โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร

ดัชนี วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร

วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร อยูในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ใกล้สะพานกษัตริย์ศึกและสถานีรถไฟกรุงเทพฯ (หัวลำโพง) อยู่รวมกับ "โรงเรียนเทพศิรินทร์" พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดเทพศิรินทราวาส เมื่อ พ.ศ. 2419 ขณะมีพระชนมายุครบ 25 พรรษาพอดี เพื่อทรงเฉลิมพระเกียรติและอุทิศพระราชกุศลสนองพระเดชพระคุณกรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ซึ่งได้เสด็จสวรรคตตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ยังทรงพระเยาว์ วันที่ 3 กรกฎาคม..

35 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2419พ.ศ. 2421พ.ศ. 2426พ.ศ. 2427พ.ศ. 2437พ.ศ. 2438พ.ศ. 2439พ.ศ. 2441พ.ศ. 2494พ.ศ. 2498พ.ศ. 2521พ.ศ. 2546พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระสาสนโสภณ (เอื้อน ชินทตฺโต)พระอารามหลวงพระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช ฐานจาโร)กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษาลายรดน้ำสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร)สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร)สมเด็จพระวันรัต (นิรันตร์ นิรนฺตโร)สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย)สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีสถานีรถไฟกรุงเทพหม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์ฌาปนสถานธรรมยุติกนิกายแยกกษัตริย์ศึกโรงเรียนเทพศิรินทร์เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายเครื่องอิสริยาภรณ์

พ.ศ. 2419

ทธศักราช 2419 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1876.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2419 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2421

ทธศักราช 2421 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1878.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2421 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2426

ทธศักราช 2426 ตรงกั.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2426 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2427

ทธศักราช 2427 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1884 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2427 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2437

ทธศักราช 2437 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1894 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2437 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2438

ทธศักราช 2438 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1895 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2438 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2439

ทธศักราช 2439 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1896 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2439 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2441

ทธศักราช 2441 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1898 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2441 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2521 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระสาสนโสภณ (เอื้อน ชินทตฺโต)

ระสาสนโสภณ นามเดิม เอื้อน สุดเฉลียว ฉายา ชินทตฺโต อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร และอดีตเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต).

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระสาสนโสภณ (เอื้อน ชินทตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระอารามหลวง

ระอารามหลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรงสร้างหรือทรงบูรณปฏิสังขรณ์ หรือมีผู้สร้างน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นวัดหลวง และวัดที่ราษฎรสร้าง หรือบูรณปฏิสังขรณ์ แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระอารามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช ฐานจาโร)

ระธรรมไตรโลกาจารย์ นามเดิม เดช ฉายา ฐานจาโร เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร และอดีตนายกสภากรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 12, ตอน 41, 12 มกราคม ร..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช ฐานจาโร) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

ลายรดน้ำ

ลายรดน้ำ บนฝาผนังวัดสุทัศน์ ลายรดน้ำ เป็นงานประณีตศิลป์ของไทยชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในงานจิตรกรรมประเภทสีเอกรงค์ สันนิษฐานว่ามีมาตั้งแต่กรุงสุโขทัยเป็นราชธานี จากหลักฐานในจดหมายเหตุกรุงสยามและกรุงจีน ซึ่งบรรยายถึง พ่อขุนรามคำแหงทรงเจริญพระอักษรแต่งตั้งราชทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับจีนโดยการเขียนพระราชสาส์นเป็นลายรดน้ำ ลายรดน้ำ เป็นลวดลายหรือภาพ รวมไปถึงภาพประกอบลายต่าง ๆ ที่ปิดด้วยทองคำเปลวบนพื้นรัก โดยขั้นตอนการทำสุดท้ายคือการเอาน้ำรด ให้ปรากฏเป็นลวดลาย จึงกล่าวได้ว่า “ลายรดน้ำ” คือ ลายทองที่ล้างด้วยน้ำ งานเขียนลายรดน้ำส่วนใหญ่จะเขียนประดับตามสถานที่ต่าง ๆ เช่นประตู หน้าตา ฝาผนัง รวมถึงเครื่องไม้ใช้สอยต่าง ๆ ด้วย ภาพ:Bkkwangsuanpakkardrb03.jpg|หอเขียนลายรดน้ำวังสวนผักกาด กรุงเทพ ภาพ:Watrakhangdoorpano0609.jpg|บานประตูพระอุโบสถ วัดระฆัง กรุงเทพ ภาพ:Watrakhanghortrai052000b.jpg|ตู้พระธรรมลายรดน้ำภายในหอพระไตรปิฎกวัดระฆัง กรุงเทพ หมวดหมู่:ศิลปะไทย.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและลายรดน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร)

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ าณวโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในการปกครองคณะสงฆ์ไทย เช่น สังฆนายก เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ เจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร เป็นต้น.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร)

มเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลั.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต (นิรันตร์ นิรนฺตโร)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม นิรันตร์ ฉายา นิรนฺตโร เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและกรรมการมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระวันรัต (นิรันตร์ นิรนฺตโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย)

มเด็จพระธีรญาณมุนี นามเดิม สมชาย พุกพุ่มพวง ฉายา วรชาโย เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต) กรรมการมหาเถรสมาคม และรองแม่กองธรรมสนามหลวง รูปที่ 1 ฝ่ายนักธรรม.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

มเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระนามเดิม:หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์; 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 — 9 กันยายน พ.ศ. 2404) เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟกรุงเทพ

นอกสถานีรถไฟกรุงเทพ ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สถานีรถไฟหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2453 สร้างเสร็จและเริ่มใช้งาน วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2459 ในปัจจุบันสถานีรถไฟหัวลำโพง มีทางเชื่อมต่อที่มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่ดูกลมกลืนกับรถไฟฟ้ามหานครหรือรถไฟฟ้าใต้ดินบริเวณถนนพระรามที่ 4 การก่อสร้างสถานีกรุงเทพ ก่อสร้างในลักษณะโดมสไตล์อิตาเลียนผสมกับศิลปะแบบเรอเนสซองซ์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับสถานีรถไฟแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี การประดับหลัก ประดับด้วยหินอ่อนและเพดานมีการสลักลายนูนต่าง ๆ โดยมีนาฬิกาขนาดใหญ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 160 เซนติเมตร ตั้งอยู่กลางสถานีรถไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึ่ง สถานีกรุงเทพ มีรถไฟประมาณ 200 ขบวนต่อวัน โดยมีผู้โดยสารหลายหมื่นคน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2561) โดยเฉพาะช่วงวันสำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ จะมีผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสถานีรถไฟกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์

หม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์ เป็นราชบัณฑิตและอดีตพระราชาคณะชั้นธรรมเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌาปนสถาน

ปนสถาน หมายถึง สถานที่ที่ซึ่งใช้ฌาปนกิจศพ อาจแบ่งได้ 2 ประเภท คือ.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและฌาปนสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมยุติกนิกาย

ตราคณะธรรมยุต ธรรมยุติกนิกาย หรือ คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชอยู่นั้น ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานทำให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของพระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นเหตุให้มีพระราชดำริในอันที่จะฟื้นฟูการสั่งสอนพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยตามที่ได้ทรงศึกษา และทรงพิจารณาสอบสวนจนเป็นที่แน่แก่พระราชหฤทัยว่าถูกต้องเป็นจริงอย่างไร แล้วพระองค์ได้ทรงนำประพฤติปฏิบัติขึ้นก่อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเริ่มแก้ไขที่พระองค์เองเป็นอันดับแรก ต่อมาเมื่อมีบุคคลอื่นเห็นชอบและนิยมตาม จึงได้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามอย่างพระองค์ขึ้น และมีจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ จนเกิดเป็นพระสงฆ์หมู่หนึ่ง หรือนิกายหนึ่ง ที่ได้ชื่อในภายหลังว่า ธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ธรรมยุต” อันมีความหมายว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม หรือชอบด้วยธรรม หรือยุติตามธรรม ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระสงฆ์นี้เกิดขึ้นด้วยมุ่งแสวงหาว่า ข้อใดเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์ (คือคำสั่งสอนของพระศาสดา) แล้วปฏิบัติข้อนั้น เว้นข้อที่ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นวินัย ไม่เป็นสัตถุศาสน์ แม้จะเป็นอาจินปฏิบัติ (ข้อปฏิบัติตามกันมาแต่ผิดพระธรรมวินัย) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 มีสาระสำคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ธรรมยุติกนิกาย ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปและฟื้นฟูด้านวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ให้มีความถูกต้องและเข้มงวดตามพุทธบัญญัติ ให้พระภิกษุสงฆ์มีวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดถูกต้องตามพระวินัยปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเข้าใจแจ่มแจ้ง เป็นการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในส่วนที่บกพร่องของพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่โบราณ ให้สมบูรณ์ทั้งพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นความพยายามของพระวชิรญาณเถระเพื่อช่วยปฏิรูปการคณะสงฆ์และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองอย่างบริบูรณ์ขึ้นในประเทศไทย การก่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เป็นสาเหตุทำให้พระสงฆ์เถรวาทอื่นซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ได้มีการประชุมและมีมติให้เรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ว่า "มหานิกาย".

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและธรรมยุติกนิกาย · ดูเพิ่มเติม »

แยกกษัตริย์ศึก

แยกกษัตริย์ศึก (Kasat Suek Intersection) เป็นทางแยกหนึ่งในพื้นที่แขวงคลองมหานาคและแขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และแขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกที่เป็นจุดกันระหว่างถนนพระราม 1, ถนนกรุงเกษม และถนนบำรุงเมือง ชื่อทางแยกมาจาก "สะพานกษัตริย์ศึก" ซึ่งเป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่อยู่ตรงทางแยกฝั่งถนนพระราม 1 เดิมสะพานนี้มีชื่อที่เรียกกันว่า "สะพานยศเส" ซึ่งเป็นสะพานไม้ ต่อมาสะพานยศเสมีความชำรุด ในปี..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและแยกกษัตริย์ศึก · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทพศิรินทร์

รงเรียนเทพศิรินทร์ (Debsirin School, ย่อ: ท.ศ., DS) เป็นโรงเรียนรัฐบาลชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ตั้งอยู่ เลขที่ 1466 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร โรงเรียนเทพศิรินทร์ อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร ก่อตั้งขึ้นใน 15 มีนาคม พ.ศ. 2428 ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ปัจจุบันโรงเรียนเทพศิรินทร์มีอายุ ปี นอกจากนี้โรงเรียนเทพศิรินทร์ยังประกอบด้วย โรงเรียนเครือข่ายที่มีคำนำหน้าว่า "เทพศิรินทร์" อีก 10 แห่ง โรงเรียนเทพศิรินทร์เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งเดียวในประเทศไทย ที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเข้ารับการศึกษา คือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 นอกจากนี้ยังมีนักเรียนเก่าที่ดำรงตำแหน่งสำคัญทางการเมืองมากมาย อาทิ นายกรัฐมนตรีไทย 4 คน รวมถึง นายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งมาเลเซี.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและโรงเรียนเทพศิรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส

มรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เป็นฌาปนสถานสำหรับพระราชวงศ์ซึ่งไม่ได้สร้างพระเมรุมาศ ที่ท้องสนามหลวง และ พระศพเจ้านายฝ่ายในราชนิกูล ขุนนาง ข้าราชการผู้ใหญ่ ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสายสะพายของแต่ละตระกูล และ ได้รับพระราชทานโกศเป็นเกียรติยศ โดยเมื่อใช้ในการพระราชทานเพลิงพระศพเจ้านายจะออกหมายเรียกว่า "พระเมรุ" และถ้าเป็นเจ้านายที่มีพระเกียรติยศสูง เป็นที่นับถือของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อาจมีการปรับปรุงประดับตกแต่งโดยรอบให้สมพระเกียรติยศ เช่น กางกั้นด้วยฉัตรตามพระเกียรติยศ มีการประดับด้วยฉัตรดอกไม้สดโดยรอบ สร้างซ่างไว้สำหรับพระพิธีธรรมสวด จัดตกแต่งสวนหย่อมให้เป็นป่าหิมพานต์ นอกจากนี้ ยังใช้เป็นพระเมรุพระบุพโพของพระบรมวงศ์สำคัญที่บรรจุพระศพลงพระโกศ เพื่อจะได้ไม่ต้องไปสร้างพระเมรุดาดผ้าขาวที่วัดมหาธาตุ เช่น พระบุพโพ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 พระบุพโพ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และ พระบุพโพ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในรัชกาลที่ 6.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส · ดูเพิ่มเติม »

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

มุมมองเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายจากพระบรมบรรพต เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์

รื่องอิสริยาภรณ์ คือ เหรียญ และตรา อันเป็นเครื่องประดับยศของฝรั่งเศส และ สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) และจากนั้นได้แพร่หลายไปยังประเทศที่มีราชวงศ์ เครื่องอิสริยาภรณ์จากประเทศที่มีกษัตริย์เรียกว่า เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ส่วนประเทศที่ไม่มีกษัตริย์เรียกว่า เครื่องอิสริยาภรณ.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเครื่องอิสริยาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วัดเทพศิรินทราวาสวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหารวัดเทพศิรินทร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »