โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดอ่างทอง

ดัชนี จังหวัดอ่างทอง

ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.

140 ความสัมพันธ์: บางระจันพ.ศ. 2122พ.ศ. 2127พ.ศ. 2128พ.ศ. 2130พ.ศ. 2135พ.ศ. 2147พ.ศ. 2269พ.ศ. 2302พ.ศ. 2356พ.ศ. 2439พ.ศ. 2520พ.ศ. 2556พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระมหาธรรมราชาพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)พระตำหนักจิตรลดารโหฐานพระเจ้าอลองพญากรมศิลปากรกรวีร์ ปริศนานันทกุลกรุงเก่ากรุงเทพมหานครภราดร ปริศนานันทกุลภาคกลาง (ประเทศไทย)ภูเขามลิกา กันทองมะพลับมิสไทยแลนด์เวิลด์ราชบัณฑิตรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดรายชื่อวัดในจังหวัดอ่างทองรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดอ่างทองลิขิต เอกมงคลลิเกวิบูลย์ ลี้สุวรรณวีรยุทธ รสโอชาศิลปินแห่งชาติสมศักดิ์ ปริศนานันทกุลสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระเอกาทศรถสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ...สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้าสำนักพระราชวังสิวะ แตรสังข์สุภา ศิริมานนท์สถาปัตยกรรมสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทองหมู่บ้านหม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)หม่อมเจ้าธงชัยสิริพันธ์ ศรีธวัชหลวงบรรณสารประสิทธิ์ (สิทธิ โรจนวิภาต)หลวงวิโรจน์รัฐกิจ (เปรื่อง โรจนกุล)อยุธยาอาร์มแชร์อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรธนบุรีอำเภออำเภอบางบาลอำเภอบางปะหันอำเภอบางปะอินอำเภอบางไทรอำเภอบ้านแพรกอำเภอพรหมบุรีอำเภอมหาราชอำเภอวิเศษชัยชาญอำเภอศรีประจันต์อำเภอสามชุกอำเภอสามโก้อำเภอผักไห่อำเภอท่าช้างอำเภอท่าวุ้งอำเภอดอนเจดีย์อำเภอค่ายบางระจันอำเภอปากเกร็ดอำเภอป่าโมกอำเภอแสวงหาอำเภอโพธิ์ทองอำเภอไชโยอำเภอเมืองสุพรรณบุรีอำเภอเมืองอ่างทองอำเภอเสนาอำเภอเดิมบางนางบวชอิสริยะ อภิชัยองค์การบริหารส่วนจังหวัดองค์การบริหารส่วนตำบลอนุสรณ์ มณีเทศจังหวัดชัยนาทจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดลพบุรีจังหวัดสระบุรีจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดของประเทศไทยจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนครสวรรค์จังหวัดนนทบุรีจิตรกรรมถนนพหลโยธินทวารวดีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340ท่าเตียนขุนรองปลัดชูขนส่ง (บริษัท)ตราประจำจังหวัดของไทยตารางกิโลเมตรตำบลปฐมพงษ์ เกษรศุกร์ประติมากรรมประเทศไทยปลาตะเพียนทองปลื้มจิตร์ ถินขาวป่าแม่น้ำน้อยแม่น้ำเจ้าพระยาแร่แอน มิตรชัยโก๊ะตี๋ อารามบอยโรจน์ เมืองลพโน้ต เชิญยิ้มไชยา มิตรชัยไปรยา สวนดอกไม้เชิญยิ้มเจิมศักดิ์ ปิ่นทองเทศบาลตำบลเทศบาลเมืองเทศบาลเมืองอ่างทองเขตการปกครองของประเทศไทย25 มีนาคม ขยายดัชนี (90 มากกว่า) »

บางระจัน

ที่ตั้งค่ายบางระจัน เมื่อเทียบกับในปัจจุบัน บางระจัน เป็นค่ายป้องกันตัวเองของชาวบ้านเมืองสิงห์บุรีและเมืองต่าง ๆ ที่พากันมาหลบภัยจากกองทัพพม่าที่บางระจัน ก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง สามารถต้านทานการเข้าตีของกองทัพพม่าได้หลายครั้ง และมีกิตติศัพท์เลื่องลือในด้านวีรกรรมความกล้าหาญในประวัติศาสตร์ไทย โดยมีอนุสาวรีย์สร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงวีรกรรมในครั้งนี้ในตำบลบางระจัน อำเภอค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและบางระจัน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2122

ทธศักราช 2122 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพ.ศ. 2122 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2127

ทธศักราช 2127 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพ.ศ. 2127 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2128

ทธศักราช 2128 ตรงหรือใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพ.ศ. 2128 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2130

ทธศักราช 2130 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพ.ศ. 2130 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2135

ทธศักราช 2135 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพ.ศ. 2135 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2147

ทธศักราช 2147 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพ.ศ. 2147 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2269

ทธศักราช 2269 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพ.ศ. 2269 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2302

ทธศักราช 2302 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพ.ศ. 2302 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2356

ทธศักราช 2356 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพ.ศ. 2356 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2439

ทธศักราช 2439 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1896 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพ.ศ. 2439 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพ.ศ. 2520 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาธรรมราชา

ระมหาธรรมราชา เป็นตำแหน่งผู้ครองแคว้นสุโขทัยสามารถหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพระมหาธรรมราชา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)

ระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2414 — 30 เมษายน พ.ศ. 2479) เป็นอดีตข้าราชการไทยสังกัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า มีชื่อเสียงจากความรอบรู้ในประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา และการเป็นผู้บุกเบิกการค้นคว้าทางโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์กรุงศรีอ.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน

ระตำหนักจิตรลดารโหฐาน สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เป็นพระตำหนักในพระราชวังดุสิต ตั้งอยู่ที่แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่9.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอลองพญา

ระบรมราชานุสาวรีย์ของพระเจ้าอลองพญาที่หน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติใน นครย่างกุ้ง พระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าอลองพญา พระเจ้าอลองพญา หรือ พระเจ้าอลองพญารี (Alaungpaya, အလောင်းမင်းတရား พระนามของพระองค์ออกสำเนียงเป็นภาษาพม่าว่า "อลองเมงตะยาจี" หรือ "อลองพะ" มีความหมายว่า "พระโพธิสัตว์"; สิงหาคม ค.ศ. 1714 — 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1760) เป็นพระมหากษัตริย์พม่าระหว่างวันที่ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและพระเจ้าอลองพญา · ดูเพิ่มเติม »

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

กรวีร์ ปริศนานันทกุล

กรวีร์ ปริศนานันทกุล เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา และเป็นบุตรชายของนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล ปัจจุบันเป็นประธานบริษัท ลีกภูมิภาค จำกั.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและกรวีร์ ปริศนานันทกุล · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเก่า

กรุงเก่า อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและกรุงเก่า · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ภราดร ปริศนานันทกุล

ราดร ปริศนานันทกุล เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา และเป็นบุตรชายของนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและภราดร ปริศนานันทกุล · ดูเพิ่มเติม »

ภาคกลาง (ประเทศไทย)

กลาง เป็นภูมิภาคตอนกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ติดต่อกับภาคเหนือทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคตะวันออก และภาคอีสานทางทิศตะวันออกโดยมีทิวเขาเพชรบูรณ์กั้น ติดต่อกับภาคตะวันตก ทิศเหนือติดต่อกับทิวเขาผีปันน้ำ พื้นนี้เคยเป็นดินแดนที่สำคัญของอาณาจักรอยุธยา และยังเป็นพื้นที่ที่สำคัญของประเทศไทยมาจนถึงปัจจุบัน ภาคกลางเป็นภูมิภาคที่มีกรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทยตั้งอยู่ และมีประชากรในภูมิภาคมากที่สุดในประเท.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและภาคกลาง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขา

ทือกเขาร็อกกี ภูเขา (mountain) เป็นลักษณะของพื้นโลกที่มีความสูงกว่าพื้นที่บริเวณโดยรอบ ภูเขา หรือเทือกเขาหมายถึง ลักษณะภูมิประเทศ ที่มีความสูงตั้งแต่ 600 เมตรขึ้นไปจากพื้นที่บริเวณรอบ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับเนินเขา แต่ว่าเนินเขานั้น จะมีพื้นที่สูงจากบริเวณรอบ ๆ ประมาณ 150 แต่ไม่เกิน 600 เมตร ภูเขาสามารถแบ่ง เป็นประเภทต่างๆ ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและภูเขา · ดูเพิ่มเติม »

มลิกา กันทอง

มลิกา กันทอง (กลาง) กับเพื่อนสมาชิกทีมอาเซอร์ยอล บากู มลิกา กันทอง (8 มกราคม พ.ศ. 2530 ที่อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง —) เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย ตำแหน่งบอลโค้ง เป็นหนึ่งในนักวอลเลย์บอลทีมชาติไทยที่ได้เล่นวอลเลย์บอลอาชีพในต่างประเทศ ปัจจุบันเล่นให้กับทีมสุพรีม ชลบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและมลิกา กันทอง · ดูเพิ่มเติม »

มะพลับ

มะพลับ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Diospyros malabarica (Desr.) Kostel) เป็นต้นไม้ยืนต้นขนาดกลางใบเดี่ยวที่อยู่ในวงศ์ Ebenaceae ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกับต้นตะโก ต้นมะพลับนั้นมีดอกขนาดเล็กและก็มีผลที่ค่อนข้างกลมแต่ถ้าสุกแล้วสามารถกินได้มีรสชาติอร่อย ต้นมะพลับนอกจากมีผลที่กินได้แล้วยังมีคุณค่าในทางสมุนไพรสูงมากด้วย มะพลับเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่งของคนไทย กำหนดปลูกไว้ทางทิศใต้ เชื่อกันว่าการปลูกต้นมะพลับในบริเวณบ้านจะทำให้ร่ำรวยยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและมะพลับ · ดูเพิ่มเติม »

มิสไทยแลนด์เวิลด์

มิสไทยแลนด์เวิลด์ (Miss Thailand World) เป็นชื่อของเวทีการประกวดนางงามในประเทศไทย จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยบริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ผู้ดำเนินกิจการสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นตัวแทนประเทศไทย เข้าประกวดนางงามโลก (Miss World) ซึ่งมีคำขวัญประจำการประกวดว่า งามอย่างมีคุณค่า (Beauty with a Purpose) และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน บริษัท บีอีซี-เทโร เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) รับโอนสิทธิในการเป็นผู้จัดประกวดจาก บจก.บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ แต่ผู้สนับสนุนการถ่ายทอดโทรทัศน์ ยังคงเป็นไทยทีวีสีช่อง 3 ตามเดิม นอกจากนี้ ยังมีการแต่ง เพลงนี้เพื่อผองเรา ขึ้นเป็นเพลงประจำการประกวดอีกด้วย นอกจากจะส่งผู้ชนะเลิศเข้าร่วมประกวดมิสเวิลด์แล้ว การประกวดมิสไทยแลนด์เวิลด์ยังได้รับสิทธิในการคัดเลือกสาวไทยเชื้อสายจีนที่เข้าร่วมประกวด เป็นตัวแทนสาวไทยในการเข้าร่วมประกวด มิสไชนิสอินเตอร์เนชั่นแนล อีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและมิสไทยแลนด์เวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชบัณฑิต

ราชบัณฑิต คือ "นักปราชญ์หลวง" ที่เป็นสมาชิกขององค์การวิทยาการของรัฐคือ ราชบัณฑิตยสภาโดยต้องเป็นผู้ที่มีเกียรติประวัติดีงาม ได้รับการยอมรับและการยกย่องจากผู้รู้ในศาสตร์สาขาเดียวแห่งตนและจากคนทั่วไป มีสัญชาติไทย อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี ได้รับการคัดเลือกจากสภาราชบัณฑิตว่าเป็นผู้รู้ในสาขาวิชาใดสาขาหนึ่งที่มีกำหนดไว้ในราชบัณฑิตยสถาน เมื่อได้รับการคัดเลือกแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิตและจะได้รับค่าสมนาคุณเป็นรายเดือน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและราชบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด

ันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด เป็นพันธุ์ไม้ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดของแต่ละจังหวัด เพื่อให้นำไปปลูกเป็นสิริมงคลแก่จังหวัดและเพื่อเป็นการรณรงค์ให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี (พระราชพิธีกาญจนาภิเษก) รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดของแต่ละจังหวัดแยกตามภาค (ตามเกณฑ์การแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน) มีรายละเอียดตามที่ปรากฏในตารางข้างล่าง ทั้งนี้ พันธุ์ไม้มงคลพระราชทานของบางจังหวัด (ได้แก่ นครปฐม บุรีรัมย์ ยโสธร ระนอง ระยอง สุโขทัย และสุรินทร์) จะเป็นพรรณไม้คนละชนิดกับต้นไม้ประจำจังหวัดนั้น ๆ ส่วนจังหวัดบึงกาฬไม่มีพันธุ์ไม้พระราชทานเนื่องจากขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนอง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดอ่างทอง

รายชื่อวัดในจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและรายชื่อวัดในจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดอ่างทอง

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

ลิขิต เอกมงคล

ลิขิต เอกมงคล (แด็กซ์) นามสกุลเดิมคือ ศุกรเสพย์ เกิดเมื่อวันที่ เกิด 15 มกราคม พ.ศ. 2501 ที่จังหวัดอ่างทอง เป็นนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและลิขิต เอกมงคล · ดูเพิ่มเติม »

ลิเก

การแสดงลิเก ลิเกนิยมแต่งตัวด้วยเครื่องประดับสวยงาม เลียนแบบเครื่องทรงกษัตริย์ จึงเรียกว่าลิเกทรงเครื่อง บางครั้งก็ลดเครื่องแต่งกายที่แพรวพราวลงไป ลิเก เกิดขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา หรือต้นกรุงรัตนโกสินทร์ คำว่า ลิเก เพี้ยนมาจากคำว่า ذکر (เษกรฺ) ในภาษาเปอร์เซีย ที่ยืมมาจากคำว่า ذِكْر (ษิกรฺ) ในภาษาอาหรับ อันหมายถึงการอ่านบทสรรเสริญเป็นการรำลึกถึงอัลลอหฺพระเจ้าในศาสนาอิสลาม พระครูศรีมหาโพธิคณารักษ์ก็ได้กล่าวถึงลิเกไว้ ว่า พวกมุสลิมนิกายชีอะห์ หรือเจ้าเซ็นจากเปอร์เซีย นำสวดลิเกที่เรียกว่า ดิเกร์ เข้า มาในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กรมพระยาดำรงราชานุภาพก็ทรง บันทึกว่า ยี่เกนั้น เพี้ยนมาจาก จิเก มีบันทึกว่า พวกแขกเจ้าเซ็นได้สวดถวายตัวในการบำเพ็ญพระราชกุศล เมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและลิเก · ดูเพิ่มเติม »

วิบูลย์ ลี้สุวรรณ

วิบูลย์ ลี้สุวรรณ (19 ตุลาคม พ.ศ. 2490 -) ศิลปินสาขาจิตรกรรม ศาสตราจารย์สาขาทัศนศิลป์ ภาควิชาทัศนศิลป์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ นครปฐม ราชบัณฑิต ประจำสำนักศิลปรรม ราชบัณฑิตยสภา สาขาวิจิตรศิลป.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและวิบูลย์ ลี้สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

วีรยุทธ รสโอชา

วีรยุทธ รสโอชา เป็นนักแสดงชาวไทยที่มีหน้าตาคล้ายกับ แด๊ก ลิขิต เอกมงคล, หนุ่ย อำพล ลำพูน และ หนึ่ง วรเชษฐ์ นิ่มสุวรรณ เกิดเมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและวีรยุทธ รสโอชา · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปินแห่งชาติ

ลปินแห่งชาติ ของประเทศไทย หมายถึงศิลปินผู้มีความสามารถ มีผลงานสร้างสรรค์และพัฒนาเป็นที่ยอมรับของวงการ และมีผลงานเป็นประโยชน์ต่อสังคม นับตั้งแต่เริ่มโครงการศิลปินแห่งชาติ (พ.ศ. 2528) ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและศิลปินแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล

นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล (27 เมษายน 2494 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรองหัวหน้าพรรคชาติไทย และอดีต..อ่างทอง หลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรองประธานสภาผู้แทนราษฎร.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าว่า สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 29 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สองแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองร..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 หรือ สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 347 หรือ พระเจ้าท้ายสระนามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 165 หรือ พระเจ้าภูมินทราชา หรือ พระเจ้าบรรยงก์รัตนาสน์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 30 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สามแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์

มเด็จพระบรมราชา (ที่ 3) หรือ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ หรือ สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 33 และเป็นรัชกาลสุดท้ายแห่งอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเอกาทศรถ

มเด็จพระเอกาทศรถ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุโขทั.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสมเด็จพระเอกาทศรถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หรือ พระมหาธรรมราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า

มุมมองแม่น้ำเจ้าพระยาจากสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า (Somdet Phra Pinklao Bridge) หรือที่นิยมเรียกกันว่า สะพานปิ่นเกล้า เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้าระหว่างเขตพระนคร (ฝั่งพระนคร) กับเขตบางกอกน้อย (ฝั่งธนบุรี) กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันอยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท สะพานพระปิ่นเกล้าเป็นสะพานแบบคอนกรีตอัดแรงชนิดต่อเนื่อง มีจำนวนช่องทางรถวิ่ง 6 ช่องทางจราจร ความกว้างของสะพาน 26.60 เมตร ความยาว 622 เมตร สร้างขึ้นเพื่อผ่อนคลายความคับคั่งของการจราจร โดยได้รับความร่วมมือจากรัฐบาลประเทศญี่ปุ่น ในการสำรวจออกแบบสะพาน และให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่รัฐบาลไทย โดยให้เงินกู้สมทบกับเงินงบประมาณของรัฐบาลไทย เริ่มลงมือก่อสร้างเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2514 และสร้างเสร็จทำพิธีเปิดการจราจรเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2516 โดยได้รับพระราชทานนามว่า "สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า" เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพื้นที่ของสะพานทางฝั่งพระนครนั้นเคยเป็นเขตของพระราชวังบวรสถานมงคล.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพระราชวัง

ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสำนักพระราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

สิวะ แตรสังข์

วะ แตรสังข์ หรือ ศิวะ แตรสังข์ เป็นอดีตนักร้อง นักแสดงชาวไทยที่มีชื่อเสียงในอดีต เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2507 ที่อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง มีผลงานในวงการบันเทิงครั้งแรกด้วยการออกอัลบั้มกับวงฟ้าใหม่ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสิวะ แตรสังข์ · ดูเพิ่มเติม »

สุภา ศิริมานนท์

ริมานนท์ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 15 มีนาคม พ.ศ. 2529) นามปากกา จิตติน ธรรมชาติ เป็นนักคิด นักประพันธ์ นักหนังสือพิมพ์และนักวารสารศาสตร์คนสำคัญของประเทศไทย และผู้สื่อข่าวสงครามคนแรกของประเทศไทย (ในสงครามจีนญี่ปุ่น) เคยเป็นบรรณาธิการ “นิกรวันอาทิตย์” และ “อักษรสาส์น” เข้าร่วมขบวนการเสรีไทย รับราชการในกระทรวงการต่างประเทศ เป็นเลขานุการฝ่ายหนังสือพิมพ์ประจำสถานทูตไทย ณ ประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรป คือ สหภาพโซเวียต สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และฝรั่งเศส เป็นผู้บริหารและฝ่ายวิชาการของบริษัทอาคเนย์ประกันภัย และเป็นอาจารย์พิเศษที่ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสุภา ศิริมานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรม

ปัตยกรรม (architecture) หมายถึง ผลงานศิลปะที่แสดงออกสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสิ่งปลูกสร้างนั้น ที่มาจากการออกแบบของมนุษย์ ด้วยศาสตร์ทางด้านศิลปะ การจัดวางที่ว่าง ทัศนศิลป์ และวิศวกรรมการก่อสร้าง เพื่อประโยชน์ใช้สอย สถาปัตยกรรมยังเป็นสื่อความคิด และสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสังคมในยุคนั้นๆด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสถาปัตยกรรม · ดูเพิ่มเติม »

สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง

นที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)

หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร) เป็นอดีตข้าราชการในกระทรวงมหาดไทยสมัยรัชกาลที่ 5 และเป็นผู้แต่งหนังสือพงศาวดารหัวเมืองมณฑลอีสาน ซึ่งเป็นเอกสารสำคัญในการศึกษาเรื่องราวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและหม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร) · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าธงชัยสิริพันธ์ ศรีธวัช

อำมาตย์โท หม่อมเจ้าธงไชยศิริพันธุ์ ศรีธวัช (His Serene Highness Prince Thongjaya Siribandha Sridhavaj) (10 ธันวาคม พ.ศ. 2433 - 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515) เป็นพระโอรสลำดับที่ 7 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ กับหม่อมเผื่อน หม่อมเจ้าธงไชยศิริพันธุ์ ศรีธวัช ทรงจบการศึกษาที่โรงเรียนข้าราชการพลเรือน ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มต้นรับราชการเป็น มหาดเล็กรายงานมณฑลปราจีณ กระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2451.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและหม่อมเจ้าธงชัยสิริพันธ์ ศรีธวัช · ดูเพิ่มเติม »

หลวงบรรณสารประสิทธิ์ (สิทธิ โรจนวิภาต)

หลวงบรรณสารประสิทธิ์ (สิทธิ โรจนวิภาต) หลวงบรรณสารประสิทธิ์ (สิทธิ โรจนวิภาต) เป็นบุตรของหลวงพิจารณาคดีราษฎร์ (สมบุญ โรจนวิภาต) และนางอั๊ว โรจนวิภาต(เกิดศร) (นางอั๊วเป็นลูกพี่ลูกน้องกับนางพิจารณาคดีราษฎร์(วรรณ โรจนวิภาต)มารดาพระยาอาชญาจักร์ (บุญมา โรจนวิภาต)) นามเดิมว่า "เนื่อง" เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 4 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2435 ที่จังหวัดอ่างทอง ท่านได้รับการศึกษาเบื้องต้นที่จังหวัดอ่างทองต่อมาบิดาได้ส่งเข้าเรียนที่กรุงเทพฯที่โรงเรียนวัดเบญจมบพิตร (โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรในปัจจุบัน) เมื่อพระยาบรรหารทัณฑกิจ (ลำใย โรจนวิภาต) รับราชการเป็นผู้ช่วยอธิบดีกรมราชทัณฑ์ได้เอาตัวหลวงบรรณสารประสิทธิ์มาใช้สอยใกล้ชิดและได้ฝากให้รับราชการในกระทรวงนครบาล ต่อมาได้เรียนวิชากฎหมายเป็น2435.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและหลวงบรรณสารประสิทธิ์ (สิทธิ โรจนวิภาต) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงวิโรจน์รัฐกิจ (เปรื่อง โรจนกุล)

รองอำมาตย์เอก หลวงวิโรจน์รัฐกิจ เดิมชื่อ เปรื่อง เป็นเจ้าเมือง หัวเมืองชั้นจัตวา และเป็นบุคคลที่ร่วมกับครูบาศรีวิชัย นักบุญล้านนา และพระครูพุทธิวงศ์ธาดา วัดฉางข้าวน้อยเหนือ เจ้าคณะ อ. ปากบ่อง และคณะสง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและหลวงวิโรจน์รัฐกิจ (เปรื่อง โรจนกุล) · ดูเพิ่มเติม »

อยุธยา

อยุธยา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาร์มแชร์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอาร์มแชร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอาณาจักรธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางบาล

งบาล เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภอเสนาใน ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอบางบาล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางปะหัน

งปะหัน เป็นอำเภอหนึ่ง ใน 16 อำเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภอนครใน ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอบางปะหัน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางปะอิน

งปะอิน เป็นอำเภอหนึ่งใน 16 อำเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภอพระราชวัง ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน ซึ่งเป็นอำเภอที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของจังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอบางปะอิน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางไทร

งไทร เป็นอำเภอหนึ่งในสิบหกอำเภอของจังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอบางไทร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านแพรก

อำเภอบ้านแพรก เป็นอำเภอหนึ่งในสิบหกอำเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพื้นที่น้อยที่สุด ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำลพบุรีตอนล่าง เป็นที่อยู่อาศัยของผู้คนมาช้านาน มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีย้อนหลังไปถึงพุทธศตวรรษที่ 17-21 นับเป็นชุมชนเก่าแก่แห่งหนึ่ง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอบ้านแพรก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพรหมบุรี

รหมบุรี เป็นอำเภอหนึ่งใน 6 อำเภอของจังหวัดสิงห์บุรี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอพรหมบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอมหาราช

มหาราช เป็นอำเภอหนึ่งใน 16 อำเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภอนครใหญ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวิเศษชัยชาญ

อำเภอวิเศษชัยชาญ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง เดิมชื่อ อำเภอวิเศษไชยชาญ และก่อนหน้านั้น ชื่อ อำเภอไผ่จำศีล.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอวิเศษชัยชาญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศรีประจันต์

อำเภอศรีประจันต์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอศรีประจันต์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสามชุก

อำเภอสามชุก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรีซึ่งเป็นจังหวัดที่เก่าแก่และมีความสำคัญมากแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไท.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอสามชุก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสามโก้

อำเภอสามโก้ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง จัดตั้งขึ้นเป็นอำเภอเมื่อปี พ.ศ. 2508.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอสามโก้ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอผักไห่

อำเภอผักไห่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภอเสนาใหญ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอผักไห่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่าช้าง

ท่าช้าง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสิงห์บุรี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอท่าช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่าวุ้ง

ท่าวุ้ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี เดิมชื่อ อำเภอโพหวี ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอท่าวุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอดอนเจดีย์

อนเจดีย์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอดอนเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอค่ายบางระจัน

งระจัน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสิงห์บุรี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอค่ายบางระจัน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปากเกร็ด

ปากเกร็ด เป็นเป็นอำเภอที่มีตำบลมากที่สุดในจังหวัดนนทบุรี ที่ตั้งมีแม่น้ำเจ้าพระยาตัดผ่านตัวอำเภอ สภาพพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกส่วนใหญ่เป็นสวนผลไม้ต่าง ๆ ไร่นา ท้องทุ่ง ปศุสัตว์ ดังเช่นในชนบท ส่วนทางฝั่งตะวันออกมีที่พักอาศัย อุตสาหกรรม ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ ซูเปอร์มาร์เก็ต และยังเป็นที่ตั้งหน่วยงานราชการส่วนกลางของประเทศ ในอดีตอำเภอปากเกร็ดเคยขึ้นกับจังหวัดพระนครอยู่ช่วงหนึ่ง และบางตำบลเคยอยู่ในอำเภอบางบัวทอง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอปากเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอป่าโมก

อำเภอป่าโมก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอป่าโมก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแสวงหา

อำเภอแสวงหา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอแสวงหา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโพธิ์ทอง

อำเภอโพธิ์ทอง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอโพธิ์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอไชโย

อำเภอไชโย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอไชโย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสุพรรณบุรี

อำเภอเมืองสุพรรณบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอเมืองสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองอ่างทอง

อำเภอเมืองอ่างทอง เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การบริหาร เศรษฐกิจ และการศึกษาของจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอเมืองอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเสนา

อำเภอเสนา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภอเสนากลาง ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน เป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากเป็นลำดับ 3 จากทั้งหมด 16 อำเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา รองจากอำเภอบางปะอินและอำเภอวังน้อย อนึ่ง อำเภอเสนายังคงเป็นรู้จักกันอย่างกว้างขวางในชื่อบ้านแพน ซึ่งปัจจุบันเป็นชื่อตำบลหนึ่งของอำเภอเสนา แต่สมัยก่อนเป็นชื่อเก่าที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางมายาวนาน และปรากฏอยู่ตามสื่อต่าง ๆ ในสมัยก่อน เช่น เพลงลูกทุ่ง ละคร.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอเสนา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเดิมบางนางบวช

อำเภอเดิมบางนางบวช เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอำเภอเดิมบางนางบวช · ดูเพิ่มเติม »

อิสริยะ อภิชัย

อิสริยะ อภิชัย มีชื่อจริงว่า เรวดี มาลัยศรี ชื่อเล่น เร เกิดวันที่ 12 มีนาคม 2513 ได้รับตำแหน่งมิสไทยแลนด์เวิลด์ ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอิสริยะ อภิชัย · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย มีจังหวัดละหนึ่งแห่ง ยกเว้นกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีเขตพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทั้งจังหวัด จัดตั้งขึ้นเพื่อบริการสาธารณประโยชน์ในเขตจังหวัด ตลอดทั้งช่วยเหลือพัฒนางานของเทศบาลและ อบต. รวมทั้งการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและองค์การบริหารส่วนจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบล

องค์การบริหารส่วนตำบล มีชื่อย่อเป็นทางการว่า อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็น ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและองค์การบริหารส่วนตำบล · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์ มณีเทศ

อนุสรณ์ มณีเทศ (ชื่อเล่น: โย่ง; เกิด 11 ธันวาคม พ.ศ. 2524) เป็นนักร้องนำและมือกีตาร์วง อาร์มแชร.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและอนุสรณ์ มณีเทศ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชัยนาท

ังหวัดชัยนาท เดิมสะกดว่า ไชยนาท เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดต่าง ๆ ตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดอุทัยธานี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและจังหวัดชัยนาท · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอำเภอเมือง มีอำเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า".

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและจังหวัดพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระบุรี

ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและจังหวัดสระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสิงห์บุรี

ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและจังหวัดสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดของประเทศไทย

ังหวัด เป็นเขตบริหารราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 76 จังหวัด (ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครไม่เป็นจังหวัด) จังหวัดถือเป็นระดับการปกครองของรัฐบาลลำดับแรก โดยเป็นหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอเข้าด้วยกันและมีฐานะเป็นนิติบุคคล ในแต่ละจังหวัดปกครองด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด การจัดแบ่งกลุ่มจังหวัดออกเป็นภาคต่าง ๆ มีการใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกัน โดยมีทั้งการแบ่งอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถานสำหรับใช้ในแบบเรียน และการแบ่งขององค์กรต่าง ๆ ตามแต่การใช้ประโยชน์ ชื่อของจังหวัดนั้นจะเป็นชื่อเดียวกับชื่ออำเภอที่เป็นที่ตั้งของศูนย์กลางจังหวัด เช่น ศูนย์กลางการปกครองของจังหวัดเพชรบุรีอยู่ที่อำเภอเมืองเพชรบุรี เป็นต้น แต่ชื่ออำเภอเหล่านี้มักเรียกย่อแต่เพียงว่า "อำเภอเมือง" ยกเว้นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ใช้ชื่อจังหวัดเป็นชื่ออำเภอที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองโดยตรง (อำเภอพระนครศรีอยุธยา) หน่วยการปกครองย่อยรองไปจากจังหวัดคือ "อำเภอ" ซึ่งมีทั้งสิ้น 878 อำเภอ ซึ่งจำนวนอำเภอนั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัด ส่วนเขตการปกครองย่อยของกรุงเทพมหานครมีทั้งหมด 50 เขต.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและจังหวัดของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครสวรรค์

ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรม

มนาลิซา เป็นหนึ่งในภาพจิตรกรรมที่เป็นที่จดจำได้มากที่สุดในโลกตะวันตก โดย นายชัยยะนุช จิตรกรรม (painting) เป็นงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการวาด ระบายสี และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น เพื่อให้เกิดภาพ 2 มิติ ไม่มีความลึกหรือนูนหนา จิตรกรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานจิตรกรรม มักเรียกว่า จิตรกร จอห์น แคนาเดย์ (John Canaday) ได้ให้ความหมายของจิตรกรรมไว้ว่า จิตรกรรม คือ การระบายชั้นของสีลงบนพื้นระนาบรองรับ เป็นการจัดรวมกันของรูปทรง และ สีที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของศิลปินแต่ละคนในการเขียนภาพนั้น พจนานุกรมศัพท์ อธิบายว่า เป็นการสร้างงานทัศนศิลป์บนพื้นระนาบรองรับ ด้วยการ ลาก ป้าย ขีด ขูด วัสดุ จิตรกรรมลงบนพื้นระนาบรองรับ ภาพจิตรกรรมที่เก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จักอยู่ที่ถ้ำ Chauvet ในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนักประวัติศาสตร์บางคนอ้างว่ามีอายุราว 32,000 ปีเป็นภาพที่สลักและระบายสีด้วยโคลนแดงและสีย้อมดำ แสดงรูปม้า แรด สิงโต ควาย แมมมอธ หรือมนุษย์ ซึ่งมักจะกำลังล่าสัตว.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและจิตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพหลโยธิน

นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและถนนพหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

ทวารวดี

ทวารวดี เป็นคำภาษาสันสกฤต เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 1427 โดยนายแซมมวล บีล (Samuel Beel) ได้แปลงมาจากคำว่า โถโลโปตี้ (Tolopoti) ที่มีอ้างอยู่ในบันทึกของภิกษุจีนจิ้นฮง (Hiuantsang) ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวว่า โถโลโปตี เป็นชื่อของอาณาจักรหนึ่งตั้งอยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร และอาณาจักรอิศานปุระ และเขาได้สรุปด้วยว่าอาณาจักรนี้เดิมตั้งอยู่ในดินแดนประเทศไทย(สยาม)ปัจจุบัน และยังสันนิษฐานคำอื่นๆที่มีสำเนียงคล้ายกันเช่น จวนโลโปติ (Tchouanlopoti) หรือ เชอโฮโปติ (Chohopoti) ว่าคืออาณาจักรทวารวดีด้วย ต่อมาความคิดเห็นนี้ได้มีผู้รู้หลายท่านศึกษาต่อและให้การยอมรับเช่น นายเอดัวร์ ชาวาน (Edourd Chavannes) และ นายตากากุสุ (Takakusu) ผู้แปลจดหมายเหตุการเดินทางของภิกษุอี้จิงในปี พ.ศ. 2439 และ นายโปล เปลลิโอต์ (Paul Pelliot) ผู้ขยายความอาณาจักรทวารวดีเพิ่มอีกว่ามีประชาชนเป็นชาวมอญในปี พ.ศ. 2447 เป็นต้น ดังนั้นบรรดาเมืองโบราณรวมทั้งโบราณวัตถุสถานต่างๆที่พบมากมายโดยเฉพาะในบริเวณลุ่มน้ำแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งแต่เดิมไม่สามารถจัดกลุ่มได้ว่าเป็นของขอมหรือของไทย แต่มีลักษณะคล้ายกับศิลปะอินเดียสมัยราชวงศ์คุปตะ - หลังคุปตะ ราวพุทธศตวรรษที่ 9-13 ที่พันตรีลูเนต์ เดอ ลาจองกีเยร์ (Lunet de Lajonguiere) เรียกว่า กลุ่มอิทธิพลอินเดียแต่ไม่ใช่ขอม จึงถูกนำมาสัมพันธ์กลายเป็นเรื่องเดียวกัน โดยศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ (พ.ศ. 2468) และสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (พ.ศ. 2469) เป็นกลุ่มบุคคลแรกที่กำหนดเรียกชื่อดินแดนที่เมืองโบราณเหล่านี้ตั้งอยู่ รวมทั้งงานศิลปกรรมที่พบนั้นว่าคือดินแดนแห่งอาณาจักรทวารวดี และศิลปะแบบทวารวดี โดยใช้เหตุผลของตำแหน่งที่ตั้งอาณาจักรตามบันทึกจีนกับอายุของบันทึก และอายุของงานศิลปกรรมที่ตรงกัน อาณาจักรทวารวดีจึงกลายเป็นอาณาจักรแรกในดินแดนไทย กำหนดอายุตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12 ลงมาถึงพุทธศตวรรษที่ 16 อาณาจักรทวารวดี เป็นที่น่าเชื่อถือขึ้นอีกเมื่อพบเหรียญเงิน 2 เหรียญ มีจารึกภาษาสันสกฤตอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 จากเมืองนครปฐมโบราณ มีข้อความว่า ศรีทวารวดีศวรปุณยะ ซึ่งแปลได้ว่า บุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดี หรือ บุญของผู้เป็นเจ้าแห่งศรีทวารวดี หรือ พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ อาณาจักรทวารวดีจึงเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีอยู่จริง และยังเชื่อกันอีกด้วยว่าเมืองนครปฐมโบราณน่าจะเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงของอาณาจักร (แต่ปัจจุบันพบเหรียญลักษณะคล้ายกันอีก 2 เหรียญ ที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และที่อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ความสำคัญของเมืองนครปฐมจึงเปลี่ยนไป) แต่ขณะเดียวกันนักวิชาการบางท่านก็เชื่อว่าอำเภออู่ทอง หรืออาจเป็นจังหวัดลพบุรี ที่น่าจะเป็นเมืองหลวงมากกว่ากัน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและทวารวดี · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309 สายวังน้อย–สิงห์บุรี เป็นถนนสายหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดอ่างทอง และจังหวัดสิงห์บุรี ระยะทางรวม 96.968 กิโลเมตร โดยลักษณะเส้นทางเป็นถนนขนาด 2-4 ช่องจราจร บางช่วงขนานไปกับแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นถนนสายเก่าที่เป็นเส้นทางคมนาคมจากกรุงเทพมหานครไปยังจังหวัดภาคกลางทั้งสามจังหวัด ก่อนที่จะมีถนนสายเอเชียในเวลาต่อม.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 สายบางปะอิน–แยกหลวงพ่อโอ เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่รู้จักกันทั่วไปในฐานะส่วนหนึ่งของโครงข่ายทางหลวงเอเชีย เป็นเส้นทางหลักที่เชื่อมต่อระหว่างกรุงเทพมหานครสู่จังหวัดในภาคกลาง และภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 150.545 กิโลเมตร ในอนาคตมีโครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษหมายเลข 5 สายบางปะอิน-นครสวรรค์ โดยใช้เส้นทางร่วมกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 สายบางบัวทอง–ชัยนาท หรือเรียกกันทั่วไปว่า ถนนบางบัวทอง–สุพรรณบุรี และ ถนนสุพรรณบุรี–ชัยนาท เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดชัยนาท ระยะทาง 164.21 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่สามารถไปภาคเหนือได้โดยไม่ต้องผ่านทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 เดิมชื่อ ถนนตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี ก่อสร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าเตียน

ประชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ยวลงเรือด่วนเจ้าพระยา ร้านค้าและอาคารพาณิชย์ทางเข้าตลาดท่าเตียน หลังการปรับปรุง ท่าเตียน เป็นท่าเรือและตลาดแห่งหนึ่ง ในแขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนมหาราช ด้านตะวันตกติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา ท่าเตียน มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนานตั้งแต่ยุคเริ่มต้นสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ โดยอยู่บริเวณด้านหลังพระบรมมหาราชวัง และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยที่ชื่อ "ท่าเตียน" มีที่มาต่าง ๆ กันไป บ้างก็ว่าเกิดจากในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 ที่แถบนี้เคยเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ จนราบเรียบเหี้ยนเตียน หรือเชื่อว่ามาจาก "ฮาเตียน" เมืองท่าแห่งหนึ่งในตอนใต้ของประเทศเวียดนาม (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดเกียนซาง ในต้นกรุงรัตนโกสินทร์เป็นดินแดนของไทย ในชื่อ บันทายมาศ หรือ พุทไธมาศ) เนื่องจากแถบนี้ในอดีตเคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวญวนอพยพหนีภัยสงครามจากเว้ ตั้งแต่ยุคกรุงธนบุรี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และชาวญวนเหล่านี้ได้เรียกชื่อถิ่นฐานนี้ว่าฮาเตียน เนื่องจากมีภูมิทัศน์คล้ายกับฮาเตียนเพื่อคลายความคิดถึงถิ่นฐานตนเอง และได้เรียกเพี้ยนมาเป็นท่าเตียนในที่สุด แต่ทั้งนี้ท่าเตียนปรากฏมาตั้งแต่อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา โดยปรากฏหลักฐานเป็นนิราศของหม่อมพิมเสนเรียกว่า "บางจีน" สันนิษฐานว่าอาจเคยเป็นถิ่นที่อยู่ของชาวจีนด้วย และยังมีตำนานเมืองที่โด่งดังมาก คือ เรื่องของยักษ์เฝ้าประตูวัดสองฟากต่อสู้กัน คือ ยักษ์วัดแจ้ง จากฝั่งธนบุรี ต่อสู้กับ ยักษ์วัดโพธิ์ แห่งฝั่งพระนคร เนื่องจากผิดใจกันเรื่องการขอยืมเงินกัน จนในที่สุดที่บริเวณนี้เหี้ยนเตียนราบเรียบไปหมด ซึ่งในบางตำนานก็มีการเสริมเติมแต่งเข้าไปอีกว่า ที่ยักษ์ทั้งสองตนนั้นหยุดสู้กันเพราะมีโยคีหรือฤๅษีมาห้าม บ้างก็ว่าเป็นยักษ์วัดพระแก้วเข้ามาห้าม ปัจจุบัน ท่าเตียนเป็นทั้งตลาดและสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยม มีร้านอาหารและร้านกาแฟเป็นจำนวนมาก ในส่วนของตลาด เป็นตลาดที่นับว่าใหญ่ที่สุดของกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นตลาดที่มีสินค้าหลากหลายประเภทขายทั้งสินค้าทางการเกษตรหรือข้าวของเครื่องใช้ เนื่องจากเป็นท่าจอดเรือที่มีชัยภูมิเหมาะสม โดยในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีชื่อเรียกว่า "ตลาดท้ายวัง" หรือ "ตลาดท้ายสนม" กินอาณาบริเวณตั้งแต่ถนนท้ายวังจนถึงตลาดท่าเตียนในปัจจุบัน เป็นตลาดที่บรรดานางในหรือนางสนมจะออกจากกำแพงพระบรมมหาราชวังมาจับจ่ายซื้อข้าวของต่าง ๆ โดยสินค้าที่นิยมมากที่สุด คือ ดอกไม้ ต่อมาได้รวมเป็นตลาดเดียวกับตลาดท่าเตียน จนกระทั่งถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 5 จึงเริ่มมีการสร้างอาคารขึ้นมาอย่างเป็นรูปร่าง โดยวางแนวเป็นรูปตัวยู ด้วยสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิก และมีสินค้าที่หลากหลายมากขึ้น และกลายมาเป็นแหล่งค้าส่งแห่งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เช่น วัสดุก่อสร้าง, เครื่องตัดหญ้า, อะไหล่รถยนต์, ผักและผลไม้, น้ำตาล, ลูกอมหรือท็อฟฟี่ รวมถึงอาหารทะเลแห้ง เป็นต้นในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 ท่าเตียนมีสถานะเป็นตำบลชื่อ "ตำบลท่าเตียน" ขึ้นอยู่กับอำเภอพระราชวัง (เขตพระนครในปัจจุบัน) ปัจจุบันอาคารพาณิชย์ตลอดจนบ้านเรือนต่าง ๆ ได้รับการบูรณะปรับปรุงโดยสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและท่าเตียน · ดูเพิ่มเติม »

ขุนรองปลัดชู

อนุสาวรีย์ขุนรองปลัดชู ที่วัดสี่ร้อย ตำบลสี่ร้อย อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง ขุนรองปลัดชู เป็นผู้นำในคณะกรมการเมืองวิเศษไชยชาญ (ปัจจุบันคืออำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง) มีชีวิตในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย รัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) ซึ่งได้รวบรวมไพร่พลเข้าเป็นกองอาสาสมัคร 400 คน สังกัดกองอาทมาต เพื่อเข้าร่วมทัพกรุงศรีอยุธยาต่อต้านการบุกครองของกองทัพพม่าในสงครามพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและขุนรองปลัดชู · ดูเพิ่มเติม »

ขนส่ง (บริษัท)

หน้านี้เป็นหน้าบทความที่กล่าวถึง บริษัท ขนส่ง จำกัด สำหรับบทความอื่นดูเพิ่มเติมได้ที่ ขนส่ง บริษัท ขนส่ง จำกัด หรือ. เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงคมนาคม ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2473 โดยใช้ชื่อว่า บริษัท เดินอากาศ จำกัด และได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น บริษัท ขนส่ง จำกัด ในปี พ.ศ. 2482โดย ปัจจุบัน พลตรี สุรพล ตาปนานนท์ เป็นประธานกรรมการบริษัท ขนส่ง จำกัด (บขส.).

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและขนส่ง (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำจังหวัดของไทย

ตราประจำจังหวัดของไทย มีพัฒนาการมาจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 ในสมัยที่จอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น รัฐบาลได้กำหนดให้แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดของตนเองใช้เมื่อ พ.ศ. 2483 โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบตราตามแนวคิดที่แต่ละจังหวัดกำหนดไว้ ปัจจุบัน เมื่อมีการตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ ก็จะมีการออกแบบตราประจำจังหวัดด้วยเสมอ แต่ตราของบางจังหวัดที่ใช้อยู่นั้นบางตราก็ไม่ใช่ตราที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ บางจังหวัดก็เปลี่ยนไปใช้ตราประจำจังหวัดเป็นแบบอื่นเสียก็มี บางที่ลักษณะของตราก็เพี้ยนไปจากลักษณะที่กรมศิลปากรออกแบบไว้ แต่ยังคงลักษณะหลัก ๆ ของตราเดิมไว้อยู่บ้างก็มี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและตราประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ปฐมพงษ์ เกษรศุกร์

ลเอก ปฐมพงษ์ เกษรศุกร์ อดีตประธานที่ปรึกษากองบัญชาการกองทัพไทย และที่ปรึกษาด้านการรักษาความปลอดภัยของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในการชุมนุมเมื่อปี พ.ศ. 2551 ปัจจุบันเป็นประธานและผู้ก่อตั้งองค์กรอุณาโลม.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและปฐมพงษ์ เกษรศุกร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประติมากรรม

ผลงานประติมากรรมนูนต่ำ(ภาพแกะสลัก)ที่ปราสาทนครวัด โรแด็ง ประติมากรชาวฝรั่งเศส ผลงานประติมากรรมลอยตัว ของโรแด็ง ประติมากรชาวฝรั่งเศส ประติมากรรม (Sculpture) เป็นงานศิลปะแสดงออกด้วยการปั้น แกะสลัก หล่อ และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น ลงบนสื่อต่างๆ เช่น ไม้ หิน โลหะ สัมฤทธิ์ ฯลฯ เพื่อให้เกิดรูปทรง 3 มิติ มีความลึกหรือนูนหนา สามารถสื่อถึงสิ่งต่างๆ สภาพสังคม วัฒนธรรม รวมถึงจิตใจของมนุษย์โดยชิ้นงาน ผ่านการสร้างของประติมากร ประติมากรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานประติมากรรม มักเรียกว่า ประติมากร งานประติมากรรมที่เกี่ยวกับศาสนามักสะกดให้แตกต่างออกไปว่า ปฏิมากรรม ผู้ที่สร้างงานปฏิมากรรม เรียกว่า ปฏิมากร.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและประติมากรรม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะเพียนทอง

ปลาตะเพียนทอง เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Barbonymus altus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างลักษณะคล้ายปลากระแห (B. schwanenfeldi) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน กล่าวคือ มีเกล็ดตามลำตัวแวววาวสีเหลืองทองเหลือบแดงหรือส้ม ครีบหางเป็นสีส้มหรือสีแดงสด แต่ปลาตะเพียนทองมีเกล็ดขนาดใหญ่กว่า ครีบหลังและครีบหางไม่มีแถบสีดำ มีขนาดโตเต็มที่ประมาณไม่เกิน 30 เซนติเมตร ปลาตะเพียนทองพบอยู่ทั่วไปตามห้วยหนองคลองบึงและแหล่งน้ำขนาดใหญ่ของภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมักจะอยู่ปะปนกับปลากระแหและปลาตะเพียนขาว (B. gonionotus) ด้วยกันเสมอ ๆ สำหรับต่างประเทศพบในลาว กัมพูชา และภาคใต้ของเวียดนาม ปลาตะเพียนทองเป็นปลาที่คนไทยรู้จักกันดี โดยนิยมบริโภคเป็นอาหารมายาวนานและใช้สานเป็นปลาตะเพียนใบลาน นอกจากนี้ยังเป็นปลาชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น "ปลาตะเพียนหางแดง", "ปลาลำปำ" หรือ "ปลาเลียนไฟ" ในภาษาปักษ์ใต้ ซึ่งเป็นชื่อเรียกซ้ำซ้อนกับปลากระแห.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและปลาตะเพียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลื้มจิตร์ ถินขาว

ปลื้มจิตร์ ถินขาว (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 —) เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย ผู้ทำหน้าที่ในตำแหน่งบอลกลาง และมีโอกาสไปแข่งขันวอลเลย์บอลอาชีพในต่างประเท.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและปลื้มจิตร์ ถินขาว · ดูเพิ่มเติม »

ป่า

ป่า ป่าไม้ ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ หมายถึง ที่ดินที่ไม่มีบุคคลใดบุคคลหนึ่งได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ครอบครองตามกฎหมายที่ดิน โดยทั่วไป หมายถึง บริเวณที่มีความชุ่มชื้น และปกด้วยใบไม้สีเขียว ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่นและกว้างใหญ่พอที่จะมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อมในบริเวณนั้น เช่น ความเปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของดินและน้ำ มีสัตว์ป่าและสิ่งมีชีวิตอื่นซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและป่า · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำน้อย

แม่น้ำน้อย แม่น้ำน้อย เป็นแม่น้ำสาขาแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ชุมชนปากแพรก อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท เป็นแม่น้ำสายเล็ก ๆ ที่ไหลผ่านอำเภอบางระจัน อำเภอค่ายบางระจัน และอำเภอท่าช้าง จังหวัดสิงห์บุรี ไหลผ่านจังหวัดอ่างทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แล้วไปรวมกับแม่น้ำเจ้าพระยาอีกครั้งที่อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แม่น้ำน้อยมีความยาวทั้งสิ้น 145 กิโลเมตร ความกว้างประมาณ 80 เมตร มีน้ำตลอดทั้งปี มีชื่อเรียกต่างกันตามท้องถิ่น เช่น ตอนที่ไหลผ่านอำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเรียกว่า "คลองสีกุก" หรือ"แควสีกุก" หรือตอนที่ไหลผ่านอำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเช่นกัน เรียกว่า "แม่น้ำแควผักไห่" เป็นต้น และยังมีแควสาขาเป็นคลองสายต่าง ๆ ที่ไหลและแยกตัวกันอีก เช่น คลองบางปลากด คลองศาลาแดง คลองไชโย เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว แม่น้ำน้อยยังเป็นสถานที่แห่งแรกที่มีการค้นพบปลาในสกุล Sikukia หรือปลาน้ำฝาย อันเป็นปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) โดย ดร.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและแม่น้ำน้อย · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

แร่

ผลึกแร่ชนิดต่าง ๆ แร่ (Mineral) เป็นธาตุหรือสารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ด้วยกระบวนการทางอนินทรีย์ ส่วนใหญ่เป็นของแข็ง มีโครงสร้างภายในที่เป็นระเบียบ มีสูตรเคมีและสมบัติอื่น ๆ ที่แน่นอนคงที่หรืออาจเปลี่ยนแปลงได้ในวงจำกั.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและแร่ · ดูเพิ่มเติม »

แอน มิตรชัย

แอน มิตรชัย นักร้อง นักแสดงหญิง นางแบบชาวไทย และมีผลงานกับค่ายหนังบอลลีวู๊ด ประเทศอินเดี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและแอน มิตรชัย · ดูเพิ่มเติม »

โก๊ะตี๋ อารามบอย

ริญพร อ่อนละม้าย (เกิด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2523) ชื่อในการแสดงว่า โก๊ะตี๋ อารามบอย หรือเดิมใช้ว่า โก๊ะตี๋ ผีน่ารัก เป็นนักแสดงชาวจังหวัดอ่างทอง จุดเด่นคือรูปร่างอ้วนและเหมือนเด็ก แทนตัวเองว่า "หนู" มีผลงานการแสดงหลายด้าน ทั้งตลก ภาพยนตร์ และละคร นอกจากนี้ ยังเป็นนักธุรกิจแอมเวย์ระดับแพลตินัมสองผู้สถาปน.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและโก๊ะตี๋ อารามบอย · ดูเพิ่มเติม »

โรจน์ เมืองลพ

รจน์ เมืองลพ หรือ ไพโรจน์ ศรีผ่อง เป็นชาวอำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง แต่ได้ไปโตที่จังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและโรจน์ เมืองลพ · ดูเพิ่มเติม »

โน้ต เชิญยิ้ม

น้ต เชิญยิ้ม ชื่อจริง บำเรอ ผ่องอินทรกุล ชื่อสกุลเดิมคือ ผ่องอินทรีย์ (7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 เป็นนักแสดงตลกผู้ก่อตั้งคณะเชิญยิ้ม ร่วมกับเป็ด เชิญยิ้ม (ธัญญา โพธิ์วิจิตร) สรายุทธ สาวยิ้ม สีหนุ่ม เชิญยิ้ม (บุญธรรม ฮวดกระโทก) เมื่อปี พ.ศ. 2523.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและโน้ต เชิญยิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

ไชยา มิตรชัย

มิตรชัย หรือชื่อจริงว่า เสมา สมบูรณ์ เป็นนักแสดงลิเกชาวไทยที่มีชื่อเสียง ซึ่งต่อมาได้เป็นนักร้องและนักแสดง.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและไชยา มิตรชัย · ดูเพิ่มเติม »

ไปรยา สวนดอกไม้

ปรยา สวนดอกไม้ (เกิด 28 มีนาคม พ.ศ. 2532) ชื่อเล่น ปู เป็นนักแสดงและนางแบบลูกครึ่งไทย-สวีเดนโดยที่แม่ของเธอภายหลังได้แต่งงานใหม่กับชาวอังกฤษ มีผลงานการแสดงครั้งแรกเรื่อง รักได้ไหม ถ้าหัวใจไม่เพี้ยน ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและไปรยา สวนดอกไม้ · ดูเพิ่มเติม »

เชิญยิ้ม

ญยิ้ม เป็นคณะตลกที่โด่งดังคณะหนึ่งในเมืองไทย ก่อตั้งและนำโดย 4 คน สรายุทธ สาวยิ้ม โน้ต เชิญยิ้ม เพชร โพธิ์ทอง ศรีหนุ่ม เชิญยิ้ม เมื่อ เพชร โพธิ์ทอง ออกจากคณะ มาอยู่วงลูกทุ่ง สรายุทธ สาวยิ้ม ก็เลยดึง เป็ด เชิญยิ้ม จากตลก 4 ทะเล้น ส่วน ศรีหนุ่ม มาจากลูกทุ่งดารา สุริยา ชินพันธุ์ โน้ต มาจากลิเกบรรหาร ศิษย์ หอมหวล นาคศิริ สรายุทธ มาจากลิเกมันทะลุฟ้า ปี..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและเชิญยิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง

รองศาสตราจารย์ เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง อาจารย์พิเศษประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, นักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน์ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาต.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและเจิมศักดิ์ ปิ่นทอง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบล

ทศบาลตำบล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดเล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตำบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลหรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลตำบลกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตำบลมีนายกเทศมนตรีคนหนึ่งทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 12 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรเขตเทศบาล เทศบาลตำบลมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร เทศบาลตำบลโดยทั่วไปมีชื่อตามตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ แต่ก็มีหลายแห่ง (ส่วนใหญ่จะเป็นเทศบาลตำบลที่ได้รับการยกฐานะขึ้นมาจากสุขาภิบาล) ที่ไม่ได้ใช้ชื่อของตำบลหรืออำเภอที่ตั้งเทศบาลเป็นชื่อ เช่น เทศบาลตำบล กม.5 ที่ตั้งอยู่ในตำบลอ่าวน้อย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นอกจากนี้ เทศบาลตำบลแห่งหนึ่ง ๆ อาจมีเขตครอบคลุมพื้นที่ตำบลอันเป็นที่ตั้งเทศบาลแห่งนั้นทั้งตำบล หรือครอบคลุมพื้นที่เพียงบางส่วนของตำบล ส่วนพื้นที่ตำบลเดียวกันซึ่งอยู่นอกเขตเทศบาลนั้นจะอยู่ในความดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบล (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับล่างสำหรับพื้นที่ชนบท) หรือบางครั้งเขตเทศบาลยังอาจครอบคลุมไปถึงพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของตำบลอื่นที่อยู่ข้างเคียงก็ได้ หากท้องถิ่นที่เป็นเทศบาลตำบลเจริญเติบโตขึ้นจนมีประชากรถึง 10,000 คน และมีรายได้พอควร อาจได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมือง (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดกลาง) ซึ่งจะมีอำนาจหน้าที่และความเป็นอิสระมากขึ้น และเขตเทศบาลก็อาจขยายออกไปตามชุมชนเมืองที่ขยายตัวโดยยุบองค์การบริหารส่วนตำบลข้างเคียงที่กลายสภาพจากชนบทเป็นเมืองเข้ามารวมด้วย แต่ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนที่อยู่ในท้องที่นั้น ๆ ปัจจุบัน ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและเทศบาลตำบล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ท้องถิ่นที่จะได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองนั้น คือ ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด เช่น เทศบาลเมืองเพชรบุรี (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี) เทศบาลเมืองสระแก้ว (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสระแก้ว) หรือท้องถิ่นที่มีจำนวนราษฎรมากกว่า 10,000 คน และมีรายได้เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ของเทศบาลเมืองตามที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่ก็มีท้องถิ่นบางแห่งที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดและมีจำนวนประชากรไม่ถึง 10,000 คน แต่ก็มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง เนื่องจากได้รับการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาลสมัยแรก ๆ ซึ่งวางเกณฑ์ต่างจากปัจจุบัน เช่น เทศบาลเมืองเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทศบาลเมืองหลายแห่งมีฐานะเดิมเป็นเทศบาลตำบล เช่น เทศบาลตำบลหัวหิน เทศบาลตำบลชะอำ ที่ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองหัวหินและเทศบาลเมืองชะอำตามลำดับ แต่ก็มีบางแห่งที่ได้รับการยกฐานะข้ามขั้นจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นมาโดยไม่เป็นเทศบาลตำบลมาก่อน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองปรกฟ้า, องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทั้งนี้ หากท้องถิ่นใดได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองไปแล้วเป็นเวลา 1 ปี ตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล และสารวัตรกำนันในท้องถิ่นนั้น ๆ จะถูกยกเลิกไปด้วย นอกจากเทศบาลเมืองอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดจะมีชื่อเรียกตามชื่อจังหวัดแล้ว (ยกเว้นตัวจังหวัดที่เป็นเทศบาลนครแล้วจำนวน 22 จังหวัด และตัวจังหวัดสุโขทัยซึ่งมีชื่อว่า เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี) เทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอโดยทั่วไปมักมีชื่อตามชื่ออำเภอหรือตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ เช่น เขตเทศบาลเมืองสวรรคโลก ครอบคลุมเขตตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย แต่ก็มีบางแห่งที่ไม่ใช้ชื่ออำเภอหรือตำบลเป็นชื่อ เช่น เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง ครอบคลุมเขตตำบลบางพึ่ง ตำบลบางจาก และตำบลบางครุ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เทศบาลเมืองมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและมีสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 18 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรในเขตเทศบาล โดยเทศบาลเมืองมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและเทศบาลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองอ่างทอง

อ่างทอง เป็นเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งและแห่งเดียวในจังหวัดอ่างทอง เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัด ตั้งอยู่บนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยา มีพื้นที่ครอบคลุมหลายตำบลในอำเภอเมืองอ่างทอง ได้แก่ ตำบลตลาดหลวง ตำบลบางแก้ว และบางส่วนของตำบลศาลาแดง ตำบลบ้านแห ตำบลบ้านอิฐ ตำบลโพสะ และตำบลย่านซื่อ โดยในปี..

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและเทศบาลเมืองอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

25 มีนาคม

วันที่ 25 มีนาคม เป็นวันที่ 84 ของปี (วันที่ 85 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 281 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จังหวัดอ่างทองและ25 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วิเศษชัยชาญอ่างทองจ.อ่างทองเมืองวิเศษชัยชาญ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »