โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชวงศ์พระร่วง

ดัชนี ราชวงศ์พระร่วง

ราชวงศ์พระร่วง เป็นราชวงศ์แรกและราชวงศ์เดียวที่ปกครองอาณาจักรสุโขทัย หลักฐานจารึกปู่สบถหลานระหว่างกษัตริย์สุโขทัยและน่าน แล้วมีการลำดับพระนามพระมหากษัตริย์ของราชวงศ์สุโขทัยตั้งแต่บรรพบุรุษ ส่วนหลักฐานทางประวัติศาสตร์มักพบว่าผู้คนภายในเขตสุโขทัย หรือบ้านเมืองแว่นแคว้นอื่นมักเรียกพระมหากษัตริย์ของสุโขทัยในนามว่า "พระร่วง" ซึ่งเป็นนามที่รู้จักไปอย่างกว้างขวางของคนกลุ่มไทยในสมัยโบราณ เชื้อสายของราชวงศ์พระร่วงนี้สืบทอดมายาวนานในการปกครองสมัยสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง มีการสานสายสัมพันธ์กับราชวงศ์อู่ทองแห่งอาณาจักรละโว้ และราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราชแห่งอาณาจักรตามพรลิงก์ มาถึงสมัยอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิรวมถึงราชวงศ์สุโขทัยแห่งอาณาจักรอยุธยา ยังปรากฏอยู่ผ่านความสัมพันธ์ทางเครือญาติระหว่างอาณาจักร สัญลักษณ์หรืออนุสรณ์อันศักดิ์สิทธิ์ของราชวงศ์พระร่วงที่สืบทอดมาถึงปัจจุบัน คือ รูปพระร่วงพระลือ ในซุ้มพระร่วงพระลือที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ตามความเชื่อของคนรุ่นเก่าแก่ในจังหวัดสุโขทัย ระบุว่า ที่นี่คือนิวาสถานดั้งเดิม หรือต้นกำเนิดของราชวงศ์พระร่วง.

56 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1780พ.ศ. 1790พ.ศ. 1792พ.ศ. 1821พ.ศ. 1822พ.ศ. 1841พ.ศ. 1866พ.ศ. 1890พ.ศ. 1911พ.ศ. 1942พ.ศ. 1943พ.ศ. 1962พ.ศ. 1981พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 2พระมหาธรรมราชาที่ 3พระมหาธรรมราชาที่ 4พระมหาเถรศรีศรัทธาพระยายุทธิษเฐียรพระยาราชนิกูล (ทองคำ)พระยารามแห่งสุโขทัยพระยาศรีเทพาหูราชพระยางั่วนำถุมพระยาเลอไทยพระร่วงพระร่วงโรจนฤทธิ์พระสุริโยทัยพระนางสาขาพ่อขุนบานเมืองพ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนศรีอินทราทิตย์พ่อขุนศรีนาวนำถุมพ่อขุนผาเมืองราชวงศ์ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราชราชวงศ์สุพรรณภูมิราชวงศ์สุโขทัยราชวงศ์อู่ทองวัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหารสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสมเด็จพระอินทราชาสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกอาณาจักรละโว้อาณาจักรสุโขทัยอาณาจักรอยุธยาอาณาจักรตามพรลิงค์ท้าวศรีจุฬาลักษณ์...ประเทศไทยนางเสืองเจ้าพระยาวรวงษาธิราช (ขุนทอง)เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน)เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก)เจ้าแม่วัดดุสิต ขยายดัชนี (6 มากกว่า) »

พ.ศ. 1780

ทธศักราช 1780 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1780 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1790

ทธศักราช 1790 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1790 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1792

ทธศักราช 1792 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1792 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1821

ทธศักราช 1821 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1821 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1822

ทธศักราช 1822 ตรงกับคริสต์ศักราช 1279 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1822 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1841

ทธศักราช 1841 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1841 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1866

ทธศักราช 1866 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1866 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1890

ทธศักราช 1890 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1890 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1911

ทธศักราช 1911 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1911 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1942

ทธศักราช 1942 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1942 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1943

ทธศักราช 1943 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1943 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1962

ทธศักราช 1962 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1962 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1981

ทธศักราช 1981 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1981 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาธรรมราชาที่ 1

ระมหาธรรมราชาที่ 1 หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาราชาธิราช, พระบาทกมรเตงอัญฦๅไทยราช, พระยาลือไทย หรือ พระยาลิไทย (ครองราชย์ พ.ศ. 1890 - พ.ศ. 1919) พระมหากษัตริย์อาณาจักรสุโขทัยราชวงศ์พระร่วงลำดับที่ 6 เป็นพระโอรสพระยาเลอไทย และพระราชนัดดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาร.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระมหาธรรมราชาที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาธรรมราชาที่ 2

ระมหาธรรมราชาที่ 2 หรือ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัย ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระมหาธรรมราชาที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาธรรมราชาที่ 3

ระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไทย)นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 40 เป็นพระมหากษัตริย์ไทยสมัยอาณาจักรสุโขทัย ครองราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระมหาธรรมราชาที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาธรรมราชาที่ 4

ระมหาธรรมราชาที่ 4 หรือ บรมปาล หรือ พระยาบาลเมือง เป็นพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาพระองค์หนึ่ง ได้ครองเมืองพิษณุโลกในระหว่างปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระมหาธรรมราชาที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาเถรศรีศรัทธา

มเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุนีศรีรัตนลังกาทีปมหาสวามีเป็นเจ้า เป็นเชื้อสายของ พ่อขุนศรีนาวนำถุม ผู้สถาปนาแคว้นสุโขทัย-ศรีสัชนาลัย สันนิษฐานว่าเป็นผู้สร้าง จารึกวัดศรีชุม หรือ ศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 เป็นสมเด็จพระสังฆราชในสมัยสุโขทัย พระมหาเถรศรีศรัทธาปรากฏนามตามจารึกวัดศรีชุมว่า สมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุนีศรีรัตนลงกาทีปมหาสามี ตามเรื่องเล่าในศิลาจารึก กล่าวว่า พระมหาเถรศรีศรัทธา อยู่ในเชื้อสายตระกูลของ พ่อขุนศรีนาวนำถุม เกิดในเมืองสรลวงสองแคว (พิษณุโลก) เป็นบุตรของ พระยาคำแหงพระราม และ เป็นหลานของ พ่อขุนผาเมือง ในวัยหนุ่มเมื่ออายุ 17 ปีได้ช่วยบิดารบกับ ท้าวอีจาน จนชนะ ต่อมาเมื่ออายุได้ 26 ปีได้ช่วย พระยาเลอไทยในการสงคราม และทำการชนช้างชนะ ขุนจัง จนถูกยกย่องว่าเป็นนักรบที่เข้มแข็งมีฝีมือ เมื่ออายุ 31 ปี มีความจำเป็นทำให้ต้องสละทรัพย์สมบัติ ภรรยารวมทั้ง ธิดาอีกสองคน ออกบวชเดินทางจาริกแสวงบุญ ช่วยบูรณะศาสนสถานที่ต่าง ๆ จนถึงอินเดียและลังกา จนกระทั่งได้กลับมาสร้างจารึกเล่าเรื่องราวและประวัติความเป็นมาของตระกูลไว้ในแคว้นสุโขทัยในสมัยการปกครองของพระยาลิไทย มีผู้สันนิษฐานว่าเนื่องจากกษัตริย์ในราชวงศ์พระร่วงได้ขยายอำนาจของสุโขทัยเข้ามายังลุ่มน้ำน่านซึ่งเป็นบริเวณที่ตระกูลนาวนำถุมมีอำนาจครอบครองอยู่ อาจเป็นสาเหตุที่กดดันให้พระมหาเถรศรีศรัทธา ต้องออกบวช จารึกวัดศรีชุม ที่พระมหาเถรศรีศรัทธาได้สร้างขึ้น นับเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญที่บอกเล่าถึงการสถาปนาแคว้นสุโขทัย-ศรีสัชนาลัย ที่ไม่มีปรากฏในหลักฐานอื่น.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระมหาเถรศรีศรัทธา · ดูเพิ่มเติม »

พระยายุทธิษเฐียร

ระยายุทธิษฐิระ หรือ พระยายุทธิษเฐียร ทรงเป็นเจ้านายเชื้อสายราชวงศ์พระร่วง เป็นพระร่วงเจ้าสุโขทัยในปี พ.ศ. 2011 จนกระทั่งอาณาจักรล้านนาเสียดินแดนอาณาจักรสุโขทัยแก่อาณาจักรอยุธยาใน พ.ศ. 2017 นอกจากนี้ พระเจ้าติโลกราชยังทรงแต่งตั้งให้พระยายุทธิษฐิระ เป็นเจ้าเมืองพะเยาและดูแลหัวเมืองล้านนาตะวันออกตอนล่าง จนถูกปลดในปี พ.ศ. 2022.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระยายุทธิษเฐียร · ดูเพิ่มเติม »

พระยาราชนิกูล (ทองคำ)

ระยาราชนิกูล (ทองคำ) เป็นบิดาของสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระยาราชนิกูล (ทองคำ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยารามแห่งสุโขทัย

ระญาราม เป็นพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาที่ 2นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 45 แห่งอาณาจักรสุโขทัย เชื่อว่าพระนามของพระองค์ตั้งตามพระนามของพ่อขุนรามคำแหงมหาร.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระยารามแห่งสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีเทพาหูราช

ระศรีเทพาหูราช หรือ พระศรีราชโอรส พระราชวงศ์เชื้อสายราชวงศ์สุพรรณภูมิครึ่งราชวงศ์พระร่วงที่ได้ปกครองกรุงสุโขทัยในช่วงเวลาหนึ่ง เชื่อว่าพระองค์เป็นพระราชบิดาของสมเด็จพระนครินทราธิราชหรือเจ้านครอินทร์ แต่นักประวัติศาสตร์บางท่านก็เชื่อว่าพระองค์คือสมเด็จพระนครินทราธิร.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระยาศรีเทพาหูราช · ดูเพิ่มเติม »

พระยางั่วนำถุม

ระยางั่วนำถุม เป็นพระมหากษัตริย์สุโขทัยลำดับที่ 5 (พ.ศ. 1866 - พ.ศ. 1890) เป็นพระราชโอรสพ่อขุนบานเมือง สันนิษฐานกันว่าพ่อขุนศรีอินทราทิตย์คงอภิเษกสมรสกับพระธิดาของพ่อขุนศรีนาวนำถุม เหตุที่สันนิษฐานเช่นนั้นเนื่องจากเป็นธรรมเนียมของคนสมัยนั้น ที่นิยมเอาชื่อบรรพบุรุษมาตั้งเป็นชื่อหลาน พระยางั่วนำถุมเป็นกษัตริย์ครองเมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัยมาก่อนตามจารึกหลักที่ 15 แต่ขึ้นเป็นกษัตริย์ต่อจากพระยาเลอไทยซึ่งเป็นพระบิดาของพระยาลิไทยกษัตริย์ลำดับที่ 6 เรื่องราวของพระยางั่วนำถุมยังคลุมเครือเนื่องจากมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไม่มาก.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระยางั่วนำถุม · ดูเพิ่มเติม »

พระยาเลอไทย

ระยาเลอไทย เป็นพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยอาณาจักรสุโขทัย ครองราชย์ระหว่างปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระยาเลอไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระร่วง

ระร่วง พระยาร่วง หรือ พญาร่วง โดย ร่วง เป็นคำไทโบราณ แปลว่า รุ่ง (โรจน์) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระร่วง · ดูเพิ่มเติม »

พระร่วงโรจนฤทธิ์

ระร่วงโรจน์ฤทธิ์ ศรีอินทราทิตย์ธรรโมภาส มหาวชิราวุธราชบูชนิยบพิตร์ หรือ พระร่วงโรจนฤทธิ์ เป็นพระพุทธรูปปางห้ามญาติ ศิลปะสุโขทัย ประดิษฐานที่พระวิหารด้านทิศเหนือของพระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระร่วงโรจนฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระสุริโยทัย

ระสุริโยทัย หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระมหาเทวี เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 ของอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ พระสุริโยทัยตามพงศาวดารหลวงประเสริฐฯ กล่าวเพียงแค่เป็นอัครมเหสีผู้เสียสละพระชนม์ชีพเพื่อปกป้องพระราชสวามีในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ ในปี พ.ศ. 2091 พงศาวดารบางฉบับ กล่าวว่า พระสุริโยทัยเป็นเจ้านายเชื้อสายราชวงศ์พระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัย โดยมิได้กล่าวรายละเอียดใดมากกว่านี้ ไทยยกย่องว่าเป็นวีรสตรีจากวีรกรรมยุทธหัตถีกับพระเจ้าแปรในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระสุริโยทัย · ดูเพิ่มเติม »

พระนางสาขา

ระศรีธรรมราชมารดา เป็นพระอัครชายาในพระมหาธรรมราชาที่ 2 และพระราชมารดาในพระมหาธรรมราชาที่ 3.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพระนางสาขา · ดูเพิ่มเติม »

พ่อขุนบานเมือง

อขุนบานเมือง หรือ ขุนปาลราช เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในพ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพระนางเสือง และเป็นสมเด็จพระเชษฐาธิราชในพ่อขุนรามคำแหงมหาราช เสวยราชสมบัติในอาณาจักรสุโขทัยหลังจากพ่อขุนศรีอินทราทิตย์เสด็จสวรรคต (1821) และครองราชย์อยู่จนถึง..

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ่อขุนบานเมือง · ดูเพิ่มเติม »

พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

อขุนรามคำแหงมหาราช หรือ พญาร่วง หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งราชอาณาจักรสุโขทัย เสวยราชย์ประมาณ พ.ศ. 1822 ถึงประมาณ พ.ศ. 1841 พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของไทยที่ได้รับการยกย่องเป็น "มหาราช" ด้วยทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจอันทรงคุณประโยชน์แก่แผ่นดิน ทรงรวบรวมอาณาจักรไทยจนเป็นปึกแผ่นกว้างขวาง ทั้งยังได้ทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้น ทำให้ชาติไทยได้สะสมความรู้ทางศิลปะ วัฒนธรรม และวิชาการต่าง ๆ สืบทอดกันมากว่าเจ็ดร้อยปี:3.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ่อขุนรามคำแหงมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พ่อขุนศรีอินทราทิตย์

อขุนศรีอินทราทิตย์ หรือพระนามเต็ม กมรเตงอัญศรีอินทรบดินทราทิตย์ พระนามเดิม "พ่อขุนบางกลางหาว" เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วง ตามประวัติศาสตร์ไทย ทรงครองราชย์ตั้งแต่ พ.ศ. 1792 ถึงปีใดนั้นยังไม่ทราบอย่างแน่ชั.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พ่อขุนศรีนาวนำถุม

อขุนศรีนาวนำถุม หรือ พ่อขุนศรีนาวนำถม แรกปรากฏพระนามตามศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 ว่าเป็น พ่อขุนผู้รวบรวมบ้านเมืองในลุ่มแม่น้ำยม-น่าน และสถาปนาแคว้นสุโขทัย-ศรีสัชนาลัยขึ้นเป็นปึกแผ่น มีการตีความว่า อาจมีความเป็นไปได้ว่าสุโขทัยเริ่มมีการแยกตัวเป็นอิสระ จากอิทธิพลขอม-ละโว้ในรัชสมัยของพ่อขุนศรีนาวนำถุมนี้ อย่างไรก็ตามผู้ปกครองสุโขทัยต่อมา คือ ขอมสบาดโขลญลำพง อาจนำแคว้นสุโขทัยกลับเข้าอยู่ภายใต้อิทธิพลของขอม-ละโว้ อีกครั้งหนึ่ง จนกระทั่ง พ่อขุนผาเมือง ร่วมกับ พ่อขุนบางกลางหาว ร่วมกันทำสงครามได้ชัยชนะเหนือขอมสบาดโขลญลำพง จนสามารถนำแคว้นสุโขทัยออกจากอิทธิพลของขอม-ละโว้ อีกครั้ง หลักฐานตามศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 (จารึกวัดศรีชุม) ปรากฏเชื้อสายของราชวงศ์ของพ่อขุนศรีนาวนำถุมคือ.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ่อขุนศรีนาวนำถุม · ดูเพิ่มเติม »

พ่อขุนผาเมือง

อขุนผาเมือง เป็นบุคคลที่มีความสำคัญที่สุดผู้หนึ่งในการก่อตั้งอาณาจักรสุโขทัย เป็นผู้นำอพยพไพร่พลจากบริเวณลุ่มน้ำคาย เมืองเชียงทอง หรือล้านช้าง หลวงพระบาง นำไพร่พลมาตั้งเมืองใหม่ริมลำน้ำพุง ตั้งแต่บ้านหนองขี้ควาย มาจนถึงบริเวณวัดกู่แก้ว สถาปนาอาณาจักรขึ้นให้เรียกว่าเมืองลุ่ม อาณาจักรแห่งนี้เดิมอยู่ในเขตอิทธิพลของขอม นอกจากนั้นยังปรากฏหลักฐานในนิทานโบราณคดีของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพที่ทรงสันนิษฐานว่า เหตุจะเกิดเมืองหล่มเก่า เห็นจะเป็นด้วยพวกราษฎรที่หลบหนีภัยอันตรายในประเทศล้านช้าง มาตั้งซ่องมั่วสุมกันอยู่ก่อน แต่เป็นที่ดินดีมีน้ำบริบูรณ์เหมาะแก่การทำเรือกสวนไร่นาและเลี้ยงโคกระบือ จึงมีพวกตามมาอยู่มากขึ้นโดยลำดับจนเป็นเมือง แต่เป็นเมืองมาครั้งสุโขทัย มีปรากฏในหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงว่า เมืองลุ่ม ต่อมาภายหลังมาเรียกว่าเมือง หลุ่ม และยังเป็นอีกท่านที่กอบกู้แผ่นดินเอาไว้.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและพ่อขุนผาเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช

ระราชานุสาวรีย์พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช สวนสาธารณะศรีธรรมาโศกราช นครศรีธรรมราช ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช มีที่มาจากกษัตริย์ผู้สถาปนาอาณาจักรศรีธรรมราช (จังหวัดนครศรีธรรมราช) คือ พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช จากหลักฐานที่พบจดบันทึกไว้ในสมุดข่อยโบราณในหอสมุดแห่งชาติ มีชาวนครศรีธรรมราชท่านหนึ่งซึ่งสนใจศึกษาวิชาโหราศาสตร์ ได้ค้นคว้าพบดวงชะตาเมืองนครศรีธรรมราช สถาปนาขึ้นเมื่อวันพฤหัสบดี แรม 12 ค่ำ เดือน 3 ปีเถาะ จุลศักราช 649 ตรงกับพ.ศ. 1830 ซึ่งเป็นการสถาปนาหลังจากอาณาจักรศรีวิชัยได้ล่มสลายไปแล้ว เนื่องจากอาณาจักรศรีวิชัย มีอายุอยู่ในช่วง พ.ศ. 1000- 1800 พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช มีพระอนุชา 2 พระองค์ องค์แรกพระนาม พระเจ้าจันทรภาณุ และพระเจ้าพงษาสุระ พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช ทรงสถาปนา พระนามฐานันดรตำแหน่งพระมหาอุปราช ให้พระเจ้าจันทรภาณุ เป็นพระมหาอุปราช เมื่อพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช พระเชษฐาสวรรคต องค์รอง พระเจ้าจันทรภาณุ ขึ้นเสวยราชย์แทน เป็นที่น่าสังเกตว่า หลังจากพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรศรีธรรมาราช พระองค์ก่อนสวรรคต กษัตริย์พระองค์ต่อมาก็เป็นพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชแทน ดังเช่นเมื่อพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช พระองค์พี่สวรรคต พระเจ้าจันทรภาณุ ก็ได้รับพระนามว่า พระเจ้าศรีธรรมาราชโศกราช เช่นเดียวกัน แต่คนทั่วไป ก็มักจะเรียกจนติดปากว่า พระเจ้าจันทรภาณุ หรือในบางตำราใช้ พระเจ้าจันทรภาณุศรีธรรมาโศกราช ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช หรือราชวงศ์ปัทมวงศ์ เป็นราชวงศ์หนึ่ง ของสยามประเทศที่เคยมีอำนาจปกครอง อาณาจักรศรีธรรมาราช ซึ่งปกครองเมืองใหญ่ต่างๆ ในคาบสมุทรมลายู จำนวน 12 เมือง เรียกว่า เมืองสิบสองนักษัตร เมื่อสมัยสุโขทัยเรืองอำนาจ เป็นอาณาจักรไทยทางภาคเหนือและภาคกลาง อาณาจักรศรีธรรมาราช ก็มีอำนาจรุ่งเรืองทางภาคใต้ อาณาจักรศรีธรรมาราชเป็นมิตรที่ดีต่ออาณาจักรสุโขทัย มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมโดยเฉพาะพระพุทธศาสนา มีการส่งพระสงฆ์ไปยังอาณาจักรสุโขทัย เพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนา ปรากฏหลักฐานเป็นที่แน่ชัดว่า อาณาจักรศรีธรรมาราชยอมเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ ที่มีราชธานีกรุงอโยธยาศรีรามเทพนคร เริ่มสถาปนาราชวง..

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สุพรรณภูมิ

ราชวงศ์สุพรรณภูมิ หรือ ราชวงศ์สุวรรณภูมิ เป็นราชวงศ์ที่ 2 ที่ได้ครองอาณาจักรอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิมีอายุรวม 199 ปี.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและราชวงศ์สุพรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สุโขทัย

ราชวงศ์สุโขทัย เป็นราชวงศ์ที่ 3 ที่ปกครองกรุงศรีอยุธยา โดยสืบเชื้อสายจากกษัตริย์แห่งอาณาจักรสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง กรุงสุโขทัย ราชวงศ์สุโขทัยถูกสถาปนาขึ้นโดย สมเด็จพระมหาธรรมราชา ซึ่งเป็นพระราชโอรสในตำแหน่ง ขุนพิเรนทรเทพ ที่เชื่อว่าสืบเชื้อสายมาจากพ่อขุน หรือกษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัยแต่ดั้งเดิม เป็นราชวงศ์ที่ถูกผลัดเปลี่ยนขึ้นมาแทนที่ ราชวงศ์สุพรรณภูมิ หรือราชวงศ์สุวรรณภูมิ ที่สูญสิ้นไปหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า โดยที่ พระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์พม่าให้สถาปนาขุนพิเรนทรเทพ ซึ่งมีส่วนช่วยเหลือพระองค์ในการทำสงครามกับกรุงศรีอยุธยา ขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองกรุงศรีอยุธยา ภายใต้การเป็นเมืองขึ้นของพม่าต่อไป ราชวงศ์สุโขทัยมีอายุ 60 ปี รายพระนามของพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุโขทัย ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและราชวงศ์สุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์อู่ทอง

ราชวงศ์อู่ทอง หรือ ราชวงศ์ละโว้-อโยธยา หรือ ราชวงศ์เชียงราย ทั้งหมดล้วนเป็นชื่อสมมุติที่นักประวัติศาสตร์ใช้เรียกราชวงศ์แรกที่ปกครองกรุงศรีอยุธยา เพื่อความสะดวกในการศึกษาประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา โดยกำหนดเอาพระนามตามตำนานของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ที่มีพระนามเดิมว่า "พระเจ้าอู่ทอง" มาเป็นชื่อราชวงศ์ แต่ความเป็นมาของราชวงศ์ดังกล่าวยังคงคลุมเครืออยู.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและราชวงศ์อู่ทอง · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร

วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร ตั้งอยู่ที่ หมู่ 6 ตำบลศรีสัชนาลัย อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย สถานะของวัดในปัจจุบันเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร สังกัดมหานิก.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและวัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2

มเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 หรือ เจ้าสามพระยา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 7 แห่งอาณาจักรอยุธยา ครองราชย์ระหว่างปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

มเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 8 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ สวรรคต..

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

มเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1 พระมหากษัตริย์ไทยผู้สถาปนาราชวงศ์สุโขทัยสมัยอาณาจักรอ.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอินทราชา

มเด็จพระอินทราชา (เจ้านครอินทร์) หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีศรีนครินทราธิราช หรือ สมเด็จพระนครินทราธิราช เสด็จพระราชสมภพ เมื่อปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระอินทราชา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก

มเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระนามเดิม ทองดี เป็นสมเด็จพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องด้วยทรงเป็นสมเด็จพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ประสูติที่บ้านสะแกกรัง เมืองอุทัยธานี ทรงเป็นบุตรคนโตของพระยาราชนิกูล (ทองคำ) ปลัดทูลฉลองกรมมหาดไทย (บ้างก็ว่า กรมนา) ในรัชกาลสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ซึ่งสืบเชื้อสายมาจากเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) เสนาบดีพระคลังในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา ผู้ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นออกพระวิสุทธสุนทร และได้เดินทางไปถวายพระราชสาส์นของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ยังราชสำนักของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. 2228 สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ทรงรับราชการในกรมมหาดไทย รับบรรดาศักดิ์เป็นที่ หลวงพินิจอักษร และ พระอักษรสุนทรศาสตร์ ในตำแหน่งเสมียนตรากรมมหาดไทย มีหน้าที่ร่างพระราชสาส์นโต้ตอบกับหัวเมืองฝ่ายเหนือ และเก็บรักษาพระราชลัญจกร สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก เสกสมรสกับสองพี่น้องบุตรีของคหบดีชาวจีน คนพี่ชื่อว่า ดาวเรือง (หรือ หยก) ส่วนคนน้อง ไม่ทราบนาม ตั้งบ้านเรือนอยู่ภายในกำแพงพระนคร ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป้อมเพชร ซึ่งเป็นย่านอาศัยของชาวจีน.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรละโว้

อาณาจักรละโว้ บ้างเรียก ลวรัฐ หรือ ละโว้โยทิยา เป็นอาณาจักรโบราณในมณฑลอำนาจแห่งหนึ่งในอดีต ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของลุ่มน้ำเจ้าพระยา สถาปนาขึ้นราวปลายยุคทวารวดี แรกเริ่มมีศูนย์กลางอำนาจอยู่ที่ลวปุระ (ปัจจุบันคือเมืองลพบุรี) ต่อมาย้ายไปที่อโยธยา (ปัจจุบันคือเทศบาลเมืองอโยธยา) ซึ่งต่อมาได้ถูกสถาปนาเป็นอาณาจักรอ.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและอาณาจักรละโว้ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรตามพรลิงค์

อาณาจักรตามพรลิงค์ (สันสกฤต: ตามฺพฺรลิงฺค; ताम्ब्रलिङ्ग) ซึ่งต่อมาได้กลายเป็น อาณาจักรนครศรีธรรมราช นั้น เป็นอาณาจักรโบราณที่มีมาตั้งแต่ก่อนสมัยพุทธศตวรรษที่ 7 มีศูนย์กลางอยู่ที่นครศรีธรรมราชในปัจจุบัน (อาจจะเป็นบริเวณบ้านท่าเรือ หรือบ้านพระเวียง) อยู่ทางด้านเหนือของอาณาจักรลังกาสุกะ (บริเวณปัตตานี) มีอาณาเขตทางตะวันออก และตะวันตกจรดทะเลอันดามันถึงบริเวณที่เรียกว่าทะเลนอก ซึ่งเป็นบริเวณจังหวัดกระบี่ในปัจจุบัน คำว่า "ตามพ" เป็นภาษาบาลี แปลว่า ทองแดง ส่วน "ลิงค์" เป็นเครื่องหมายบอกเพศ เขียนเป็นอักษรภาษาอังกฤษว่า Tambalinga หรือ Tanmaling หรือ Tamballinggam จีนเรียก ตันเหมยหลิง หรือโพ-ลิง หรือโฮลิง (แปลว่าหัวแดง) บางทีเรียกว่า เชียะโท้ว (แปลว่าดินแดง) อาณาจักรตามพรลิงค์ มีกษัตริย์สำคัญคือ พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช และ พระเจ้าจันทรภาณุ อาณาจักรตามพรลิงค์นี้เป็นเส้นทางการเผยแพร่พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ ไปยังอาณาจักรสุโขทัยและดินแดนทั่วแหลมมลายู เนื่องจากอาณาจักรตามพรลิงค์กับศรีลังกามีความสัมพันธ์แบบบ้านพี่เมืองน้องมาแต่สมัยโบราณ.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและอาณาจักรตามพรลิงค์ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวศรีจุฬาลักษณ์

ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นชื่อตำแหน่งพระสนม ในสมัยอยุธยาตำแหน่งนี้เป็นเชื้อพระวงศ์จากราชวงศ์พระร่วง อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและท้าวศรีจุฬาลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นางเสือง

ทวรูปพระแม่ย่า ที่แท้จริงแล้วเป็นเทวรูปของพระนารายณ์ นางเสือง เป็นพระอัครมเหสีในพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ และเป็นพระราชมารดาของพระมหากษัตริย์อีกสองพระองค์คือ พ่อขุนบานเมืองและพ่อขุนรามคำแหง แต่อย่างไรก็ตามก็ยังมีความกังขาเกี่ยวกับตัวตนของพระนางว่ามีจริงหรือเป็นเพียงเรื่องที่แต่งขึ้นในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและนางเสือง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาวรวงษาธิราช (ขุนทอง)

้าพระยาวรวงษาธิราช นามเดิม ขุนทอง เป็นบุตรชายของเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน).

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและเจ้าพระยาวรวงษาธิราช (ขุนทอง) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน)

้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) (พ.ศ. 2176–2242) เป็นข้าราชการในอาณาจักรอยุธยาสมัยสมเด็จพระนารายณ์ เป็นเอกอัครราชทูตคนสำคัญที่เดินทางไปเจริญสัมพันธไมตรีกับราชสำนักฝรั่งเศสเมื่อ..

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก)

้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) เป็นบุตรชายคนโตของเจ้าแม่วัดดุสิต (พระนมในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช) กับ ขุนนางเชื้อสายมอญ เกิดในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง มีน้องชาย 1 คน คือ เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) และน้องสาว 1 คน ชื่อ แช่ม หรือ ฉ่ำ เจ้าพระยาโกษาธิบดีและน้องชายต่างเป็นข้าหลวงคนสำคัญของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กล่าวคือ เมื่อกลุ่มขุนนางอาวุโสซึ่งเป็นกลุ่มที่ให้การช่วยเหลือให้สมเด็จพระนารายณ์ได้ขึ้นครองราชย์หมดอำนาจลง กลุ่มขุนนางหนุ่มซึ่งนำโดยท่านและน้องชายจึงขึ้นมามีอำนาจแทน ท่านได้เป็นแม่ทัพ ใน ราชการสงคราม หลายครั้งในต้นแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เจ้าพระยาโกษาธิบดีถึงแก่อสัญกรรมในปี..

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและเจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแม่วัดดุสิต

้าแม่วัดดุสิต เป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรี เป็นพระนมชั้นเอกในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งได้รับพระราชทานตำหนักริมวัดดุสิดารามเป็นที่อาศัย จึงเป็นที่มาของคำว่าเจ้าแม่ดุสิต มีข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับชาติกำเนิดของเจ้าแม่วัดดุสิตมีมากมาย แต่ไม่ปรากฏหลักฐานอย่างแน่ชัดว่าเจ้าแม่วัดดุสิตสืบเชื้อสายมาจากผู้ใด หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้กล่าวไว้ในหนังสือ โครงกระดูกในตู้ โดยอ้างจากหนังสือราชินิกุลบางช้างไว้ว่า "เจ้าแม่วัดดุสิตมีศักดิ์เป็นหม่อมเจ้าในราชวงศ์พระมหาธรรมราชา ซึ่งสืบเชื้อสายมาแต่ราชวงศ์พระร่วงกรุงสุโขทัย" นอกจากนี้ ยังมีการกล่าวถึงบรรพบุรุษของเจ้าแม่วัดดุสิตไว้ว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงได้ฟังคำบอกเล่าจากพระวันรัตน์ (ฉิม) ว่าเจ้าฟ้าหญิงรัศมีและเจ้าฟ้าจีกเคยตรัสเล่าว่า สมเด็จพระเอกาทศรถได้อภิเษกสมรสกับธิดาของพระยาเกียรติ์ (ขุนนางชาวมอญที่ติดตามสมเด็จพระนเรศวรมหาราช) มีธิดาคือเจ้าครอกบัว (หม่อมเจ้าบัว) และเจ้าครอกอำภัย (หม่อมเจ้าอำไพ) แต่ในหนังสือนี้ยังมีข้อความที่คลุมเครือระหว่างเจ้าครอกบัวและเจ้าครอกอำไพอยู่มาก ซึ่งทำให้สับสนว่า เจ้าแม่วัดดุสิตมีชื่อเดิมว่าอย่างไรกันแน่ บางแห่งกล่าวว่าชื่อ "หม่อมเจ้าหญิงบัว" มีเชื้อสายพระร่วงสุโขทัย บางแห่งก็กล่าวว่าชื่อ "หม่อมเจ้าหญิงอำไพ" เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเอกาทศรถ อย่างไรก็ตาม หลักฐานหลายแห่งก็ไม่ได้บ่งบอกว่าสายตระกูลของเจ้าแม่วัดดุสิตนั้นสืบเชื้อสายมาจากเชื้อพระวงศ์สายไหนเช่นกัน แต่จากเอกสารพงศาวดารไทยหลายฉบับและของต่างประเทศเป็นที่ยืนยันว่าเจ้าแม่วัดดุสิตนั้นมีตัวตนอย่างแน่นอน เจ้าแม่วัดดุสิตสมรสกับขุนนางเชื้อสายมอญมีบุตรธิดา 3 คน คือ.

ใหม่!!: ราชวงศ์พระร่วงและเจ้าแม่วัดดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วงศ์พระร่วงพระราชวงศ์พระร่วง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »