เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ราชวงศ์พระร่วง

ดัชนี ราชวงศ์พระร่วง

ราชวงศ์พระร่วง เป็นราชวงศ์แรกและราชวงศ์เดียวที่ปกครองอาณาจักรสุโขทัย หลักฐานจารึกปู่สบถหลานระหว่างกษัตริย์สุโขทัยและน่าน แล้วมีการลำดับพระนามพระมหากษัตริย์ของราชวงศ์สุโขทัยตั้งแต่บรรพบุรุษ ส่วนหลักฐานทางประวัติศาสตร์มักพบว่าผู้คนภายในเขตสุโขทัย หรือบ้านเมืองแว่นแคว้นอื่นมักเรียกพระมหากษัตริย์ของสุโขทัยในนามว่า "พระร่วง" ซึ่งเป็นนามที่รู้จักไปอย่างกว้างขวางของคนกลุ่มไทยในสมัยโบราณ เชื้อสายของราชวงศ์พระร่วงนี้สืบทอดมายาวนานในการปกครองสมัยสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง มีการสานสายสัมพันธ์กับราชวงศ์อู่ทองแห่งอาณาจักรละโว้ และราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราชแห่งอาณาจักรตามพรลิงก์ มาถึงสมัยอยุธยา ราชวงศ์สุพรรณภูมิรวมถึงราชวงศ์สุโขทัยแห่งอาณาจักรอยุธยา ยังปรากฏอยู่ผ่านความสัมพันธ์ทางเครือญาติระหว่างอาณาจักร สัญลักษณ์หรืออนุสรณ์อันศักดิ์สิทธิ์ของราชวงศ์พระร่วงที่สืบทอดมาถึงปัจจุบัน คือ รูปพระร่วงพระลือ ในซุ้มพระร่วงพระลือที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรวิหาร อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย ตามความเชื่อของคนรุ่นเก่าแก่ในจังหวัดสุโขทัย ระบุว่า ที่นี่คือนิวาสถานดั้งเดิม หรือต้นกำเนิดของราชวงศ์พระร่วง.

สารบัญ

  1. 53 ความสัมพันธ์: ชาวไวกิงพ.ศ. 1792พญาไสสงครามพระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 2พระมหาธรรมราชาที่ 3พระมหาธรรมราชาที่ 4พระมหาเทวีแห่งสุโขทัย (พระชายาในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1)พระยายุทธิษเฐียรพระยารามแห่งสุโขทัยพระยาศรีเทพาหูราชพระยางั่วนำถุมพระยาเลอไทยพระราชวังจันทน์พระร่วงพระศรีศากยมุนีพระอินทร์ (แก้ความกำกวม)พระนางสาขาพระนางสิริยศวดีเทวีพ่อขุนบานเมืองพ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนศรีอินทราทิตย์มหาอุปราช (จัน)ราชวงศ์ราชวงศ์อู่ทองรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทยวรรณกรรมไทยวัดศรีชุม (จังหวัดสุโขทัย)สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระมหาจักรพรรดิสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสมเด็จพระรัษฎาธิราชสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์สมเด็จพระอินทราชาสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระเอกาทศรถสุริโยไทสนมเอกสี่ทิศอาณาจักรสุโขทัยอำเภอชาติตระการอำเภอสวรรคโลกจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จังหวัดสุโขทัยท้าวศรีสุดาจันทร์ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ขอมสบาดโขลญลำพงขุนวรวงศาธิราชณ บางช้าง... ขยายดัชนี (3 มากกว่า) »

ชาวไวกิง

แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานสแกนดิเนเวียของชาวไวกิง สีแดงเข้ม-ระว่าง ค.ศ.701-800, สีแดง-ระหว่าง ค.ศ. 801-900, สีส้มเข้ม-ระว่าง ค.ศ.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและชาวไวกิง

พ.ศ. 1792

ทธศักราช 1792 ใกล้เคียงกั.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพ.ศ. 1792

พญาไสสงคราม

ญาไสสงคราม เป็นพระอนุชาของพญาเลอไท ทรงปกครองกรุงสุโขทัยเป็นเวลาสั้นๆ หลังพ่อขุนรามคำแหงสวรรคต จนกระทั่งพญาเลอไทขึ้นครองร.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพญาไสสงคราม

พระมหาธรรมราชาที่ 1

ระมหาธรรมราชาที่ 1 หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีสุริยพงศ์รามมหาราชาธิราช, พระบาทกมรเตงอัญฦๅไทยราช, พระยาลือไทย หรือ พระยาลิไทย (ครองราชย์ พ.ศ.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระมหาธรรมราชาที่ 1

พระมหาธรรมราชาที่ 2

ระมหาธรรมราชาที่ 2 หรือ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัย ครองราชย์ระหว่าง..

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระมหาธรรมราชาที่ 2

พระมหาธรรมราชาที่ 3

ระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไทย)นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 40 เป็นพระมหากษัตริย์ไทยสมัยอาณาจักรสุโขทัย ครองราชย์ตั้งแต่ปี..

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระมหาธรรมราชาที่ 3

พระมหาธรรมราชาที่ 4

ระมหาธรรมราชาที่ 4 หรือ บรมปาล หรือ พระยาบาลเมือง เป็นพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาพระองค์หนึ่ง ได้ครองเมืองพิษณุโลกในระหว่างปี..

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระมหาธรรมราชาที่ 4

พระมหาเทวีแห่งสุโขทัย (พระชายาในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1)

มหาเทวี เป็นฝ่ายในที่ไม่ปรากฏพระนามแห่งอาณาจักรสุโขทัยพระองค์หนึ่ง ปรากฏเพียงว่าเป็นพระขนิษฐาในพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลือไทย) และเป็นพระชายาพระองค์หนึ่งในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 แห่งกรุงศรีอยุธยา โดยพระองค์ได้ขึ้นครองเมืองสุโขทัยระยะหนึ่งหลังต่อจากพระมหาธรรมราชาที่ 1 ผู้เป็นพระเชษฐา หลังพระองค์เสด็จสวรรคตพระราชอำนาจจึงตกอยู่กับพระศรีเทพาหูราช พระราชโอร.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระมหาเทวีแห่งสุโขทัย (พระชายาในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1)

พระยายุทธิษเฐียร

ระยายุทธิษฐิระ หรือ พระยายุทธิษเฐียร ทรงเป็นเจ้านายเชื้อสายราชวงศ์พระร่วง เป็นพระร่วงเจ้าสุโขทัยในปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระยายุทธิษเฐียร

พระยารามแห่งสุโขทัย

ระญาราม เป็นพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาที่ 2นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 45 แห่งอาณาจักรสุโขทัย เชื่อว่าพระนามของพระองค์ตั้งตามพระนามของพ่อขุนรามคำแหงมหาร.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระยารามแห่งสุโขทัย

พระยาศรีเทพาหูราช

ระศรีเทพาหูราช หรือ พระศรีราชโอรส พระราชวงศ์เชื้อสายราชวงศ์สุพรรณภูมิครึ่งราชวงศ์พระร่วงที่ได้ปกครองกรุงสุโขทัยในช่วงเวลาหนึ่ง เชื่อว่าพระองค์เป็นพระราชบิดาของสมเด็จพระนครินทราธิราชหรือเจ้านครอินทร์ แต่นักประวัติศาสตร์บางท่านก็เชื่อว่าพระองค์คือสมเด็จพระนครินทราธิร.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระยาศรีเทพาหูราช

พระยางั่วนำถุม

ระยางั่วนำถุม เป็นพระมหากษัตริย์สุโขทัยลำดับที่ 5 (พ.ศ. 1866 - พ.ศ. 1890) เป็นพระราชโอรสพ่อขุนบานเมือง สันนิษฐานกันว่าพ่อขุนศรีอินทราทิตย์คงอภิเษกสมรสกับพระธิดาของพ่อขุนศรีนาวนำถุม เหตุที่สันนิษฐานเช่นนั้นเนื่องจากเป็นธรรมเนียมของคนสมัยนั้น ที่นิยมเอาชื่อบรรพบุรุษมาตั้งเป็นชื่อหลาน พระยางั่วนำถุมเป็นกษัตริย์ครองเมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัยมาก่อนตามจารึกหลักที่ 15 แต่ขึ้นเป็นกษัตริย์ต่อจากพระยาเลอไทยซึ่งเป็นพระบิดาของพระยาลิไทยกษัตริย์ลำดับที่ 6 เรื่องราวของพระยางั่วนำถุมยังคลุมเครือเนื่องจากมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไม่มาก.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระยางั่วนำถุม

พระยาเลอไทย

ระยาเลอไทย เป็นพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยอาณาจักรสุโขทัย ครองราชย์ระหว่างปี..

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระยาเลอไทย

พระราชวังจันทน์

ระราชวังจันทน์ ตั้งอยู่ติดกับ ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ 3 ถนนวังจันทน์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เป็นที่ตั้งศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในอดีตยังเคยเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ปัจจุบัน กรมศิลปากร ได้เข้ามาทำการบูรณะค้นหาแนวเขตพระราชวังจันทน์ ระยะที่ 1 เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระราชวังจันทน์

พระร่วง

ระร่วง พระยาร่วง หรือ พญาร่วง โดย ร่วง เป็นคำไทโบราณ แปลว่า รุ่ง (โรจน์) สามารถหมายถึง.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระร่วง

พระศรีศากยมุนี

พระศรีศากยมุนี เป็นพระประธานในพระวิหารหลวงวัดสุทัศนเทพวราราม หล่อด้วยโลหะสัมฤทธิ์ หน้าตักกว้าง 3 วา 1 คืบ นับเป็นพระพุทธรูปหล่อที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ในยุคก่อน 25 พุทธศตวรรษ เดิมเป็นพระประธานอยู่ในพระวิหารหลวง วัดมหาธาตุ สุโขทัย สร้างสมัยราชวงศ์พระร่วงแห่งกรุงสุโขทัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ให้อัญเชิญมายังกรุงเทพ ฯ ได้มีพระราชดำริจะสร้างพระอาราม ที่มีพระวิหารใหญ่อย่างวัดพนัญเชิงที่อยุธยา โดยประดิษฐานไว้กลางพระนคร เมื่อชลอพระศรีศากยมุนีมาถึงกรุงเทพ ฯ แล้วให้ประทับท่าสมโภช 7 วัน แล้วจึงทรงชักเลื่อนองค์พระทางสถลมารค และพระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินตามขบวนแห่พระในรัชสมัยของพระองค์ ทำได้เพียงอัญเชิญองค์พระขึ้นตั้งไว้ ตัววิหารลงมือสร้างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ตรงใต้ฐานที่ผ้าทิพย์บรรจุพระบรมราชสรีรางคารของ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (รัชกาลที่ 8) ส่วนด้านหลังบัลลังก์พระพุทธรูปมีแผ่นศิลาสลัก เป็นศิลปะแบบทวารวดี เป็นรูปสลักปิดทอง ปางยมกปาฏิหาริย์ และ ปางประทานเทศนาในสวรรค์ เป็นของเก่าและหาดูได้ยาก เข้าใจว่าจะมีอยู่เพียงชิ้นเดียวในโลก หมวดหมู่:พระพุทธรูปสำคัญในประเทศไทย หมวดหมู่:พระพุทธรูป หมวดหมู่:พระพุทธรูปศิลปะสุโขทัย.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระศรีศากยมุนี

พระอินทร์ (แก้ความกำกวม)

ระอินทร์ อาจหมายถึง.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระอินทร์ (แก้ความกำกวม)

พระนางสาขา

ระศรีธรรมราชมารดา เป็นพระอัครชายาในพระมหาธรรมราชาที่ 2 และพระราชมารดาในพระมหาธรรมราชาที่ 3.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระนางสาขา

พระนางสิริยศวดีเทวี

นางโป่งน้อย หรือ สิริยศวดีเทวี (ปรากฏในชินกาลมาลีปกรณ์), อโนชาเทวี (ปรากฏในพับสาวัดสันป่าเลียง), ศรีทิพ หรือ ทิพทอง (ปรากฏในโคลงนิราศหริภุญชัย), สมเด็จบพิตร พระมหาเทวีเจ้าอยู่หัว (ปรากฏในจารึกวัดอุทุมพรอาราม) และ สมเด็จบพิตร พระมหาเทวีศรีรัตนจักรวรรดิ (จารึกวัดพระคำ) เป็นเจ้านายฝ่ายในของอาณาจักรล้านนาที่มีบทบาททางการเมืองสูงและยาวนาน พระองค์เป็นหนึ่งในพระมเหสีในพญายอดเชียงราย เป็นมหาเทวีในพระเมืองแก้ว และเป็นมหาเทวีเจ้าตนย่าผู้ทรงอิทธิพลในรัชกาลของพระเมืองเกษเกล้.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพระนางสิริยศวดีเทวี

พ่อขุนบานเมือง

อขุนบานเมือง หรือ ขุนปาลราช เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ในพ่อขุนศรีอินทราทิตย์และพระนางเสือง และเป็นสมเด็จพระเชษฐาธิราชในพ่อขุนรามคำแหงมหาราช เสวยราชสมบัติในอาณาจักรสุโขทัยหลังจากพ่อขุนศรีอินทราทิตย์เสด็จสวรรคต (1821) และครองราชย์อยู่จนถึง..

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพ่อขุนบานเมือง

พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

อขุนรามคำแหงมหาราช หรือ พญาร่วง หรือ พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งราชอาณาจักรสุโขทัย เสวยราชย์ประมาณ พ.ศ.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพ่อขุนรามคำแหงมหาราช

พ่อขุนศรีอินทราทิตย์

อขุนศรีอินทราทิตย์ หรือพระนามเต็ม กมรเตงอัญศรีอินทรบดินทราทิตย์ พระนามเดิม "พ่อขุนบางกลางหาว" เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วง ตามประวัติศาสตร์ไทย ทรงครองราชย์ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและพ่อขุนศรีอินทราทิตย์

มหาอุปราช (จัน)

มหาอุปราช (จัน) เป็นพระมหาอุปราชในรัชกาลขุนวรวงศาธิราช ทรงได้รับการอุปราชาภิเษกได้เพียงไม่กี่วันก็ถูกลอบปลงพระชนม.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและมหาอุปราช (จัน)

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและราชวงศ์

ราชวงศ์อู่ทอง

ราชวงศ์อู่ทอง หรือ ราชวงศ์ละโว้-อโยธยา หรือ ราชวงศ์เชียงราย ทั้งหมดล้วนเป็นชื่อสมมุติที่นักประวัติศาสตร์ใช้เรียกราชวงศ์แรกที่ปกครองกรุงศรีอยุธยา เพื่อความสะดวกในการศึกษาประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา โดยกำหนดเอาพระนามตามตำนานของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ที่มีพระนามเดิมว่า "พระเจ้าอู่ทอง" มาเป็นชื่อราชวงศ์ แต่ความเป็นมาของราชวงศ์ดังกล่าวยังคงคลุมเครืออยู.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและราชวงศ์อู่ทอง

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไท.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

วรรณกรรมไทย

วรรณคดีไทย คือ วรรณกรรมทุกประเภทไม่ว่าในลักษณะร้อยแก้ว หรือร้อยกรองที่ประพันธ์ขึ้นเป็นภาษาไทย โดยมีเอกลักษณ์ของการใช้ภาษาแบบไทย เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของการประดิษฐ์สร้างสรรค์วรรณคดี และเป็นสาเหตุประการสำคัญที่ทำให้ลักษณะวรรณคดีของชาติในแต่ละยุคแตกต่างกัน วรรณคดีไทยที่ปรากฎขึ้นในสมัยสุโขทัยเมื่อพุทธศตวรรษที่ 19 มีลักษณะที่สอดคล้องกับเหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นตอนที่ชาวไทย หรือชาวสยาม ได้เริ่มพัฒนาภาษาของตนขึ้นอย่างมีเอกลักษณ์ แตกต่างไปจากภาษาของชนที่พูดภาษาไท-กะไดเผ่าอื่น โดยเริ่มมีหลักฐานปรากฎชัดราวสมัยที่กรุงสุโขทัยเป็นราชธานี และเริ่มการปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์พระร่วง คนไทยกำลังแสวงหาลักษณะเฉพาะของชาติ วรรณคดีสุโขทัยก็ได้สะท้อนความจริงนี้ และได้บันทึกถึงสิ่งใหม่ ๆ ที่เป็นต้นเค้าของลักษณะไทย เช่น การบันทึกในศิลาจารึกเรื่องการประดิษฐ์ตัวอักษรไทย โดยพระเจ้ารามคำแหงมหาราช กษัตริย์องค์ที่สาม เมื่อ..

ดู ราชวงศ์พระร่วงและวรรณกรรมไทย

วัดศรีชุม (จังหวัดสุโขทัย)

ระอจนะ วัดศรีชุม เป็นที่เลื่องลือว่ามีเอกลักษณ์และมนต์เสนห์เฉพาะตัว วัดศรีชุม เป็นโบราณสถานในเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ตัววัดเป็นโบราณสถานตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ นอกกำแพงเมืองวัดนี้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยองค์ใหญ่ซึ่งมีนามว่า "พระอจนะ" องค์พระพุทธรูปประดิษฐานอยู่ในมณฑป พระพุทธอจนะ เป็นที่เลื่องลือถึงความศักดิ์สิทธิ์และมีมนต์เสน่ห์และเอกลักษณ์ชวนให้นักท่องเที่ยวมาเที่ยวชมและสักการะอย่างไม่ขาดสาย ในปัจจุบันทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ไม่ห่างจากตัวโบราณสถานนัก มีวัดสร้างใหม่มีพระภิกษุสงฆ์จำพรรษา ใช้ชื่อว่าวัดศรีชุมเช่นเดียวกัน.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและวัดศรีชุม (จังหวัดสุโขทัย)

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2

มเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 หรือ เจ้าสามพระยา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 7 แห่งอาณาจักรอยุธยา ครองราชย์ระหว่างปี..

ดู ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

มเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 8 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ สวรรคต..

ดู ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

มเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า (พระนามเดิม พระเทียรราชา) พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีบุญญาธิการมากเพราะทรงมีช้างเผือกในครอบครองถึง 7 ช้าง จนได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก ในรัชกาลนี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองจากคราวขุนวรวงศาธิราช สภาพบ้านเมืองไม่ได้สงบสุขเท่าที่ควร มีเหตุการณ์ความไม่สงบทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะสงครามกับกรุงหงสาวดี.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

มเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1 พระมหากษัตริย์ไทยผู้สถาปนาราชวงศ์สุโขทัยสมัยอาณาจักรอ.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

สมเด็จพระรัษฎาธิราช

มเด็จพระรัษฎาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 12 แห่งอาณาจักรอยุธยานามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 89 เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (สมเด็จพระบรมราชาหน่อพุทธางกูร).

ดู ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระรัษฎาธิราช

สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์

มเด็จพระศรีเสาวภาคย์นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 129 มีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าศรีเสาวภาคย์ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 20 แห่งอาณาจักรอยุธยา และรัชกาลที่ 4 ในราชวงศ์สุโขทัย เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระเอกาทศรถ และมีพระเชษฐาที่ประสูติร่วมพระราชมารดา ได้แก่ เจ้าฟ้าสุทัศน์ ซึ่งดำรงตำแหน่งพระมหาอุปราช พระองค์ประชวรพระยอดจนเสียพระเนตรไปข้างหนึ่ง และมีพระบุคลิกค่อนข้างอ่อนแอและไม่สนพระทัยเกี่ยวกับราชการบ้านเมือง หลังจากที่สมเด็จพระเอกาทศรถเสด็จสวรรคตลง พระองค์ได้รับทูลเชิญให้ขึ้นครองราชย์ เมื่อปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์

สมเด็จพระอินทราชา

มเด็จพระอินทราชา (เจ้านครอินทร์) หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีศรีนครินทราธิราช หรือ สมเด็จพระนครินทราธิราช เสด็จพระราชสมภพ เมื่อปี..

ดู ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระอินทราชา

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ดู ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

สมเด็จพระเอกาทศรถ

มเด็จพระเอกาทศรถ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุโขทั.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและสมเด็จพระเอกาทศรถ

สุริโยไท

ริโยไท เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ เน้นถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตของตัวละครเอก คือ พระสุริโยไท พระมเหสีของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอ.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและสุริโยไท

สนมเอกสี่ทิศ

'''ท้าวศรีสุดาจันทร์''' ในภาพยนตร์เรื่อง ''สุริโยทัย'' (2544) รับบทโดยสิริวิมล เจริญปุระ ในพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง กำหนดไว้ว่า "สนมเอก" ทั้งสี่คนของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้แก่ อินทรสุเรนทร, ศรีสุดาจันทร์, อินทรเทวี และศรีจุฬาลักษณ์ ซึ่งสตรีทั้งหมดจะต้องสืบเชื้อสายมาจากเจ้านายที่ปกครองแว่นแคว้นที่รวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยาแล้ว จึงเรียกว่า สนมเอกสี่ทิศสุจิตต์ วงษ์เท.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและสนมเอกสี่ทิศ

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและอาณาจักรสุโขทัย

อำเภอชาติตระการ

อำเภอชาติตระการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและอำเภอชาติตระการ

อำเภอสวรรคโลก

อำเภอสวรรคโลก เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดสุโขทั.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและอำเภอสวรรคโลก

จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันศักดิ์สิทธิ์ จักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Federico II del Sacro Romano Impero; Friedrich II 26 ธันวาคม พ.ศ.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

จังหวัดสุโขทัย

ทัย (ᩈᩩᨠᩮ᩠ᨡᩣᨴᩱ᩠ᨿ, เดิมสะกดว่า ศุโขไทย) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ).

ดู ราชวงศ์พระร่วงและจังหวัดสุโขทัย

ท้าวศรีสุดาจันทร์

ท้าวศรีสุดาจันทร์ เป็นตำแหน่งพระสนมเอกตำแหน่งหนึ่งของพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา ซึ่งมาจากราชวงศ์อู่ทอง อีก 3 ตำแหน่งได้แก่ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์จากราชวงศ์พระร่วง ท้าวอินทรสุเรนทรจากราชวงศ์สุพรรณภูมิ และท้าวอินทรเทวีจากราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช โดยใช้เป็นการแสดงพระราชอำนาจเหนือดินแดนสยามทั้งมวล หากพระชายาองค์ใดมีประสูติกาลพระราชโอรสที่จะสืบราชสมบัติ พระชายาองค์นั้นก็จะมีฐานะที่สูงกว่าพระชายาอื่นอีก 3 พระองค์พิเศษ เจียจันทร์พงษ.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและท้าวศรีสุดาจันทร์

ท้าวศรีจุฬาลักษณ์

ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นชื่อตำแหน่งพระสนม ในสมัยอยุธยาตำแหน่งนี้เป็นเชื้อพระวงศ์จากราชวงศ์พระร่วง อาจหมายถึง.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและท้าวศรีจุฬาลักษณ์

ขอมสบาดโขลญลำพง

อมสบาดโขลญลำพง ตามเรื่องราวในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 กล่าวว่าเป็นนายทหารขอมที่ได้นำกำลังเข้ายึดเมืองสุโขทัย ภายหลังพ่อขุนศรีนาวนำถุมสิ้นพระชนม์ โดยระยะเวลาการได้อำนาจการปกครองเมืองสุโขทัยของขอมสบาดโขลญลำพงยังไม่เป็นที่ชัดเจนในปัจจุบัน อาจเป็นไปได้ว่าขอมสบาดโขลญลำพงมีความสัมพันธ์เป็นเครือญาติของตระกูลพ่อขุนศรีนาวนำถม แต่ยอมรับอำนาจอิทธิพลขอม-ละโว้ จนกระทั่งถูกพ่อขุนบางกลางหาว เจ้าเมืองบางยางและพ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราด ซึ่งเป็นสหายสนิทกันและมีสายสัมพันธ์ทางเครือญาติได้ร่วมกันยึดอำนาจการปกครองดินแดนสุโขทัยได้ในที่สุด ต่อมาพ่อขุนผาเมืองได้นำกองทัพออกจากสุโขทัย เพื่อให้พ่อขุนบางกลางหาวได้ขึ้นครองราชเป็นกษัตริย์สุโขทัยและเฉลิมพระนามเป็น "ศรีอินทรบดินทราทิตย์" ให้เป็นเกียรติแก่พ่อขุนบางกลางหาว พร้อมทั้งพระแสงขรรค์ชัยศรี แต่สุดท้ายพ่อขุนบางกลางหาวทรงใช้พระนามว่า "พ่อขุนศรีอินทราทิตย์" ซึ่งเป็นต้นราชวงศ์พระร่วงแห่งกรุงสุโขทัย ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ ได้ให้ความหมายของคำว่า "ขอมสบาด" แปลว่าเขมรดง ส่วน "โขลญลำพง" คือคำสำหรับเรียกคนทำงานประจำเทวสถานหรือวัดวาอาราม นอกจากนี้เรื่องราวเกี่ยวกับขอมสบาดโขลญลำพงยังคงเป็นที่คลุมเครือเนื่องจากมีการกล่าวถึงชื่อนี้เฉพาะในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 เป็นหลักฐานอ้างอิงเพียงชิ้นเดียว (รวมทั้งชื่อของพ่อขุนศรีนาวนำถมและพ่อขุนผาเมืองด้วย).

ดู ราชวงศ์พระร่วงและขอมสบาดโขลญลำพง

ขุนวรวงศาธิราช

นวรวงศาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์ไทยบางท่านไม่นับว่าพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์เพราะถือว่าเป็นกบฏสมคบกับนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์แย่งชิงราชบัลลังก์จากพระยอดฟ้า อย่างไรก็ตาม ในพงศาวดารได้ระบุว่าพระองค์ได้ผ่านพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและขุนวรวงศาธิราช

ณ บางช้าง

ราชินีกุล ณ บางช้าง เป็นสกุลซึ่งเป็นพระญาติวงศ์ในสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และ ยังเป็นสกุลที่สืบเชื้อสายมาจากพระมหากษัตริย์ของราชวงศ์พระร่วง แห่งอาณาจักรสุโขทัย และ ราชวงศ์สุโขทัย แห่งอาณาจักรอยุธยา สกุล ณ บางช้าง ยังเป็นราชินิกุลแห่งราชวงศ์จักรี ที่เป็นวงศ์หนึ่งในราชินิกุลบางช้างประกอบด้วย 5 สกุล ได้แก่ ชูโต, แสง-ชูโต, สวัสดิ-ชูโต, บุนนาค และ ณ บางช้าง พระชนกทองและพระชนนีสั้นทรงเป็นพระชนกและพระชนนีในสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี มีบุตร 10 อง.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและณ บางช้าง

คริสต์ทศวรรษ 1240

..

ดู ราชวงศ์พระร่วงและคริสต์ทศวรรษ 1240

เจ้าฟ้าสุทัศน์

้าฟ้าสุทัศน์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเอกาทศรถที่ประสูติแต่สมเด็จพระอัครมเหสี พระองค์มีพระอนุชาร่วมพระมารดา 1 พระองค์ คือ เจ้าฟ้าศรีเสาวภาคย์ สมเด็จพระเอกาทศรถทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นพระมหาอุปราช หลังจากนั้น เจ้าฟ้าสุทัศน์กราบบังคมทูลสมเด็จพระเอกาทศรถว่า ขอพิจารณาคนออก สมเด็จพระเอกาทศรสจึงตรัสว่า "จะเป็นขบถหรือ" เป็นเหตุให้เจ้าฟ้าสุทัศน์เกิดความเกรงพระราชอาญาจากสมเด็จพระราชบิดา เมื่อพระองค์ออกจากที่เฝ้าและเสด็จมายังพระราชวังบวรสถานมงคลแล้ว พระองค์ได้เสวยยาพิษและเสด็จสวรรคตลง ความทราบถึงสมเด็จพระเอกาทศรถทำให้พระองค์ทรงพระโทมนัสเป็นอันมากและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดงานพระราชทานเพลิงพระศพตามพระอิสริยยศพระมหาอุปราช ซึ่งพระองค์ทรงตั้งพระทัยบำเพ็ญทานกุศลเป็นอเนกประการ.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและเจ้าฟ้าสุทัศน์

เจ้าแม่วัดดุสิต

้าแม่วัดดุสิต เป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรี เป็นพระนมชั้นเอกในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งได้รับพระราชทานตำหนักริมวัดดุสิดารามเป็นที่อาศัย จึงเป็นที่มาของคำว่าเจ้าแม่ดุสิต มีข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับชาติกำเนิดของเจ้าแม่วัดดุสิตมีมากมาย แต่ไม่ปรากฏหลักฐานอย่างแน่ชัดว่าเจ้าแม่วัดดุสิตสืบเชื้อสายมาจากผู้ใด หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้กล่าวไว้ในหนังสือ โครงกระดูกในตู้ โดยอ้างจากหนังสือราชินิกุลบางช้างไว้ว่า "เจ้าแม่วัดดุสิตมีศักดิ์เป็นหม่อมเจ้าในราชวงศ์พระมหาธรรมราชา ซึ่งสืบเชื้อสายมาแต่ราชวงศ์พระร่วงกรุงสุโขทัย" นอกจากนี้ ยังมีการกล่าวถึงบรรพบุรุษของเจ้าแม่วัดดุสิตไว้ว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงได้ฟังคำบอกเล่าจากพระวันรัตน์ (ฉิม) ว่าเจ้าฟ้าหญิงรัศมีและเจ้าฟ้าจีกเคยตรัสเล่าว่า สมเด็จพระเอกาทศรถได้อภิเษกสมรสกับธิดาของพระยาเกียรติ์ (ขุนนางชาวมอญที่ติดตามสมเด็จพระนเรศวรมหาราช) มีธิดาคือเจ้าครอกบัว (หม่อมเจ้าบัว) และเจ้าครอกอำภัย (หม่อมเจ้าอำไพ) แต่ในหนังสือนี้ยังมีข้อความที่คลุมเครือระหว่างเจ้าครอกบัวและเจ้าครอกอำไพอยู่มาก ซึ่งทำให้สับสนว่า เจ้าแม่วัดดุสิตมีชื่อเดิมว่าอย่างไรกันแน่ บางแห่งกล่าวว่าชื่อ "หม่อมเจ้าหญิงบัว" มีเชื้อสายพระร่วงสุโขทัย บางแห่งก็กล่าวว่าชื่อ "หม่อมเจ้าหญิงอำไพ" เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเอกาทศรถ อย่างไรก็ตาม หลักฐานหลายแห่งก็ไม่ได้บ่งบอกว่าสายตระกูลของเจ้าแม่วัดดุสิตนั้นสืบเชื้อสายมาจากเชื้อพระวงศ์สายไหนเช่นกัน แต่จากเอกสารพงศาวดารไทยหลายฉบับและของต่างประเทศเป็นที่ยืนยันว่าเจ้าแม่วัดดุสิตนั้นมีตัวตนอย่างแน่นอน เจ้าแม่วัดดุสิตสมรสกับขุนนางเชื้อสายมอญมีบุตรธิดา 3 คน คือ.

ดู ราชวงศ์พระร่วงและเจ้าแม่วัดดุสิต

หรือที่รู้จักกันในชื่อ วงศ์พระร่วงพระราชวงศ์พระร่วง

คริสต์ทศวรรษ 1240เจ้าฟ้าสุทัศน์เจ้าแม่วัดดุสิต