลิงก์ (กัวลาลัมเปอร์)

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

เคแอลโมโนเรล

แอลโมโนเรล เป็นระบบรถไฟฟ้าโมโนเรลในกัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 2003 จำนวน 11 สถานี รวมระยะทาง ประกอบด้วยรางเดี่ยวยกระดับคู่ขนาน เชื่อมต่อกับสถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์ สถิติผู้โดยสารต่อปี เมื่อ ค.ศ.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และเคแอลโมโนเรล

เคแอลไอเอ แทรนซิต

แอลไอเอ แทรนซิต เป็นสายรถไฟฟ้าชานเมืองในเขตกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ให้บริการระหว่าง สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์ (เคแอลเซ็นทรัล) กับท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (เคแอลไอเอ) รถไฟฟ้าสายนี้ดำเนินการโดยบริษัท เอ็กซ์เพรสเรลลิงก์ จำกัด (อีอาร์แอล) โดยใช้ทางวิ่งร่วมกับรถไฟฟ้าด่วน เคแอลไอเอ เอ็กซ์เพรส รถไฟฟ้าแทรนซิตจอดทุกสถานี ในขณะที่รถไฟฟ้าเอ็กซ์เพรส จะวิ่งแบบรถด่วน ไม่จอดสถานีรายทาง สายนี้เป็นส่วนหนึ่งของระบบขนส่งมวลชนในหุบเขากลัง.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และเคแอลไอเอ แทรนซิต

เคแอลไอเอ เอ็กซ์เพรส

แอลไอเอ เอ็กซ์เพรส เป็นสายรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานในกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อระหว่างสถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์ กับท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ รถไฟฟ้าสายนี้ดำเนินการโดยบริษัท เอ็กซ์เพรสเรลลิงก์ จำกัด (อีอาร์แอล) โดยใช้ทางวิ่งร่วมกับรถไฟฟ้าธรรมดา เคแอลไอเอ แทรนสิต รถไฟฟ้าเอ็กซ์เพรส วิ่งแบบรถด่วน ไม่จอดสถานีรายทาง ในขณะที่รถไฟฟ้าแทรนสิตจะจอดทุกสถานี สายนี้เป็นส่วนหนึ่งของ ระบบขนส่งมวลชนในหุบเขากลัง.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และเคแอลไอเอ เอ็กซ์เพรส

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ดู สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์และ16 เมษายน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ เคแอลเซ็นทรัล