โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร

ดัชนี วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร

วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร อยูในเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ใกล้สะพานกษัตริย์ศึกและสถานีรถไฟกรุงเทพฯ (หัวลำโพง) อยู่รวมกับ "โรงเรียนเทพศิรินทร์" พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวัดเทพศิรินทราวาส เมื่อ พ.ศ. 2419 ขณะมีพระชนมายุครบ 25 พรรษาพอดี เพื่อทรงเฉลิมพระเกียรติและอุทิศพระราชกุศลสนองพระเดชพระคุณกรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ซึ่งได้เสด็จสวรรคตตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ยังทรงพระเยาว์ วันที่ 3 กรกฎาคม..

165 ความสัมพันธ์: บางกอกรีคอเดอช่วง เชวงศักดิ์สงครามพรรณชื่น รื่นศิริพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระพุทธรูปประจำพระชนมวารพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)พระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ)พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์)พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร)พระยานรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์)พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจโนภาสรัศมี กรมหมื่นชาญไชยบวรยศพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธรพระราชาคณะเจ้าคณะรองพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัชรีวงศ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปรีดาพระสมเด็จนางพญา สก.พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)พระสาสนโสภณพระสาสนโสภณ (ใย ภทฺทิโย)พระสาสนโสภณ (เอื้อน ชินทตฺโต)พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)พระผง ๙ สมเด็จพระธรรมวรนายก (สมบูรณ์ จนฺทโก)พระธรรมไตรโลกาจารย์พระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช ฐานจาโร)พระครูโพธิสารประสาธน์ (บุญมี อคฺคปุญฺโญ)พระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร)พระนมปริกพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีพระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง)พระเมรุมาศพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศริยาภรณ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านงคราญอุดมดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิปพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตรพัว อนุรักษ์ราชมณเฑียรพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์กฐินกลีบ มหิธร...การสิ้นพระชนม์ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีการสิ้นพระชนม์ของพระนางเธอลักษมีลาวัณกิมไล้ สุธรรมมนตรีกิตติ สีหนนทน์กนิษฐา วิเชียรเจริญมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาเถรสมาคมมังกร พรหมโยธีมิตร ชัยบัญชามนตรี ยอดปัญญายี่สุ่น สนิทวงศ์ ณ อยุธยารายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทยรายชื่อวัดในกรุงเทพมหานครรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและสัมพันธวงศ์)ร่มเกล้า ธุวธรรมวัฒนา เมืองสุขวัดอุทกเขปสีมารามวันชัย จิราธิวัฒน์วิชา ฐิตวัฒน์วิสุทธ์ บุษยกุลวิฑูรย์ ยะสวัสดิ์วิไล อมาตยกุลวนิช ปานะนนท์ศรีนาถ สุริยะศาสนาพุทธในประเทศไทยศิลป์ พีระศรีศุลี มหาสันทนะสมหวัง สารสาสสมัคร สุนทรเวชสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร)สมเด็จพระราชาคณะสมเด็จพระวันรัตสมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก)สมเด็จพระวันรัต (นิรันตร์ นิรนฺตโร)สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระธีรญาณมุนีสมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย)สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารีสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีสฤษดิ์ ธนะรัชต์สันติ ทักราลสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวงสุชีพ ปุญญานุภาพสุรเทิน บุนนาคสุสานหลวงสุนทร หงส์ลดารมภ์สถานีกษัตริย์ศึกหม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยาหม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่หม่อมหลวงชูชาติ กำภูหม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคลหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยาหม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาหม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์หม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุลหม่อมเจ้าวัตนานุวัฒน์ วัฒนวงศ์หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติหม่อมเจ้าวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์หม่อมเจ้าอรุณแสงไข ภาณุพันธุ์หม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคลหม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุลหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุลหลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม)หลวงมัศยจิตรการ (ประสพ ตีระนันทน์)อรอำไพ โกมารกุล ณ นครอาทมาตอุดม โปษะกฤษณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชจังหวัดชลบุรีจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดนครปฐมจิร วิชิตสงครามถนนพลับพลาไชยถนนหลวงท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)ขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ)ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยาคุณพุ่ม เจนเซนประวิทย์ รุจิรวงศ์แยกยุคล 2แสวง ธีระสวัสดิ์โพยม เสนีณรงค์ฤทธิ์โกศโรงพยาบาลหัวเฉียวโรงเรียนวัดพลับพลาชัยโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์โรงเรียนเมืองพัทยา 2 (เจริญราษฎร์อุทิศ)โรงเรียนเทพศิรินทร์โรงเรียนเทพศิรินทร์ พุแคโรงเรียนเทพศิรินทร์ ขอนแก่นโรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานีไชยา สุริยันเชิด ทรงศรีเกริก มังคละพฤกษ์เกรียงไกร อัตตะนันทน์เกษม ศรีพยัคฆ์เกษม จาติกวณิชเกียรติ วัธนเวคินเมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาสเลอศักดิ์ สมบัติศิริเสริม ณ นครเสถียร โพธินันทะเจริญใจ สุนทรวาทินเจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล)เจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมมารดาทิพเกษร ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมจันทร์ ในรัชกาลที่ 5เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ขยายดัชนี (115 มากกว่า) »

บางกอกรีคอเดอ

งกอกรีคอเดอ (The Bangkok Recorder ทับศัพท์แบบปัจจุบัน บางกอกรีคอร์เดอร์) หรือชื่อไทย หนังสือจดหมายเหตุ เป็นหนังสือพิมพ์ภาษาไทยเล่มแรก ตีพิมพ์ระหว่างปี..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและบางกอกรีคอเดอ · ดูเพิ่มเติม »

ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม

ันเอก ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม หรือ หลวงเชวงศักดิ์สงคราม (10 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2505) นามเดิม ช่วง ขวัญเชิด อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและช่วง เชวงศักดิ์สงคราม · ดูเพิ่มเติม »

พรรณชื่น รื่นศิริ

ณหญิง พรรณชื่น รื่นศิริ (7 เมษายน พ.ศ. 2472 — 4 ตุลาคม พ.ศ. 2551) อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และประธานมูลนิธิคุณหญิงพรรณชื่น รื่นศิร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพรรณชื่น รื่นศิริ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร

มเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนฯในงานฉลองพระอัฐิ พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร เป็นพระพุทธรูปที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์มีพระราชศรัทธาสร้างขึ้นประจำพระองค์หรือสร้างถวายพระบรมราชบุพการี ในวาระโอกาสสำคัญต่างๆ อาทิ การเฉลิมพระชนมพรรษา การฉลองพระประสูติการ ฯลฯ โดยพระพุทธรูปประจำพระชนมวารส่วนใหญ่ มักจะเป็นพระพุทธรูปประจำวันพระราชสมภพหรือวันประสูติของพระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์นั้นๆ ดังนี้.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระพุทธรูปประจำพระชนมวาร · ดูเพิ่มเติม »

พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) (19 ธันวาคม พ.ศ. 2429 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2518) ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนที่ 2 แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ดูแลนักเรียนไทยในประเทศอังกฤษ ปลัดเทศบาลนครกรุงเทพคนแรก เทศมนตรีและสมาชิกว.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ)

ันเอก พระยาฤทธิอัคเนย์ สมาชิกคณะราษฎรผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 จัดเป็น 1 ใน "4 ทหารเสือ" คือ ทหารบกชั้นผู้ใหญ่ เป็นระดับผู้บังคับบัญชาและคุมกำลังพล ซึ่งประกอบด้วย พระยาพหลพลพยุหเสนา, พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ พระยาฤทธิอัคเนย์ มีชื่อเดิมว่า สละ เอมะศิริ เกิดเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2432 เป็นบุตรชายของพระยามนูสารศาสตรบัญชา (ศิริ เอมะศิริ) และคุณหญิง เหลือบ เอมะศิริ พระยาฤทธิอัคเนย์เป็นนายทหารปืนใหญ่ ในช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีตำแหน่งเป็น ผู้บังคับการกรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ (ป. 1 รอ.) และถือเป็นผู้เดียวที่มีกองกำลังพลในบังคับบัญชา ในเช้าตรู่ของวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) อดีตรัฐมนตรีไม่ได้ประจำกระทรวง ในรัฐบาลของพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี)

ระตำรวจเอก นายพลตรี พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี) เป็นขุนนางชาวสยาม ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น องคมนตรี รัฐมนตรีและสมุหพระตำรวจในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร)

มหาเสวกตรี พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) (23 ตุลาคม 2414 - 10 ตุลาคม 2492 - 78 ปี) เป็นผู้มีฝีมือทางด้านศิลปะ โดยเฉพาะด้านจิตรกรรม และการถ่ายภาพ จนได้เป็นช่างภาพประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยฉายพระบรมฉายาลักษณ์ และการเสด็จประพาสในวาระต่าง.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) · ดูเพิ่มเติม »

พระยานรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์)

มหาเสวกตรี พระพระยานรรัตนราชมานิต (ฉายาเมื่อบวชเป็นพระภิกษุ: ธมฺมวิตกฺโก ภิกฺขุ) เป็นอดีตมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ จำพรรษา ณ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร ตราบจนมรณ.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระยานรรัตนราชมานิต (ตรึก จินตยานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)

มหาอำมาตย์เอก พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) (16 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 31 มกราคม พ.ศ. 2504) เป็นอดีตเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน).

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

แบบร่างพระเมรุ พระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นพระราชพิธีที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลไทยจัดขึ้นเพื่อแสดงความจงรักภักดีและถวายความอาลัยแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ โดยรัฐบาลกำหนดวันพระราชพิธีฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจโนภาสรัศมี กรมหมื่นชาญไชยบวรยศ

นายพันเอก พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นชาญไชยบวรยศ (25 กรกฎาคม พ.ศ. 2413 — 29 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 8 แรม 13 ค่ำ ปีมะเมีย โทศก จุลศักราช 1232 ตรงกับวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2413 เป็นพระราชโอรสในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและจอมมารดาปริกเล็ก ทรงเป็นต้นราชสกุลกาญจนะวิชัย ออกพระนามโดยทั่วไปว่า พระองค์ชายกลาง พระองค์เจ้ากาญจโนภาสรัศมีทรงเริ่มเข้ารับราชการในกรมทหารรักษาพระองค์ จนได้เลื่อนยศเป็น "พันโท ราชองครักษ์ประจำการ" จากนั้นได้ย้ายไปดำรงตำแหน่ง "ผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๑๔" เมื่อถึงกำหนดได้กลับมารับราชการเป็นราชองครักษ์ประจำการและเลื่อนยศเป็น "นายพันเอก" ต่อมาได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้บังคับการกองดับเพลิงสวนดุสิต ต่อมาในปี..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจโนภาสรัศมี กรมหมื่นชาญไชยบวรยศ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร

ระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร (28 มีนาคม พ.ศ. 2415 — 24 ตุลาคม พ.ศ. 2461) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 14 ในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ที่ประสูติแต่จอมมารดาหม่อมหลวงนวม.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะเจ้าคณะรอง

ระราชาคณะเจ้าคณะรองเป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์สูงกว่าพระราชาคณะชั้นธรรม และรองลงมาจากสมเด็จพระราชาคณะ เดิมจึงเรียกว่ารองสมเด็จพระราชาคณ.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระราชาคณะเจ้าคณะรอง · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัชรีวงศ์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัชรีวงศ์ (พ.ศ. 2387 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2444) (พระนามเดิม:หม่อมเจ้าขาว วัชรีวงศ์) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากลาง กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์ พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์เจ้าวัชรีวงศ์ ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัชรีวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร (27 มิถุนายน พ.ศ. 2464 — 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ประสูติแต่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์

ลโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2427 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2493) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์กับหม่อมหลวงผาด ธิดาหม่อมราชวงศ์สุหร่าย ปาลกะวงศ์ ประสูติเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ (ประสูติ: 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 — สิ้นพระชนม์: 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2451) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ที่ต่อมาได้เสกสมรสเป็นพระชายาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ โดยเป็นพระมารดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลที่ 8.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปรีดา

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปรีดา (12 พฤษภาคม พ.ศ. 2378 - 16 กันยายน พ.ศ. 2457) (พระนามเดิม:หม่อมเจ้าปรีดา ปราโมช) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ กับหม่อมพลับ ปราโมช ณ อยุธยา พระองค์เจ้าปรีดา ประสูติเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2378 ได้รับการสถาปนาเป็นพระองค์เจ้าในรัชกาลที่ 5 พระองค์เจ้าปรีดาทรงปรีชาสามารถในด้านการช่าง จนได้ตำแหน่งบังคับการกรมช่างกระจก ต่อจากพระบิดา และทรงสะสมเครื่องโต๊ะ เครื่องลายคราม จนทรงเชี่ยวชาญ ในสมัยนิยมเล่นเครื่องโต๊ะ ทรงได้รับการนับถือว่าเป็นอาจารย์ เรียกกันในหมู่ผู้นิยมว่า มหามุนี เป็นที่ปรึกษาแก่ผู้เล่นเครื่องโต๊ะทั่วไป พระองค์เจ้าปรีดาสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2457 พระชันษา 80 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ฌ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 12 เมษายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปรีดา · ดูเพิ่มเติม »

พระสมเด็จนางพญา สก.

ระสมเด็จนางพญา สก.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระสมเด็จนางพญา สก. · ดูเพิ่มเติม »

พระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป)

ระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป พระสารประเสริฐ นามเดิม ตรี นาคะประทีป (25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2488) ผู้เชี่ยวชาญวิชาอักษรศาสตร์ภาษาไทย ผู้ร่วมแปลและถ่ายหนังสือหิโตปเทศจากภาษาอังกฤษร่วมกับพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) และได้ร่วมงานกันต่อเนื่องมาเป็นเวลานานและใช้นามปากกาที่มีชื่อเสียงร่วมกันคือ “เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป”.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) · ดูเพิ่มเติม »

พระสาสนโสภณ

ระสาสนโสภณ หรือ พระศาสนโศภน เป็นราชทินนามสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระสาสนโสภณ · ดูเพิ่มเติม »

พระสาสนโสภณ (ใย ภทฺทิโย)

ระสาสนโสภณ ฉายา ภทฺทิโย (นามเดิม: ใย สุขสิงห์; 27 ธันวาคม พ.ศ. 2443 - 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2541) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร รองแม่กองบาลีสนามหลวง และเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต).

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระสาสนโสภณ (ใย ภทฺทิโย) · ดูเพิ่มเติม »

พระสาสนโสภณ (เอื้อน ชินทตฺโต)

ระสาสนโสภณ นามเดิม เอื้อน สุดเฉลียว ฉายา ชินทตฺโต อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร และอดีตเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต).

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระสาสนโสภณ (เอื้อน ชินทตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)

ระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล) (เกิด: 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 — ถึงแก่อนิจกรรม: 9 มีนาคม พ.ศ. 2524) พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) กับท่านผู้หญิงกิมไล้ สุธรรมมนตรี และเป็นพี่สาวของสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พระผง ๙ สมเด็จ

ระผง ๙ สมเด็จ เป็นพระเครื่องเนื้อผง ที่จัดสร้างตามแบบพระผงสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ถือเป็นส่วนหนึ่งของการเฉลิมฉลองปีมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมายุ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยกรมทรัพยากรน้ำซึ่งมีหน้าที่ดูแลทรัพยากรน้ำของประเทศ มีโครงการจัดงาน "รวมใจภักดิ์ อนุรักษ์ และพัฒนาแม่น้ำ คู คลอง" เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติในโอกาสดังกล่าว โดยรายได้ส่วนหนึ่งจากการบริจาคกรมทรัพยากรน้ำจะมอบให้มูลนิธิชัยพัฒนาและเป็นสวัสดิการกรมทรัพยากรน้ำในการดูแลรักษาแหล่งน้ำของประเทศ จึงดำเนินการจัดสร้าง พระผง ๙ สมเด็จ ขึ้น.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระผง ๙ สมเด็จ · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวรนายก (สมบูรณ์ จนฺทโก)

ระธรรมวรนายก นามเดิม สมบูรณ์ แสงสิริกุล ฉายา จนฺทโก อดีตเจ้าอาวาสวัดอุดมธานี อดีตเจ้าคณะภาค 12 และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระธรรมวรนายก (สมบูรณ์ จนฺทโก) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมไตรโลกาจารย์

ระธรรมไตรโลกาจารย์ เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายธรรมยุติกนิกาย มีพัดยศประจำตำแหน่งเป็นพัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ มี 5 แฉก พื้นแพรต่วนสีแดง.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระธรรมไตรโลกาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช ฐานจาโร)

ระธรรมไตรโลกาจารย์ นามเดิม เดช ฉายา ฐานจาโร เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร และอดีตนายกสภากรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 12, ตอน 41, 12 มกราคม ร..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระธรรมไตรโลกาจารย์ (เดช ฐานจาโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูโพธิสารประสาธน์ (บุญมี อคฺคปุญฺโญ)

ระครูโพธิสารประสาธน์ (หลวงพ่อบุญมี อคฺคปุญฺโญ) อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิสัมพันธ์องค์แรก ท่านเป็นผู้สร้างวัดโพธิสัมพันธ์ และริเริ่มสร้างโรงเรียนประถมภายในวัดคือ โรงเรียนวัดโพธิสัมพันธ์ (ปัจจุบันชื่อ โรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) และโรงเรียนมัธยมคือ โรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคาร และริเริ่มสร้างถนนซอยโพธิสารในปัจจุบัน ท่านเชี่ยวชาญด้านยาสมุนไพรพื้นบ้าน (พระหมอ) และเชี่ยวชาญด้านการดูของหาย ด้านการนั่งสมาธิท่านเก่งมาก.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระครูโพธิสารประสาธน์ (บุญมี อคฺคปุญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร)

อำมาตย์ตรี พระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร) (? - พ.ศ. 2521) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาต.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร) · ดูเพิ่มเติม »

พระนมปริก

ระนมปริก พระนมปริก (พ.ศ. 2373 - 30 ตุลาคม พ.ศ. 2454) เป็นพระนมเอก ผู้ถวายพระนมและการอภิบาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมทั้งพระขนิษฐาและพระอนุชาร่วมพระราชชนนีทุกพระองค์ พระนมปริกเกิดที่บ้านริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ของตระกูลกัลยาณมิตร ใกล้วัดอรุณราชวรารามกับกุฏีเจ้าเซน เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปีขาล โทศก จุลศักราช 1192 ตรงกั..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระนมปริก · ดูเพิ่มเติม »

พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (15 เมษายน พ.ศ. 2448 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ บุตรีของพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) กับคุณเล็ก บุนนาค ต่อมาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า สุวัทนา ได้เข้ารับราชการฝ่ายใน ในตำแหน่งเจ้าจอมสุวัทนา และได้รับการสถาปนาเป็น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ พระองค์ได้ให้ประสูติการแก่พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลคือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี แต่หลังจากประสูติพระเจ้าลูกเธอได้เพียงหนึ่งวัน พระราชสวามีได้สวรรคตลง พระองค์และพระธิดาจึงได้เสด็จไปประทับยังสหราชอาณาจักรกว่า 20 ปี ภายหลังจึงได้เสด็จนิวัตประเทศไทยโดยพำนักในวังรื่นฤดี เป็นการถาวรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง)

ันเอก พระเพชรคีรีศรีราชสงคราม (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง) อดีตผู้นำสกุล ณ ลำปาง อดีตเจ้าเมืองสงขลา อดีตผู้บังคับการพิเศษกรมทหารบกจังหวัดนครลำปาง และเป็นเจ้านายที่ข้าราชการเคารพนับถือเป็นอย่างมาก เป็นราชบุตรองค์โตของพลตำรวจตรี เจ้าราชวงศ์ (แก้วปราบเมรุ ณ ลำปาง) ท..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง) · ดูเพิ่มเติม »

พระเมรุมาศ

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเมรุมาศ และพระเมรุ คือ สถาปัตยกรรมชั่วคราว หรือสถาปัตยกรรมเฉพาะกิจที่สร้างขึ้น ณ ใจกลางเมือง เพื่อใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพหรือพระราชพิธีพระศพโดยเฉพาะ มีลักษณะเป็น "กุฎาคาร หรือ เรือนยอด" คือเรือนซึ่งหลังคาต่อเป็นยอดแหลม โดยในอดีตนิยมสร้างเป็นแบบ ยอดปรางค์ อาจมีพรหมพักตร์หรือไม่มีก็ได้ พระเมรุมาศ เป็นพระเมรุขนาดสูงใหญ่ ใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระราชชนนี พระบวรราชเจ้า พระยุพราช สำหรับการตายที่ใช้ราชาศัพท์ว่าสวรรคต ภายในพระเมรุมาศมี “พระเมรุทอง” ลักษณะของพระเมรุมาศที่ปรากฏการสร้างมี 2 รูปแบบคือพระเมรุมาศทรงปราสาท ที่สร้างมาแต่โบราณ มีขนาดใหญ่โตมโหฬาร และพระเมรุมาศทรงบุษบก ส่วนพระเมรุ เช่นเดียวกับพระเมรุมาศ แต่มีขนาดเล็กลง และไม่มีพระเมรุทองภายใน ใช้สำหรับราชวงศ์ที่ทรงฐานานุศักดิ์ใช้ราชาศัพท์ว่า “ทิวงคต” หรือ “สิ้นพระชนม์” การออกแบบสถาปัตยกรรมพระเมรุมาศ พระเมรุ ต้องอาศัยการสร้างสรรค์ออกแบบจากผู้รอบรู้เจนจบงานศิลปกรรมของชาติ ช่างที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้จากครูบาอาจารย์ทั้งงานออกแบบรูปลักษณ์ ก่อสร้างอาคาร การคิดลวดลายขึ้นประดิษฐ์ตกแต่งทุกส่วนให้เข้ากับอาคาร โดยมีหลักเกณฑ์ที่คำนึงถึงว่าพระเมรุมาศของพระองค์ใด ที่แสดงลักษณะของพระองค์นั้น ภายหลังจากการถวายพระเพลิงแล้ว ชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของพระเมรุที่ถูกรื้อถอนบางส่วนจะนำไปถวายวัด เพื่อเป็นการกุศลแด่ผู้วายชนม.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระเมรุมาศ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 15 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดาเอมน้อย ประสูติเมื่อวันพุธ แรม 10 ค่ำ เดือนยี่ ตรงกับวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2358 พระองค์เจ้าลดาวัลย์ ทรงรับราชการกำกับกรมช่างสิบหมู่ ทรงเป็นผู้กำกับการก่อสร้างพระพุทธไสยาส วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็นกรมหมื่นภูมินทรภักดี เมื่อทรงพระชราภาพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูมินทรภักดี ประชวรดวงพระเนตรเป็นต้อ ทอดพระเนตรไม่เห็น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ติดต่อแพทย์ชาวดัตช์เข้ามาผ่าตัดพระเนตรจนหายเป็นปกติ พร้อมกับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) ซึ่งป่วยเป็นต้อเช่นกัน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูมินทรภักดี สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 5 เมื่อวันเสาร์ ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 8 บูรพาษาฒ ปีจอ ตรงกับวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร (25 มิถุนายน พ.ศ. 2434 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2525) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ เจ้าจอมมารดาพร้อม ประสูติเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2434 ลำดับพระองค์ที่ 68 เป็นพระขนิษฐาของพระองค์หญิงแฝดพระองค์ที่ 50, 51 และ 59 ในสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศริยาภรณ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศริยาภรณ์ ประสูติวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2431 พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เกสร สนิทวงศ์ สิ้นพระชนม์วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2435 รวมพระชนมายุ 4 พรรษา มีพระอนุชาคือ พระองค์เจ้าอนุสรสิริประสาธน์ พระเมรุพระศพของพระองค์เจ้าอิศริยาภรณ์ ณ สุสานหลวง วัดเทพศิรินทราวาส อาคารเรียนโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศริยาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (ซ้าย) ทรงฉายพร้อมด้วยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ (ขวา) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2432 — 27 มกราคม พ.ศ. 2506) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาอ่อน (สกุลเดิม: บุนนาค).

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี (18 กันยายน พ.ศ. 2395 — 13 กันยายน พ.ศ. 2449) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ และเป็นพระภรรยาเจ้าชั้นลูกหลวงพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติกาลพระราชบุตร แต่เมื่อมีพระประสูติกาล พระราชบุตรพระองค์นั้นก็ได้สิ้นพระชนม์ไปอย่างกระทันหันภายในเวลาอันสั้น พระองค์เจ้าทักษิณชาทรงเสียพระทัยยิ่งนักจนสูญเสียพระจริตในเวลาต่อมา และมิสามารถสนองพระเดชพระคุณรับราชการฝ่ายในได้ต่อไป ทรงอยู่ในสภาพผู้ป่วยตลอดชีพตราบจนสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2408 — 18 มีนาคม พ.ศ. 2505) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาดวงคำ พระราชนัดดาในเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ พระองค์เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าที่มีพระชนมายุสูงสุดในราชวงศ์จักรี.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านงคราญอุดมดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านงคราญอุดมดี (12 กรกฎาคม พ.ศ. 2405 — 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเพ็ง.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านงคราญอุดมดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป

กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป อยู่แถวหลังองค์ที่ ๗ ข้าราชการพลเรือนชั้นที่ 2 ระดับเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าไชยานุชิต พระราชโอรสพระองค์ที่ 55 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเที่ยง โดยประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 9 แรม 6 ค่ำ ปีระกาตรีศก..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตร

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตร บ้างออกพระนามว่า สุทธพงศพิจิตร (16 มีนาคม พ.ศ. 2450 — 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ประสูติแต่หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

พัว อนุรักษ์ราชมณเฑียร

ท่านผู้หญิงพัว อนุรักษ์ราชมณเฑียร เกิดเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพัว อนุรักษ์ราชมณเฑียร · ดูเพิ่มเติม »

พูนเพิ่ม ไกรฤกษ์

นายพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2465 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2546) อดีตเลขาธิการพระราชวัง และอดีตผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

กฐิน

กฐินเป็นประเพณีที่อยู่คู่กับพุทธศาสนิกชนไทยมาช้านานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยการถวายผ้าพระกฐินของพระมหากษัตริย์ไทยนั้นจัดเป็นพระราชพิธีที่สำคัญมาตั้งแต่โบราณ กฐิน (บาลี: กน) เป็นศัพท์ในพระวินัยปิฎกเถรวาท เป็นชื่อเรียกผ้าไตรจีวรที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนแล้ว สามารถรับมานุ่งห่มได้ โดยคำว่าการทอดกฐิน หรือการกรานกฐิน จัดเป็นสังฆกรรมประเภทหนึ่งตามพระวินัยบัญญัติเถรวาทที่มีกำหนดเวลา คือพระสงฆ์สามารถกระทำสังฆกรรมนี้ได้นับแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 เท่านั้น โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ และอนุเคราะห์ภิกษุผู้ทรงคุณที่มีจีวรชำรุด ดังนั้นกฐินจึงจัดเป็นเรื่องเกี่ยวกับสังฆกรรมของพระสงฆ์โดยจำเพาะ ซึ่งนอกจากในพระวินัยฝ่ายเถรวาทแล้ว กฐินยังมีในฝ่ายมหายานบางนิกายอีกด้วย แต่จะมีข้อกำหนดแตกต่างจากพระวินัยเถรวาท การได้มาของผ้าไตรจีวรอันจะนำมากรานกฐินตามพระวินัยบัญญัติของเถรวาทนี้ พระพุทธองค์ไม่ทรงห้ามการรับผ้าจากผู้ศรัทธาเพื่อนำมากรานกฐิน ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงทำให้เกิดทานพิธีการถวายผ้ากฐิน หรือการทอดกฐินของพุทธศาสนิกชนขึ้น และด้วยการที่การถวายผ้ากฐินนั้น จัดเป็นสังฆทาน คือถวายแก่คณะสงฆ์โดยไม่เจาะจงภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง เพื่อให้คณะสงฆ์นำผ้าไปอปโลกน์ ยกให้ แก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งตามที่คณะสงฆ์ลงมติ (ญัตติทุติยกรรมวาจา) และกาลทาน ที่มีกำหนดเขตเวลาถวายแน่นอน คณะสงฆ์วัดหนึ่ง ๆ สามารถรับได้ครั้งเดียวในรอบปี จึงทำให้ประเพณีการทอดกฐินเป็นบุญประเพณีนิยมที่สำคัญของพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย ประเพณีการทอดกฐินของพุทธศาสนิกชนไทยมีมาช้านาน โดยมีทั้งพิธีหลวงและพิธีราษฎร์ โดยการถวายผ้าพระกฐินของพระมหากษัตริย์จัดเป็นพระราชพิธีที่สำคัญประจำปี ในปัจจุบันถวายผ้ากฐินในแง่การสนับสนุนผ้าไตรจีวรเพื่อใช้ในสังฆกรรมสำคัญของคณะสงฆ์ได้ถูกลดความสำคัญลงไป แต่กลับให้ความสำคัญกับบริวารของกฐินทานแทน เช่น เงิน หรือวัตถุสิ่งของ เพื่อนำสิ่งเหล่านี้มาพัฒนาถาวรวัตถุและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ซึ่งจัดเป็นสังฆทานอย่างหนึ่งเช่นเดียวกัน กฐินมีกำหนดระยะเวลาถวาย จะถวายตลอดไปเหมือนผ้าชนิดอื่นมิได้ ระยะเวลานั้นมีเพียง 1 เดือน คือตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 (วันเพ็ญเดือน 12) ระยะเวลานี้เรียกว่า กฐินกาล คือระยะเวลา ทอดกฐิน หรือ เทศกาลทอดกฐิน.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและกฐิน · ดูเพิ่มเติม »

กลีบ มหิธร

ท่านผู้หญิงกลีบ มหิธร (สกุลเดิม: บางยี่ขัน; เกิด: พ.ศ. 2419 — ถึงแก่อนิจกรรม: พ.ศ. 2504) ภรรยาของเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) และเป็นมารดาของท่านผู้หญิงดุษฎี มาลากุล ณ อยุธยา เธอเป็นผู้รจนาตำราอาหารชื่อ หนังสือกับข้าวสอนลูกหลานของท่านผู้หญิงกลีบ มหิธร ซึ่งถือเป็นตำราอาหารตำรับชาววังหนึ่งในสี่ตำรับ แต่ตำรับของท่านผู้หญิงกลีบมีลักษณะอันพิเศษ เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากอาหารจีนที่ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนในอาหารชาววังตำรับนี้.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและกลีบ มหิธร · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีสิ้นพระชนม์เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและการสิ้นพระชนม์ของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของพระนางเธอลักษมีลาวัณ

ระนางเธอลักษมีลาวัณสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและการสิ้นพระชนม์ของพระนางเธอลักษมีลาวัณ · ดูเพิ่มเติม »

กิมไล้ สุธรรมมนตรี

ท่านผู้หญิงสุธรรมมนตรี (กิมไล้ สุจริตกุล) เป็นภริยาเอกของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) มีบุตรธิดาด้วยกันหลายท่าน อาทิ สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล).

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและกิมไล้ สุธรรมมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ สีหนนทน์

นายกิตติ สีหนนทน์ (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 24 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตรองประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและกิตติ สีหนนทน์ · ดูเพิ่มเติม »

กนิษฐา วิเชียรเจริญ

ณหญิงกนิษฐา วิเชียรเจริญ (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463 - 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2545) นักรณรงค์เพื่อสิทธิสตรี เยาวชน และแม่ชีในศาสนาพุทธ ผู้ก่อตั้งสมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรี และ "มหาประชาบดีเถรีวิทยาลัย" วิทยาลัยแม่ชีแห่งแรกของประเทศไทย เกิดวันที่ 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและกนิษฐา วิเชียรเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาเถรสมาคม

มหาเถรสมาคม (accessdate) เป็นองค์กรสูงสุดในการปกครองคณะสงฆ์ไทยตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2)..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและมหาเถรสมาคม · ดูเพิ่มเติม »

มังกร พรหมโยธี

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก มังกร พรหมโยธี หรือ หลวงพรหมโยธี (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2509) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรี.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและมังกร พรหมโยธี · ดูเพิ่มเติม »

มิตร ชัยบัญชา

มิตร ชัยบัญชา (28 มกราคม พ.ศ. 2477 - 8 ตุลาคม พ.ศ. 2513) หรือชื่อจริง พันจ่าอากาศโท พิเชษฐ์ ชัยบัญชา (นามสกุลเดิม พุ่มเหม) เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงปล..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและมิตร ชัยบัญชา · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี ยอดปัญญา

มนตรี ยอดปัญญา (8 สิงหาคม พ.ศ. 2493 - 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554) ประธานศาลฎีกาคนที่ 40.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและมนตรี ยอดปัญญา · ดูเพิ่มเติม »

ยี่สุ่น สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

ี่สุ่น สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (5 มีนาคม พ.ศ. 2436 - 16 มีนาคม พ.ศ. 2529) (นามเดิม:ยี่สุ่น มังกรพันธ์) เป็นบุตรีของศาสนาจารย์กิมเฮง มังกรพันธ์ และนางทองอยู่ (จากสกุลปักษานนท์) เกิดเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2436 ได้รับการศึกษาที่โรงเรียนกุลสตรีวังหลัง (ปัจจุบันคือ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย) สมรสกับหม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทวงศ์ โอรสในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ ซึ่งสำเร็จวิชาแพทย์จากยุโรปท่านแรกของเมืองไทย มีบุตรธิดาด้วยกัน 4 คน คือ หม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล (ชายาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล) หม่อมหลวงซัง สนิทงศ์ และหม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์ และหม่อมหลวงคงคา สนิทวงศ์ หม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์และคุณยี่สุ่น เมื่อ พ.ศ. 2467 ความสามารถทางด้านภาษาต่างประเทศของคุณยี่สุ่น นับว่าดีมากจากพื้นฐานที่ได้รับการสอนจากโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง และจากการที่ต้องติดตามสามีคือหม่อมราชวงศ์สุพรรณ สนิทวงศ์ ซึ่งเป็นแพทย์ไปในหลายสถานที่ในภารกิจหลายๆ ด้าน ทั้งงานสังคมที่ต้องติดต่อกับชาวต่างประเทศ และงานในท้องถิ่นทุรกันดารซึ่งหม่อมราชวงศ์สุพรรณต้องไปตรวจรักษาผู้เจ็บป่วย ด้วยคุณยี่สุ่นท่านเป็นผู้หญิงสมัยใหม่ที่มีความรู้างด้านภาษาอังกฤษอย่างดีเยี่ยม จึงสามารถอ่านสลากยาภาษาอังกฤษ และรู้จักเครื่องมือแพทย์ต่างๆ เป็นอย่างดี ยี่สุ่น สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2529 ในรัชกาลที่ 9 ด้วยโรคชราในวัย 93 ปี พระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส วันเสาร์ที่ 19 เมษายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและยี่สุ่น สนิทวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย มีดังนี้.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและรายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและรายชื่อวัดในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย

ต่อไปนี้ เป็นรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย เรียงตามรายชื่อ 76 จังหวัด พร้อมกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและสัมพันธวงศ์)

ราณสถานที่มีรายชื่อในหน้านี้ตั้งอยู่ในพื้นที่สีแดงบนแผนที.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและสัมพันธวงศ์) · ดูเพิ่มเติม »

ร่มเกล้า ธุวธรรม

ลเอก ร่มเกล้า ธุวธรรม หรือที่นิยมเรียกและรู้จักกันในชื่อ.เปา อดีตรองเสนาธิการกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ (พล.ร.21 รอ.) เสียชีวิตจากการปะทะกับกลุ่มผู้ชุมนุมแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน (นปช.) ที่แยกคอกวัว เมื่อคืนวันเสาร์ที่ 10 เมษายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและร่มเกล้า ธุวธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนา เมืองสุข

วัฒนา เมืองสุข (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและวัฒนา เมืองสุข · ดูเพิ่มเติม »

วัดอุทกเขปสีมาราม

วัดอุทกเขปสีมาราม หรือ วัดน้ำ สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 สร้างขึ้นด้วยศิลปะไทย ติดกับอุโบสถมีชายน้ำสมัยก่อนมีประเพณีตักบาตรโยนบัว ประเพณีวันสงกรานต์ ในรัชกาลปัจจุบัน มีการก่อสร้าง ศาลาไทย เรือนไทย ลานธรรม ศาลาและแพริมน้ำ เพิ่มเติม นอกจากนี้ยังมี พิพิธภัณฑ์อุทกมรดกท้องถิ่น (ได้รับรางวัลเสมาธรรมจักร 2549 ประเภทส่งเสริมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม).

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและวัดอุทกเขปสีมาราม · ดูเพิ่มเติม »

วันชัย จิราธิวัฒน์

วันชัย จิราธิวัฒน์ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2470 - 15 กันยายน พ.ศ. 2555) ประธานกรรมการบริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำกัด, อดีตประธานกรรมการบริหารบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำกัด (มหาชน), อดีตประธานกรรมการบริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำกัด และบริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จำกั.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและวันชัย จิราธิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิชา ฐิตวัฒน์

ันเอกวิชา ฐิตวัฒน์ (27 กุมภาพันธ์ 2460 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2520) หรือรู้จักกันในฐานะนายทหารไทยในกองทัพเวร์มัคท์ของนาซีเยอรมัน อีกทั้งยังผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารบกไทย ณ กรุงปรารีส คนที่ 5 ในปี..2507 – 2510 และยังได้ดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงปรารีส ประเทศฝรั่งเศส คนที่ 8 ในปี..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและวิชา ฐิตวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วิสุทธ์ บุษยกุล

ตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล ศาสตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล (เกิด: 8 พฤศจิกายน 2462, จังหวัดอุดรธานี; อนิจกรรม: 21 มกราคม 2554, กรุงเทพมหานคร) บิดาเป็นชาวจังหวัดอุดรธานี มารดาเป็นชาวสมุทรสงคราม เนื่องจากบิดารับราชการในแผนกคลังจังหวัด เด็กชายวิสุทธิ์จึงต้องติดตามบิดาไปอยู่จังหวัดนครพนมตั้แต่อายุประมาณ 2-3ขวบ และได้เริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จึงได้ย้ายไปศึกษาต่อที่ โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและวิสุทธ์ บุษยกุล · ดูเพิ่มเติม »

วิฑูรย์ ยะสวัสดิ์

ลโท พลตำรวจเอก วิฑูรย์ ยะสวัสดิ์ (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2468 - 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555) อดีตผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ อดีตรองเสนาธิการทหารบกและบิดาของ นายสุรเดช ยะสวัสดิ์ อดีต ส.ว. จังหวัดพะเยา และอดีตรองหัวหน้า พรรคเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและวิฑูรย์ ยะสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิไล อมาตยกุล

ณวิไล อมาตยกุล คุณพยาบาลผู้ใหญ่ประจำพระองค์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและวิไล อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

วนิช ปานะนนท์

นายวนิช ปานะนนท์ (แถวที่ 2 ด้านขวา) และคณะรัฐมนตรีจากประเทศไทย ขณะเยือนประเทศญี่ปุ่น และเข้าพบ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้า คนกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา วนิช ปานะนนท์ อดีตนักการเมือง, นักธุรกิจชาวไทย และหนึ่งในคณะราษฎร นายวนิช เป็นบุตรของนายปานและนางแจ่ม ปานะนนท์ โดยที่บิดาเป็นพ่อค้าขายข้าวเปลือก เกิดที่บ้านพานทอง หมู่ที่ 4 ตำบลพานทอง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2446 เมื่อนายวนิชอายุได้ 7 ขวบ บิดาและมารดาได้ให้เริ่มเรียนหนังสือไทยที่บ้านโดยสอนเองบ้าง ให้พี่ๆสอนบ้าง พออ่านเขียนได้ก็ให้เข้าเรียนชั้นประถมที่โรงเรียนวัดพานทอง การเรียนของนายวนิชเป็นไปโดยเรียบร้อยจนจบหลักสูตรชั้นประถม ต่อมาได้เข้าศึกษาในโรงเรียนมัธยมวัดเขาบางทรายจนถึงชั้นมัธยม 2 เมื่อปี 2460 แล้วมาศึกษาต่อที่โรงเรียนมัธยมวัดปทุมคงคา เมื่อสอบไล่ได้มัธยมศึกษาปีที่ 5 ในปล..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและวนิช ปานะนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีนาถ สุริยะ

ตราจารย์เกียรติคุณ ท่านผู้หญิงศรีนาถ สุริยะ ป.ม., ท..ว., ต.. (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 -- 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 อายุ 94 ปี) คุณข้าหลวงใหญ่ในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และเป็นพระอาจารย์ประจำพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และอดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและศรีนาถ สุริยะ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศิลป์ พีระศรี

ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและศิลป์ พีระศรี · ดูเพิ่มเติม »

ศุลี มหาสันทนะ

รืออากาศโท ศุลี มหาสันทนะ (19 มีนาคม พ.ศ. 2462 - 22 สิงหาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นผู้กำกับนโยบายด้านพลังงานและน้ำมันเชื้อเพลิง ตลอดอายุรัฐบาลพลเอกเปรม ระหว่าง..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและศุลี มหาสันทนะ · ดูเพิ่มเติม »

สมหวัง สารสาส

ร้อยเอก สมหวัง สารสาส เป็นบุตรของพระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) กับนางสารสาสน์พลขันธ์ (สวัสดิ์ อัศวนนท์) และเป็นอดีตสวามีในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตน.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมหวัง สารสาส · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ เป็นราชทินนามของสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่ง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระภิกษุฝ่ายมหานิก.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร)

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ าณวโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญในการปกครองคณะสงฆ์ไทย เช่น สังฆนายก เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ เจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร เป็นต้น.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เกี่ยว โชคชัย ฉายา อุปเสโณ (11 มกราคม พ.ศ. 2471 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช และประธานสมัชชามหาคณิสสร เป็นพระเถระที่มีอาวุโสโดยสมณศักดิ์สูงสุดของมหาเถรสมาคมเดลินิวส์, 30 ธันวาคม 2547มติชน, 15 ม..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร)

มเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลั.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาคณะ

ัดยศสมณศักดิ์สมเด็จพระราชาคณะ สมเด็จพระญาณวโรดม สมเด็จพระราชาคณะ เป็นสมณศักดิ์รองจากสมเด็จพระสังฆราช สูงกว่าพระราชาคณะเจ้าคณะรอง มีคำนำหน้าราชทินนามว่า "สมเด็จ" เดิมทีสมเด็จพระราชาคณะเป็นตำแหน่งพระสังฆาธิการชั้นเจ้าคณะใหญ่มาตลอด จนกระทั่งมีการแยกออกมาเมื่อมีพระราชบัญญัติคณะสง..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระราชาคณะ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต

มเด็จพระวันรัต (อ่านว่า วันนะรัด) แปลว่า ผู้ยินดีในการอยู่ป่า ผู้รักการอยู่ป่า เดิมใช้คำว่า พนรัตน์ และ วันรัตน์ ซึ่งแปลว่า ป่าแก้ว ปัจจุบันเป็นราชทินนามสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งในฝ่ายธรรมยุติกนิกาย วันรัตน์ เป็นนามที่ได้มาจากลังกา สันนิษฐานตามคำแปลว่าคงเป็นสังฆนายกฝ่ายอรัญวาสี คู่กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งเป็นสังฆนายกฝ่ายคามวาสี ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ ปรากฏนามนี้ครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ว่าพระพนรัตน์ป่าแก้วให้ฤกษ์แก่พระศรีสินในการก่อกบฏพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี: ศรีปัญญา, 2553.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระวันรัต · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม ทรัพย์ สุนทรัตต์ ฉายา โฆสโก เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดสังเวชวิศยารามวรวิหาร สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง สมาชิกสังฆสภา กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก และผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระวันรัต (ทรัพย์ โฆสโก) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต (นิรันตร์ นิรนฺตโร)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม นิรันตร์ ฉายา นิรนฺตโร เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและกรรมการมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระวันรัต (นิรันตร์ นิรนฺตโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์

มเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี พ.ศ. 2488 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระธีรญาณมุนี

มเด็จพระธีรญาณมุนี เป็นสมณศักดิ์ชั้นสมเด็จพระราชาคณะในคณะสงฆ์ไทย ีฐานานุศักดิ์ตั้งฐานานุกรมได้ ๑๐ รูป คือ.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระธีรญาณมุนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย)

มเด็จพระธีรญาณมุนี นามเดิม สมชาย พุกพุ่มพวง ฉายา วรชาโย เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต) กรรมการมหาเถรสมาคม และรองแม่กองธรรมสนามหลวง รูปที่ 1 ฝ่ายนักธรรม.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา

ันโทหญิง สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา (พระนามเดิม: ประไพ สุจริตกุล; ประสูติ: 10 มิถุนายน พ.ศ. 2445 — สิ้นพระชนม์: 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518) พระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) กับท่านผู้หญิงสุธรรมมนตรี (กิมไล้ สุจริตกุล) เข้ารับราชการฝ่ายในในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงได้รับการสถาปนาพระราชอิสริยยศสูงสุดที่ "สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินี" ภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการให้ออกพระนามว่า สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาแทน พระองค์สิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ (ประสูติ: 22 ธันวาคม พ.ศ. 2408 - สิ้นพระชนม์: 10 ธันวาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา ทรงเป็นต้นราชสกุลสวัสดิวัตน์ เป็นพระอนุชาในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เป็นพระมาตุลาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระชนกในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และนับเป็นเจ้านายต่างกรมพระองค์เดียวในชั้นพระองค์เจ้าที่ยังไม่ได้เป็นกรมพระยา ที่ได้รับสมเด็จ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมเป็นพระองค์แรก นอกจากนี้ยังทรงเคยดำรงตำแหน่งอธิบดีศาลฎีกาในระหว่าง..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 3 ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อวันเสาร์ ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2429 พระองค์ได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้รับราชการในหน้าที่ราชเลขานุการิณีในพระองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ เมื่อสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงเสด็จประพาสยุโรปเมื่อปี..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

มเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระนามเดิม:หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์; 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 — 9 กันยายน พ.ศ. 2404) เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · ดูเพิ่มเติม »

สันติ ทักราล

นายสันติ ทักราล (8 มีนาคม พ.ศ. 2485 - 29 เมษายน พ.ศ. 2554) อดีตองคมนตรี (ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง) และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสันติ ทักราล · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง

ำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง (Central Dharma Testing Service Headquarters of Thailand.) คู่กับสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงของคณะสงฆ์ไทย เป็นหน่วยงานภายใต้การดูแลของมหาเถรสมาคมซึ่งอยู่ในความอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทย มีหน้าที่หลักคือดำเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษา ชั้นตรี โท เอกของชาติ และจัดให้มีการสอบไล่วัดผลประจำปีตามหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาที่เปิดสอนไปทั่วราชอาณาจักรไทยและต่างประเท.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สุชีพ ปุญญานุภาพ

ีพ ปุญญานุภาพ (13 เมษายน พ.ศ. 2460 — 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2543) เป็นนักวิชาการที่ได้รับการยอมรับทั้งจากพุทธศาสนิกชนและคณะสงฆ์ไทยอย่างกว้างขวาง ในฐานะที่สมบูรณ์ด้วยวิชาความรู้ทางพระพุทธศาสนาอย่างเยี่ยมยอด หาใครเทียมได้ยาก ในเวลาเดียวกัน ก็มีความประพฤติที่ดีงาม สุภาพอ่อนโยน ระหว่างที่ท่านเคยบวชเป็นพระอยู่ในชื่อว่า สุชีโว ภิกขุ ท่านมีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด เพราะประการแรก ท่านเชี่ยวชาญพระพุทธศาสนาเป็นเลิศ ประการที่สอง ท่านรอบรู้วิชาการสมัยใหม่อย่างเยี่ยม ประการที่สาม ท่านเป็นพระภิกษุไทยรูปแรกที่บรรยายธรรมเป็นภาษาอังกฤษ ทำให้เกิดการติดต่อระหว่างชาวพุทธในต่างประเทศกับประเทศไทย แม้ว่าท่านจะมีภาระงานมากมาย แต่ท่านก็เป็นนักเขียน ที่ผลิตงานเขียน ทั้งในรูปหนังสือและตำราเผยแพร่ความรู้ด้านพุทธศาสนา รวมทั้งนวนิยายอิงธรรมะเป็นจำนวนมาก นอกจากนั้น ยังเป็นผู้บุกเบิกทำพจนานุกรมศัพท์พระพุทธศาสนาอีกด้วย อาจารย์สุชีพได้ถึงแก่กรรมลง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสุชีพ ปุญญานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สุรเทิน บุนนาค

นายสุรเทิน บุนนาค (11 ตุลาคม 2459 - 7 มิถุนายน 2511) อดีตผู้ช่วยหัวหน้าข่าวสาร ในสำนักงานสาขาองค์การอาหารและเกษตรแห่งภาคพื้นเอเซียตะวันออกไกล (FAO Regional Office for Asia and the Far East) ผู้ใกล้ชิดใต้เบื้องพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สนองพระเดชพระคุณด้านการพัฒนาที่ดิน และการเกษตรสมัยใหม่ และเป็นหนึ่งใน "พระสหจร ในพระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่ 9.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสุรเทิน บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

สุสานหลวง

นหลวง สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสุสานหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สุนทร หงส์ลดารมภ์

นทร หงส์ลดารมภ์ (23 สิงหาคม พ.ศ. 2455 - 16 กันยายน พ.ศ. 2548) อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ เอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสุนทร หงส์ลดารมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีกษัตริย์ศึก

นีกษัตริย์ศึก เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสีลม ส่วนต่อขยายสนามกีฬาแห่งชาติ-พรานนก โดยจะเป็นสถานีแรกของส่วนต่อขยายด้านตะวันตกของรถไฟฟ้าบีทีเอส ซึ่งใช้ระบบใต้ดิน และมีแนวเส้นทางเข้าสู่พื้นที่อนุรักษ์เกาะกรุงรัตนโกสินทร์ ในกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันตามแผนแม่บทฯ ฉบับใหม่ โครงการในส่วนนี้ได้ถูกยกเลิกทั้งโครงการ และได้ทำการเปลี่ยนชื่อสถานีจากกษัตริย์ศึกเป็นยศเสแทน และปรับให้กลับไปเป็นโครงสร้างยกระดับตามเดิม เพื่อให้สถานียศเสแห่งนี้สามารถเชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มได้ที่สถานี.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและสถานีกษัตริย์ศึก · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา

ันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา ป..(สกุลเดิม: วิเศษกุล; 5 เมษายน พ.ศ. 2451 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา และอดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่

หม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่ กับหม่อมเจ้าทองฑีฆายุ ทองใหญ่ และหม่อมลุดมิลา ทองใหญ่ ณ อยุธยา หม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่ (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 - 15 กันยายน พ.ศ. 2551) อดีตภรรยาของพลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมราชวงศ์พักตร์พริ้ง ทองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงชูชาติ กำภู

หม่อมหลวงชูชาติ กำภู (4 มกราคม พ.ศ. 2448-13 เมษายน พ.ศ. 2512) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนชลประทานวิทยา และวิทยาลัยการชลประทาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีจนถึงแก่อนิจกรรมในขณะดำรงตำแหน่ง ในวันคล้ายวันเกิดของหม่อมหลวงชูชาติ โรงเรียนชลประทานวิทยาและวิทยาลัยการชลประทานได้กำหนดให้วันที่ 4 มกราคมของทุกปี เป็นวันงานพิธีไหว้ครู เพื่อระลึกถึงพระคุณของครู และพระคุณของหม่อมหลวงชูชาติ ผู้ก่อตั้งโรงเรียน.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมหลวงชูชาติ กำภู · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล

หม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล ท..ว.(ราชสกุลเดิม: สนิทวงศ์; 4 ตุลาคม พ.ศ. 2452 — 28 ธันวาคม พ.ศ. 2527) คุณท่านเป็นหม่อมเอกในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หม่อมหลวงสร้อยระย้าเป็นธิดาของหม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทวงศ์ กับยี่สุ่น สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม มังกรพันธ์) เสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา

หม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สุฤทธิ์) (2 มกราคม พ.ศ. 2466 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2546) เป็นผู้บุกเบิกภาพยนตร์ไทย ในนามบริษัทละโว้ภาพยนตร์ ร่วมกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ผู้กำกับการแสดงหญิงคนแรกของเมืองไทย เช่น ม่วยสิ่น,ปักธงไชย,เชลยศักดิ์,ทรชนคนสวย ฯลฯ ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียง อาทิ เงิน เงิน เงิน,อีแตน,เกาะสวาทหาดสวรรค์ และ เขาชื่อกานต์ เป็นต้น ผู้ก่อตั้งโรงเรียน อนุบาลยุคลธร,เจ้าของนิตยสารรายปักษ์ ดรุณี และห้องอาหาร ร้านกับข้าวชาววัง (ถนนสุขุมวิท) ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อ..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา

หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2409 - 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2438) เป็นหม่อมห้ามสะใภ้หลวงในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์

หม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์ เป็นราชบัณฑิตและอดีตพระราชาคณะชั้นธรรมเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมเจ้าพร้อม ลดาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุล

หม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุล (8 เมษายน พ.ศ. 2445 – 11 ธันวาคม พ.ศ. 2549) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นพระธิดาพระองค์โตที่ประสูติในหม่อมแสง ศตะรัต มีพระนามลำลองว่า "หญิงแย้ม" หม่อมเจ้ามารยาตรกัญญาทรงเติบโตมาพร้อมกับหม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล พระธิดาพระองค์ใหญ่ในกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พร้อมกับพระธิดาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในสำนักของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีที่วังบางขุนพรหม คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตร พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสิฐสบสมัย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมาน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานตมณี หม่อมเจ้ามารยาตรกัญญาทรงเป็นเลขานุการสภากาชาดไทย มาตั้งแต่ครั้งสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ทรงเป็นสภานายิกา จนกระทั่งภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ก็ยังทรงเป็นเลขานุการจนกระทั่งเกษียณอายุ ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปลี้ภัยที่ปีนัง ระหว่าง..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าวัตนานุวัฒน์ วัฒนวงศ์

ันโท หม่อมเจ้าวัฒนานุวัฒน์ วัฒนวงศ์ (7 มีนาคม พ.ศ. 2464 - 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2547) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงศ์สิริพัฒน์กับหม่อมนุ่ม วัฒนวงศ์ ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมเจ้าวัตนานุวัฒน์ วัฒนวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ

หม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2442 - 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช กับหม่อมเจ้าประวาศสวัสดี จิรประวัติ (ราชสกุลเดิม: โสณกุล) และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมเจ้าวิมลปัทมราช จิรประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์

หม่อมเจ้าวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์ (1 มกราคม พ.ศ. 2442 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2509) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา และเป็นชายาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมเจ้าวิไลกัญญา ภาณุพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอรุณแสงไข ภาณุพันธุ์

หม่อมเจ้าอรุณแสงไข ภาณุพันธุ์ (2 มิถุนายน พ.ศ. 2474 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธุ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช กับหม่อมอรุณ ภาณุพันธุ์ ณ อ.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมเจ้าอรุณแสงไข ภาณุพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคล

ร้อยเอก หม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคล (1 มกราคม พ.ศ. 2521) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล กับหม่อมไฉไล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 20 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมเจ้านวพรรษ์ ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุล

หม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุล (16 มกราคม พ.ศ. 2440 - 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2519) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการกับหม่อมพุก เทวกุล ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมเจ้านิกรเทวัญ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล

ันตรีหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา (บุตรีของเจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)) ประสูติ ณ วังเดิมเชิงสะพานถ่าน (หรือเรียกโดยสามัญว่า วังสะพานถ่าน) กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นตลาดบำเพ็ญบุญในปัจจุบันนี้ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2439 เวลา 17.25 น. ได้รับพระราชทานนาม ไตรทิพเทพสุต จากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม)

ลโท พลอากาศโท กาจ กาจสงคราม หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หลวงกาจสงคราม หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร สมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ของกองทัพบกไทย ช่วงปี..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงมัศยจิตรการ (ประสพ ตีระนันทน์)

หลวงมัศยจิตรการ เป็นอดีตนักวิชาการประมง และนักวาดภาพปลาและสัตว์น้ำเพื่อการศึกษาในเชิงวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงในอดีต หลวงมัศยจิตรการ มีชื่อจริงว่า ประสพ ตีระนันทน์ เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439 ที่จังหวัดจันทบุรี เป็นบุตรของหลวงวิจิตรเจียรไน และนางเปี๊ยก เมื่อสำเร็จการศึกษาเบื้องต้นที่จังหวัดจันทบุรี บ้านเกิดแล้ว ได้เดินทางเข้าสู่กรุงเทพฯ เพื่อศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น โดยสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนราชวิทยาลัย, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนสวนกุหลาบ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ได้เดินไปยังประเทศอังกฤษ เพื่อศึกษาต่อด้านจิตรกรรม เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้ว ได้เดินทางกลับมายังประเทศไทย ด้วยการเป็นผู้ช่วยของ ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ นักวิชาการประมงชาวอเมริกันที่รับราชการอยู่ยังประเทศไทย สังกัดกรมเพาะปลูก กระทรวงเกษตราธิการ จากนั้นได้เลื่อนตำแหน่งขึ้นไปสูงขึ้น ๆ จนกลายเป็นนักวิชาการประมงอย่างเต็มตัว เป็นหัวหน้าแผนกบำรุงสมบัติในน้ำ สังกัดกรมประมง และหัวหน้าแผนกบำรุงทั่วไป และตำแหน่งสุดท้ายเป็นเจ้าพนักงานประมงประจำกรม ก่อนจะลาออกจากราชการเพื่อประกอบกิจการส่วนตัวในปี พ.ศ. 2489 ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น "หลวงมัศยจิตรการ" ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญดุษฎีมาลาและเข็มศิลปวิทยา รวมทั้งได้รับเลือกเป็นภาคีสมาชิกของราชบัณฑิตยสถานทางจิตรกรรรม สำนักศิลปากรด้วย หลวงมัศยจิตรการ ถือว่าเป็นบุคคลหนึ่งที่เป็นผู้บุกเบิกวิชาการและองค์ความรู้ทางด้านการประมงเป็นผู้แรก ๆ ในประเทศไทย เช่นเดียวกับ ฮิวจ์ แมคคอร์มิค หรือ ศาสตราจารย์โชติ สุวัตถิ มีผลงานที่โดดเด่นเป็นอย่างมากในการวาดภาพและระบายสีปลาและสัตว์น้ำเพื่อการศึกษาทางวิชาการจนมีชื่อเสียงเลื่องลือ ได้รับการวางตัวจากกระทรวงเกษตราธิการให้เป็นผู้เดินทางไปดูราชการและกิจการการประมงประเภทต่าง ๆ ในหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา, อังกฤษ และฟิลิปปินส์ หลวงมัศยจิตรการ ถึงแก่กรรมลงในปี พ.ศ. 2508 โดยมีพิธีพระราชเพลิงศพ ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและหลวงมัศยจิตรการ (ประสพ ตีระนันทน์) · ดูเพิ่มเติม »

อรอำไพ โกมารกุล ณ นคร

ณหญิงอรอำไพ โกมารกุล ณ นคร..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและอรอำไพ โกมารกุล ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

อาทมาต

อาทมาต, อาทมาฏ, อาตมาท, อาทมารถ หรือ อาจสามารถ เป็นชื่อเรียกวิชาดาบแขนงหนึ่งของไทย เชื่อกันว่าตกทอดมาครั้งแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตั้งแต่ยังมีพระอิสริยยศ เป็น พระอุปราชวังหน้ารั้งเมืองพิษณุโลก วิชาดาบอาทมาฏ มีจุดเด่นอยู่ที่ความรวดเร็วและรุนแรง สามารถสู้ได้เพียงคนเดียวต่อคู่ต่อสู้หลายคน มีท่ารุกเป็นท่าเดียวกับท่ารับ เมื่อคู่ต่อสู้ฟันมาจะรับและฟันกลับทันที ไม่มีอะไรตายตัว มีแม่ไม้ 3 ท่า คือคลุมไตรภพ ตลบสิงขร และย้อนฟองสมุทร และมีท่าไม้รำ 12 ท่า ได้แก.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและอาทมาต · ดูเพิ่มเติม »

อุดม โปษะกฤษณะ

ตราจารย์ นายแพทย์ อุดม โปษะกฤษณะ (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2540) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและอุดม โปษะกฤษณะ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช

ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เป็นตำแหน่งรักษาการแทนสมเด็จพระสังฆราช มีสมเด็จพระราชาคณะผู้อาวุโสโดยสมณศักดิ์ ซึ่งปฏิบัติหน้าที่แทนสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ในระหว่างที่ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกยังว่างอยู่ หรือในระหว่างที่สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงปฏิบัติศาสนากิจในราชกิจในต่างประเทศ ตามพระราชบัญญัติคณะสง..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและจังหวัดชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

จิร วิชิตสงคราม

ลเอก จิร วิชิตสงคราม (? - พ.ศ. 2522) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรี ปลัดกระทรวงกลาโหม เสนาธิการกลาโหม และเสนาธิการกองทัพบก.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและจิร วิชิตสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพลับพลาไชย

แยกพลับพลาไชย ในมุมมองจากถนนหลวง ถนนพลับพลาไชยคือถนนที่เป็นจุดตัด ถนนพลับพลาไชย (Thanon Phlapphla Chai) ถนนสายหนึ่งในพื้นที่เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มที่แยกแปลงนาม อันเป็นทางแยกที่ตัดระหว่างถนนเจริญกรุงกับถนนแปลงนาม ที่แขวงป้อมปราบ จากนั้ันทอดยาวไปจนถึงแยกพลับพลาไชย อันเป็นห้าแยกที่เป็นจุดตัดกับถนนหลวงและถนนไมตรีจิตต์ และไปสิ้นสุดที่แยกอนามัย อันเป็นจุดตัดกับถนนบำรุงเมือง ที่แขวงวัดเทพศิรินทร์ รวมความยาวประมาณ 1.1 กิโลเมตร ถนนพลับพลาไชย เป็นถนนที่มีสถานที่สำคัญ ๆ หลายแห่งตั้งอยู่ เช่น มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง, สถานีตำรวจนครบาลพลับพลาไชย 1 และ 2 (สน.พลับพลาไชย 1 และ 2) ที่ดูแลพื้นที่ย่านเยาวราชทั้งหมด และรวมไปถึงบริเวณใกล้เคียง เช่น วงเวียน 22 กรกฎาคม, โรงพยาบาลหัวเฉียว, โรงพยาบาลกลาง เป็นต้น, วัดคณิกาผล, ศาลเจ้าหลี่ตี้เมี่ยว, วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร, องค์การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ (ภาคประชาชน), สมาคมส่งเสริมวิชาชีพ ผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์ วิทยุและโทรทัศน์ (แห่งประเทศไทย) เป็นต้น โดยชื่อ "พลับพลาไชย" มาจากชื่อของวัดพลับพลาไชย อันเป็นวัดเก่าแก่ที่ตั้งอยู่บริเวณนี้ มีประวัติมาตั้งแต่ยุคกรุงศรีอยุธยาและกรุงธนบุรี โดยในอดีตสถานที่บริเวณนี้มีลักษณะเป็นโคกหรือเนินดินขนาดใหญ่ และมีการตั้งคอกวัวไว้ที่นี่ด้วย จึงนิยมเรียกกันว่า "วัดโคก" หรือ "วัดคอก" จนมาถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงเปลี่ยนนามของวัดแห่งนี้ใหม่ เป็น "วัดพลับพลาชัย" เนื่องจากเป็นสถานที่ตั้งพลับพลาในการซ้อมรบของกองเสือป่ารักษาดินแดน ถนนพลับพลาไชย ในปี..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและถนนพลับพลาไชย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหลวง

250px ถนนหลวง (Thanon Luang) เป็นถนนเส้นหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนมหาไชย (สามแยกเรือนจำ) ในท้องที่แขวงสำราญราษฎร์ เขตพระนคร ข้ามคลองรอบกรุง (คลองโอ่งอ่าง) เข้าสู่ท้องที่แขวงบ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย จากนั้นตัดกับถนนวรจักร (สี่แยกวรจักร) ถนนยุคล 2 (สี่แยกโรงพยาบาลกลาง) และถนนพลับพลาไชย (ห้าแยกพลับพลาไชย) โดยเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงป้อมปราบกับแขวงวัดเทพศิรินทร์ จนกระทั่งไปจรดถนนกรุงเกษมที่ห้าแยกนพวงศ์ ถนนหลวงเป็นถนนที่สร้างในปี พ.ศ. 2436 โดยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิธาดา เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการได้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า ควรจะตัดถนนใหม่ระหว่างถนนเจริญกรุง ถนนบำรุงเมือง ตั้งต้นตั้งแต่ป้อมเสือทยานไปบรรจบถนนริมคลองผดุงกรุงเกษมโดยข้ามคลองคูพระนคร ตรงไปออกถนนหน้าวัดเทพศิรินทราวาส ถึงสถานีรถไฟหัวลำโพง ตั้งชื่อว่าถนนหลวง อันมีควาหมายว่า "ถนนของพระเจ้าแผ่นดิน" ทรงให้เหตุผลในการตัดถนนสายนี้ว่า เพื่อสำหรับผู้ที่จะไปขึ้นรถไฟ เพื่อเดินทางไปนครราชสีมาได้สะดวก และเป็นที่งดงามและแสดงถึงความเจริญของบ้านเมืองด้วย โดยสร้างเป็นถนนสำหรับคนเดินและรถม้า ระหว่างการก่อสร้างถนนหลวงใน พ.ศ. 2440 ปรากฏว่ามีผู้ขัดขวางการสร้างถนน โดยทำร้ายกุลีชาวจีนที่ก่อสร้างจนไม่สามารถก่อสร้างได้ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิธาดา เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการได้มีหนังสือกราบทูลพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นนเรศร์วรฤทธิ์ เสนาบดีกระทรวงนครบาล โดยทรงต่อว่ากระทรวงนครบาลซึ่งส่งมอบที่ดินให้กระทรวงโยธาธิการ เข้าใจว่าทรงจัดการเรื่องการเวนคืนที่ดินเรียบร้อยแล้ว และถือว่าเป็นหน้าที่ของกระทรวงนครบาลที่จะป้องกันระงับการทะเลาะวิวาท แต่ปรากฏว่ากระทรวงนครบาลไม่ได้อารักขาการสร้างถนน ทำให้เกิดเหตุขึ้นและปล่อยให้เรื่องล่าช้าจนหมดเขตฟ้องร้อง ต้องจ่ายพระราชทรัพย์ทำขวัญกุลี ในการก่อสร้างถนนหลวงนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานนพวงศ์ขึ้นด้วย โดยมีพระราชปรารภให้เปิดสะพานทันวันเฉลิมพระชนมพรรษาในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2440 ซึ่งเป็นวันที่มีพระชนมพรรษาเท่าพระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส (พระองค์เจ้านพวงศ์) จึงต้องเร่งดำเนินการสร้างถนนหลวง ให้เสร็จทันเวลาที่จะเสด็จพระราชดำเนินเปิดสะพานนพวง.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและถนนหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)

ท้าววนิดาพิจาริณี มีนามเดิมว่า บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม บุญธร; พ.ศ. 2429— 2 มีนาคม พ.ศ. 2513) เป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

ขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ)

นหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ) ขุนหลวงพระยาไกรสี สุภาวภักดี ศรีมนธาตุราช อำมาตยคณาการ (เปล่ง เวภาระ) เป็นนักกฎหมายชาวไทยคนแรกที่สำเร็จการศึกษาเป็นเนติบัณฑิตจากประเทศอังกฤษ อดีตอธิบดีกรมอัยการคนแรก อดีตผู้ดำรงตำแหน่งลูกขุน ณ ศาลหลวง และอดีตอธิบดีผู้พิพากษาศาลพระราชอาญา คำว่าขุนหลวงในที่นี้มีที่มาจากตำแหน่งลูกขุน ณ ศาลหลวง ซึ่งมีหน้าที่ด้านการรักษาตัวบทกฎหมายมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งนี้มีบรรดาศักดิ์ชั้นพระ ปรากฏนามในทำเนียบศักดินาว่า "ขุนหลวงพระไกรสี" ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เลื่อนบรรดาศักดิ์ของข้าราชการตำแหน่งดังกล่าวจากชั้นพระเป็นพระยา จึงเรียกชื่อขุนนางตำแหน่งนี้ใหม่ว่า "ขุนหลวงพระยาไกรสี" ซึ่งขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ) เป็น 1 ใน 2 คนที่ปรากฏหลักฐานว่าได้ดำรงตำแหน่งลูกขุน ณ ศาลหลวง ในบรรดาศักดิ์ชั้นพร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ) · ดูเพิ่มเติม »

ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิง ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ไกรฤกษ์, เกิด 4 กันยายน พ.ศ. 2447 — ถึงแก่อนิจกรรม 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) เป็นธิดาของเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) กับท่านผู้หญิงกลีบ มหิธร (สกุลเดิม บางยี่ขัน) ท่านผู้หญิง ดุษฎีมาลา ได้บันทึกในหนังสือเรื่องของคนห้าแผ่นดินถึงชื่อของท่านว่า "เมื่อคุณพ่อกลับจากสิงคโปร์แล้วจึงตั้งชื่อให้ฉันว่า ดุษฎีมาลา ตามชื่อเหรียญดุษฎีมาลาเข็มศิลปวิทยา ซึ่งท่านได้รับพระราชทานเป็นบำเหน็จ เมื่อสอบไล่ได้เป็นเนติบัณฑิตชั้นที่ ๑ คนแรกของประเทศไทย" ชื่อของท่านผู้หญิงที่ถูกต้องจึงเป็น ดุษฎีมาลา แต่ในประกาศหลายฉบับหรือบันทึกต่างๆ ได้เรียกชื่อท่านผู้หญิงอย่างลำลองว่า ท่านผู้หญิงดุษฎี ต่อมาได้สมรสกับหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกัน นอกจากนี้ท่านผู้หญิงยังเคยเป็นผู้ถวายงานรับใช้ในตำแหน่งนางสนองพระโอษฐ์ ในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7 ท่านผู้หญิง ดุษฎีมาลาเป็นผู้ประพันธ์คำไหว้ครูที่ใช้อยู่ในปัจจุบันที่ว่า ข้าขอประณตน้อมสักการ บูรพคณาจารย์ ผู้กอปรเกิดประโยชน์ศึกษา ทั้งท่านผู้ประสาทวิชา อบรมจริยา แก่ข้าในกาลปัจจุบัน ข้าขอเคารพอภิวันทน์ ระลึกคุณอนันต์ ด้วยใจนิยมบูชา ขอเดชกตเวทิตา อีกวิริยะพา ปัญญาให้เกิดแตกฉาน ศึกษาสำเร็จทุกประการ อายุยืนนาน อยู่ในศีลธรรมอันดี ให้ได้เป็นเกียรติเป็นศรี ประโยชน์ทวี แก่ชาติและประเทศไทยเทอญ ท่านผู้หญิง ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 สิริรวมอายุได้ 92 ปี 10 เดือน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงพระมหากรุณาธิคุณ เสด็จพระราชดำเนินพระราชทานเพลิงศพเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส สิริอายุได้ 93 ปี.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

คุณพุ่ม เจนเซน

ว่าที่นายหมวดตรี ร้อยตำรวจตรี คุณพุ่ม เจนเซน (นามเดิม: ภูมิ เจนเซน; 16 สิงหาคม พ.ศ. 2526 — 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547) เป็นพระโอรสคนเดียวในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี กับปีเตอร์ เจนเซนและยังเป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพี่น้องคือคุณพลอยไพลิน และคุณสิริกิติยา เจนเซน คุณพุ่ม เจนเซนถึงแก่อนิจกรรมจากกรณีพิบัติภัยเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและคุณพุ่ม เจนเซน · ดูเพิ่มเติม »

ประวิทย์ รุจิรวงศ์

ประวิทย์ รุจิรวงศ์ นักธุรกิจชาวไทย และอดีตนักการเมืองท้องถิ่น ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ นายประวิทย์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2484 เป็นบุตรชายของ พลตำรวจเอก ประเสริฐ รุจิรวงศ์ อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และคุณหญิงน้อย รุจิรวงศ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล, โรงเรียนโยธินบูรณะและสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน จากนั้นได้เดินทางไปฝึกงานต่อยังประเทศอังกฤษเป็นระยะเวลา 3 ปี เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) และดำรงตำแหน่งประธานสภากรุงเทพมหานคร เป็นคนที่ 7 ด้วย ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 ถึงวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 จากนั้นได้ลงเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2533 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง โดยได้คะแนนมาเป็นลำดับที่สาม ได้ทั้งหมด 60,947 คะแนน นายประวิทย์ถึงแก่กรรมเมื่อปี..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและประวิทย์ รุจิรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

แยกยุคล 2

แยกยุคล 2 (Yukol Song Junction) หรือที่รู้จักกันในนาม สามแยกยุคล หรือ สามแยกสวนมะลิ เป็นทางสามแยกจุดตัดถนนบำรุงเมือง และถนนยุคล 2 ในพื้นที่แขวงวัดเทพศิรินทร์และแขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร ในย่านสวนมะล.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและแยกยุคล 2 · ดูเพิ่มเติม »

แสวง ธีระสวัสดิ์

ลตำรวจเอก แสวง ธีระสวัสดิ์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2474 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ คนที่ 21.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและแสวง ธีระสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

โพยม เสนีณรงค์ฤทธิ์

ท่านผู้หญิงโพยม เสนีณรงค์ฤทธิ์ อดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและโพยม เสนีณรงค์ฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

โกศ

ระเบญจาประดิษฐานพระโกศทองใหญ่ทรงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตีพิมพ์ในหนังสือ "Description du Royaume Thai ou Siam" (ตีพิมพ์ภาษาไทยในชื่อ "เล่าเรื่องกรุงสยาม") ของบาทหลวงฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว พิมพ์ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ ค.ศ. 1854 (พ.ศ. 2397) พระบรมโกศ, พระโกศ และ โกศ คือที่ใส่พระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระบรมราชินี และพระบรมวงศ์ กับโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูง ตามคตินิยมของพราหมณ์ที่เชื่อว่า ต้องตั้งพระบรมศพ,พระศพ และ ศพที่มีบรรดาศักดิ์สูง ในท่ายืน, นั่ง, คุกเข่า หรือกอดเข่าประสานมือ เพื่อส่งดวงพระวิญญาณ /วิญญาณกลับสู่สรวงสวรร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและโกศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลหัวเฉียว

รงพยาบาลหัวเฉียว (华侨; พินอิน: Huáqiáo) เป็นโรงพยาบาลเอกชนทั่วไป ก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ตั้งอยู่ที่ 665 ถนนบำรุงเมือง แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการในปี..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและโรงพยาบาลหัวเฉียว · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดพลับพลาชัย

รงเรียนวัดพลับพลาชัย ตั้งอยู่หลังวัดเทพศิรินทร์ เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในบริเวณที่วัด ซึ่งแต่เดิมมีชื่อว่า “วัดโคก หรือ วัดโคกอีแร้ง” เรื่องเล่าว่า เดิมทีเป็นที่ประหารนักโทษ (เหมือนกับวัดสระเกศ ศพที่ประหารแล้วจะถูกส่งออกมาด้านหลังวัดสระเกศ บริเวณนั้นจึงถูกเรียกกันมาจนทุกวันนี้ว่า “ประตูผี”) บางครั้งก็ปล่อยให้อีแร้งมากินศพที่ถูกประหาร บริเวณนั้นจึงมีอีแร้งชุกชุม เลยเรียกว่า วัดโคกอีแร้ง เมื่อมีการขุดถนนแถวห้าแยกพลับพลาชัยเพื่อซ่อมแซมครั้งใด จะต้องเจอโครงกระดูกอยู่ใต้ดินเต็มไปหมด ต่อมาเมื่อรัชกาลที่ 6 ตั้งกองเสือป่ารักษาดินแดนขึ้น และได้มีการซ้อมรบ พระองค์ได้มาตั้งพลับพลาเสือป่าขึ้นที่วัดนี้ ต่อมาวัดจึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “วัดพลับพลาชัย” ต่อมามีผู้ปกครองมาฝากลูกๆให้กับพระเพื่อที่จะให้ถ่ายทอดวิชาให้ ภายหลังมีเด็กมากขึ้นเรื่อยๆจึงเปิดเป็นโรงเรียน มีการสอนตั้งแต่ระดับชั้น อนุบาล 1 - ประถมศึกษาปีที่ 6 ตั้งแต..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและโรงเรียนวัดพลับพลาชัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนหญิงล้วน สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ภายหลังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์สิ้นพระชนม์ โดยบรรดาทายาทของพระองค์ได้บริจาคตำหนักส่วนพระองค์ และที่ดินข้างเคียงเพื่อตั้งเป็นโรงเรียนสตรีและรับโรงเรียนไว้ในอุปการะ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้เป็นพระนัดดา ทรงนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนว่า “สายปัญญา” ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนสายปัญญา ไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปัจจุบันโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีอายุ ปี เปิดรับสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 0.6 ตารางวา มีอาคารเรียน 4 หลัง มี 53 ห้องเรียน 53  ห้องเรียน แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายดังนี้ 6-6-8/11-12-10 มีครูทั้งหมด 108 คน มีนักเรียนในปีการศึกษา 2557 รวมทั้งสิ้น 2,641 คน.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเมืองพัทยา 2 (เจริญราษฎร์อุทิศ)

รงเรียนเมืองพัทยา 2 (เจริญราษฎร์อุทิศ) เป็นโรงเรียนที่ตั้งติดอยู่วัดช่องลมนาเกลือ เมืองพัทยา ตำบลนาเกลือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย มีนักเรียนศึกษาอยู่ประมาณ 1,100 คน มีผู้บริหาร 1 คน ครู 67 คน นักการภารโรง 8 คน เปิดทำการเรียนการสอนในระดับชั้นอนุบาลศึกษาถึงมัธยมศึกษา แบบสหศึกษ.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและโรงเรียนเมืองพัทยา 2 (เจริญราษฎร์อุทิศ) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทพศิรินทร์

รงเรียนเทพศิรินทร์ (Debsirin School, ย่อ: ท.ศ., DS) เป็นโรงเรียนรัฐบาลชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ตั้งอยู่ เลขที่ 1466 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร โรงเรียนเทพศิรินทร์ อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร ก่อตั้งขึ้นใน 15 มีนาคม พ.ศ. 2428 ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ปัจจุบันโรงเรียนเทพศิรินทร์มีอายุ ปี นอกจากนี้โรงเรียนเทพศิรินทร์ยังประกอบด้วย โรงเรียนเครือข่ายที่มีคำนำหน้าว่า "เทพศิรินทร์" อีก 10 แห่ง โรงเรียนเทพศิรินทร์เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งเดียวในประเทศไทย ที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเข้ารับการศึกษา คือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 นอกจากนี้ยังมีนักเรียนเก่าที่ดำรงตำแหน่งสำคัญทางการเมืองมากมาย อาทิ นายกรัฐมนตรีไทย 4 คน รวมถึง นายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งมาเลเซี.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและโรงเรียนเทพศิรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทพศิรินทร์ พุแค

รงเรียนเทพศิรินทร์ พุแค เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี สระบุรี) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี เขต 1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บริเวณตำบลพุแค อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา และเป็นโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนเทพศิรินทร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและโรงเรียนเทพศิรินทร์ พุแค · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทพศิรินทร์ ขอนแก่น

รงเรียนเทพศิรินทร์ ขอนแก่น (Debsirin Khonkaen School, ย่อ: ท.ศ.ข., DSKK) เป็นโรงเรียนรัฐบาลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 (ขอนแก่น) ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา ตั้งอยู่บริเวณถนนเทพดำเนิน ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น และเป็นโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนเทพศิรินทร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและโรงเรียนเทพศิรินทร์ ขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี

รงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี เป็นโรงเรียนรัฐบาลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี สระบุรี) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2) ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา ตั้งอยู่บริเวณถนนเลียบคลองสิบสาม ตำบลบึงคอไห อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี และเป็นโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนเทพศิรินทร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและโรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

ไชยา สุริยัน

ริยัน หรือชื่อจริง หม่อมหลวงอภิรัฐ จรูญโรจน์ (7 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2533) นักแสดงเจ้าบทบาท เจ้าของรางวัลตุ๊กตาทอง นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม 3 ปี ซ้อน ระหว่างปี พ.ศ. 2505 - พ.ศ. 2507.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและไชยา สุริยัน · ดูเพิ่มเติม »

เชิด ทรงศรี

ทรงศรี เป็นชื่อและนามสกุลจริงที่ใช้ในการกำกับภาพยนตร์ทุกเรื่อง ส่วนนามปากกา ธม ธาตรี ใช้ในงานเขียนนวนิยายและเขียนบทภาพยนตร์ เป็นผู้กำกับภาพยนตร์แนวหน้าชาวไทย มีผลงานกำกับภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงหลายเรื่อง และได้รับรางวัลมากมาย เชิด ทรงศรีเกิดเมื่อวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเชิด ทรงศรี · ดูเพิ่มเติม »

เกริก มังคละพฤกษ์

ร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเกริก มังคละพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงไกร อัตตะนันทน์

อมพลเกรียงไกร อัตตะนันทน์ อดีตผู้บังคับกองพันทหารอาสาสมัครของไทยชุดแรกในสงครามเกาหลี อดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ และอดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ท่านเป็นนายทหารที่ได้รับพระราชทานยศจอมพลเป็นคนสุดท้ายของกองทัพไทย ก่อนที่จะมีการระงับการพระราชทานยศชั้นดังกล่าวในช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเกรียงไกร อัตตะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม ศรีพยัคฆ์

กษม ศรีพยัคฆ์ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2446 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2508) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์และรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเกษม ศรีพยัคฆ์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม จาติกวณิช

นายเกษม จาติกวณิช อดีตประธานกรรมการบริษัท BTSC (รถไฟฟ้า BTS) ผู้ก่อตั้งและผู้ว่าการคนแรกของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เคยดำรงตำแหน่งผู้บริหารรัฐวิสาหกิจพร้อมกันถึง 4 แห่งคือ ไทยออยล์, บางจากปิโตรเลียม, ปุ๋ยแห่งชาติ และ เอเชียทรัสต์ นอกจากนี้เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ได้รับสมญานามจากสื่อมวลชน ว่า "ซูเปอร์เค" หรือ "ด็อกเตอร์เค".

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเกษม จาติกวณิช · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติ วัธนเวคิน

กียรติ วัธนเวคิน (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2556) หรือ คู เส้เกี้ยน (丘細見) เป็นนักธุรกิจชาวไทยเชื้อสายจีนที่มีบทบาทในวงการธุรกิจของประเทศไทย เป็นประธานกิตติศักดิ์ของสมาคมฮากกาแห่งประเทศไทย ผู้ก่อตั้งธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน) และบุกเบิกธุรกิจอุตสาหกรรมหลายสาขา อาทิ ธุรกิจการเงินและธนาคาร ธุรกิจผลิตและจำหน่ายน้ำตาลทราย ธุรกิจผลิตและจำหน่ายสุราในภาคตะวันออก ธุรกิจก่อสร้างทางหลวง ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเกียรติ วัธนเวคิน · ดูเพิ่มเติม »

เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส

มรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เป็นฌาปนสถานสำหรับพระราชวงศ์ซึ่งไม่ได้สร้างพระเมรุมาศ ที่ท้องสนามหลวง และ พระศพเจ้านายฝ่ายในราชนิกูล ขุนนาง ข้าราชการผู้ใหญ่ ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสายสะพายของแต่ละตระกูล และ ได้รับพระราชทานโกศเป็นเกียรติยศ โดยเมื่อใช้ในการพระราชทานเพลิงพระศพเจ้านายจะออกหมายเรียกว่า "พระเมรุ" และถ้าเป็นเจ้านายที่มีพระเกียรติยศสูง เป็นที่นับถือของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อาจมีการปรับปรุงประดับตกแต่งโดยรอบให้สมพระเกียรติยศ เช่น กางกั้นด้วยฉัตรตามพระเกียรติยศ มีการประดับด้วยฉัตรดอกไม้สดโดยรอบ สร้างซ่างไว้สำหรับพระพิธีธรรมสวด จัดตกแต่งสวนหย่อมให้เป็นป่าหิมพานต์ นอกจากนี้ ยังใช้เป็นพระเมรุพระบุพโพของพระบรมวงศ์สำคัญที่บรรจุพระศพลงพระโกศ เพื่อจะได้ไม่ต้องไปสร้างพระเมรุดาดผ้าขาวที่วัดมหาธาตุ เช่น พระบุพโพ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 พระบุพโพ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และ พระบุพโพ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ในรัชกาลที่ 6.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส · ดูเพิ่มเติม »

เลอศักดิ์ สมบัติศิริ

ท่านผู้หญิง เลอศักดิ์ สมบัติศิริ (20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2462 — 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553) อดีตประธานกิตติมศักดิ์ บริษัท โรงแรมปาร์คนายเลิศ จำกัด, อดีตเจ้าของโรงแรมสวิสโซเทลปาร์คนายเลิศ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมหญิงคนแรกของไท.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเลอศักดิ์ สมบัติศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เสริม ณ นคร

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เสริม ณ นคร อดีตผู้บัญชาการทหารบก, ผู้บัญชาการทหารสูงสุดและอดีตรองนายกรัฐมนตรี เจ้าของฉายา "นายพลแก้มแดง".

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเสริม ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

เสถียร โพธินันทะ

อาจารย์เสถียร โพธินันทะ ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาคนหนึ่งของไทย ผู้บุกเบิกการศึกษาพระพุทธศาสนามหายาน และอดีตเลขาธิการคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเสถียร โพธินันทะ · ดูเพิ่มเติม »

เจริญใจ สุนทรวาทิน

ริญใจ สุนทรวาทิน (16 กันยายน พ.ศ. 2458 - 10 เมษายน พ.ศ. 2554) เป็นศิลปิน และนักวิชาการชาวไทยด้านศิลปวัฒนธรรมแบบราชสำนัก มีความสามารถในด้านการละคร ชำนาญในการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประเภทวงเครื่องสายและวงมโหรี โดยเฉพาะซอสามสาย มีความเชี่ยวชาญในการขับร้องเพลงประกอบการแสดงนาฏกรรม รวมถึงเพลงไทยเพื่อการฟังตามแบบฉบับและแนวทางร่วมสมัย กล่าวได้ว่า เป็นผู้ที่มีน้ำเสียงไพเราะ ขับร้องด้วยอารมณ์อันสมจริง ประณีตละเมียดละไม ได้อรรถรสของวรรณคดี ได้รับการขนานนามจากนักดนตรีไทยว่าเป็น “เพชรประดับมงกุฎแห่งคีตศิลป์ไทย” เจริญใจ สุนทรวาทิน เป็นที่รู้จักในวงการเพลงไทยตั้งแต่วัยเยาว์ เคยเป็นข้าราชบริพารในยุคก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เคยได้รับรางวัลชนะเลิศระดับชาติจากการประกวดขับร้องเพลงไทย เป็นครูผู้ควบคุมวงดนตรีและสอนการขับร้องเพลงไทย เป็นอาจารย์ผู้ถวายงานสอนดนตรีและขับร้องแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) ประจำปีพุทธศักราช 2530 จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเจริญใจ สุนทรวาทิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์

้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ มีพระนามเต็มว่า เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ ดำรงรัฐสีมาอุบลราชธานีบาล พระนามเดิมว่า เจ้าหน่อคำ ทรงเป็นเจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ที่ ๕ ในฐานะเจ้าประเทศราชต่อจากพระพรหมราชวงศา (กุคำ สุวรรณกูฎ) เจ้าเมืองอุบลราชธานีองค์ที่ ๔ ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) ถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) เดิมมีพระยศในตำแหน่งคณะอาญาสี่เป็นที่เจ้าราชวงษ์นครจำปาศักดิ์ ในสมัยเจ้าราชบุตร (โย่) พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์เป็นเจ้านครจำปาศักดิ์ เจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ทรงเป็นต้นสกุลพระราชทาน ๒ สกุลคือ พรหมโมบล และ เทวานุเคราะห.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเจ้าพรหมเทวานุเคราะห์วงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล)

้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) เป็นเป็นข้าราชการชาวไทย ต้นสกุล "เพ็ญกุล" ผู้ก่อตั้งโรงละครอย่างตะวันตกโดยใช้ชื่อว่า ปรินซ์เธียร์เตอร์ (Prince Theatre) และการริเริ่มแสดงละครโดยเก็บค่าชม.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาจันทร์ในรัชกาลที่ 4 เป็นบุตรีคนรองสุดท้องของพระยาพิพิธสมบัติ (ทองสุก) ผู้สำเร็จราชการเมืองตราด มีมารดาเป็นชาวจังหวัดตราด คุณตาชื่อ “หยง” เป็นจีนฮกเกี้ยนที่เข้ามาตั้งหลักแหล่งค้าขายที่เมืองตราด คุณยายชื่อ “อิ่ม” เป็นคนพื้นเพเมืองตราด เมื่อพระยาพิพิธสมบัติถึงแก่อนิจกรรมในตอนต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บุตรชายคนหนึ่งของพระยาพิพิธสมบัติได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เป็นผู้สำเร็จราชการเมืองตราดสืบต่อจากบิดา ท่านเจ้าเมืองคนใหม่นี้ภายหลังได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระยาพิพิธฤทธิเดชวิเศษสิงหนาถ” และพระยาพิพิธฤทธิเดชวิเศษสิงหนาถนี้เองที่เป็นผู้ชักชวนให้เจ้าจอมมารดาจันทร์ซึ่งขณะนั้นอยู่ในวัยรุ่นสาวมีรูปโฉมงดงามเป็นที่เลื่องลือไปทั่วเมืองตราด ให้เข้ามารับราชการสนองพระเดชพระคุณในพระบรมมหาราชวัง จนได้รับพระมหากรุณาธิคุณชุบเลี้ยงให้เป็นพระสนมเอก พระราชทานเครื่องยศพานทองคำ เครื่องใช้สอยทองคำ หีบทองลงยาราชาวดี กับได้เบี้ยหวัดเงินปี ปีละ 10 ชั่ง เจ้าจอมมารดาจันทร์ได้รับราชการสนองคุณพระกรุณา ฯ ถวายพระประสูติกาลพระเจ้าลูกเธอและพระเจ้าลูกยาเธอทั้งสิ้น 4 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาทิพเกษร ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาทิพเกษร หรือสะกดว่า ทิพเกสร พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของเจ้าสุริยะ ณ เชียงใหม่ (โอรสเจ้าหนานมหาวงศ์ ณ เชียงใหม่) กับเจ้าสุวัณณา ณ เชียงใหม่ (ธิดาในเจ้าอุตรการโกศล (น้อยมหาพรหม ณ เชียงใหม่)) ซึ่งทั้งสองท่านนับเป็นเจ้านายฝ่ายเหนือในราชวงศ์ทิพย์จักร เจ้าอุตรการโกศล (น้อยมหาพรหม ณ เชียงใหม่) ซึ่งเป็นโอรสในพระเจ้ามโหตรประเทศ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่คนที่ 5 และเป็นตาของเจ้าทิพเกษร ได้พาท่านเข้าเฝ้าถวายเป็นบาทบริจาริกาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อพ.ศ. 2434 และทรงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าทิพเกษรไปศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีอยู่ในสำนักของเจ้าจอมมารดาแพ ผู้เป็นพระสนมเอกผู้ใหญ่ และยังโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยานรรัตนราชมานิต (โต มานิตยกุล) เป็นผู้อภิบาลดูแลเจ้าทิพเกษร ต่อมาท่านได้ประสูติกาลพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีฐานันดรศักดิ์เป็น "เจ้าจอมมารดาทิพเกษร" โดยพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวคือ พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ ซึ่งประสูติเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเจ้าจอมมารดาทิพเกษร ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมจันทร์ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมจันทร์ เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเจ้าจอมจันทร์ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

มุมมองเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายจากพระบรมบรรพต เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร.

ใหม่!!: วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหารและเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วัดเทพศิรินทราวาสวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหารวัดเทพศิรินทร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »