เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ดัชนี รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

สารบัญ

  1. 295 ความสัมพันธ์: บัญชา ล่ำซำชาติชาย ชุณหะวัณบุญชนะ อัตถากรบุญเรือน ชุณหะวัณพ.ศ. 2442พ.ศ. 2443พ.ศ. 2445พ.ศ. 2446พ.ศ. 2447พ.ศ. 2450พ.ศ. 2451พ.ศ. 2454พ.ศ. 2462พ.ศ. 2465พ.ศ. 2466พ.ศ. 2468พ.ศ. 2469พ.ศ. 2470พ.ศ. 2473พ.ศ. 2474พ.ศ. 2482พ.ศ. 2484พ.ศ. 2493พ.ศ. 2501พ.ศ. 2502พ.ศ. 2504พ.ศ. 2505พ.ศ. 2507พ.ศ. 2508พ.ศ. 2509พ.ศ. 2510พ.ศ. 2511พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2521พ.ศ. 2522พ.ศ. 2523พ.ศ. 2524พ.ศ. 2525พ.ศ. 2526พ.ศ. 2527พ.ศ. 2528พ.ศ. 2529พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2535... ขยายดัชนี (245 มากกว่า) »

บัญชา ล่ำซำ

ัญชา ล่ำซำ (12 มกราคม พ.ศ. 2468 - 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2535) ผู้ก่อตั้งบริษัทเมืองไทยประกันชีวิต กรรมการผู้จัดการธนาคารกสิกรไทย ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารธนาคารกสิกรไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติสมัยที่ 1 และสมัยที่ 2 ในสมัยที่บัญชายังมีชีวิตอยู่สามารถขยายกิจการธนาคารกสิกรไทย จากการที่มีสินทรัพย์ 700 ล้านบาทมาเป็น 600,000 ล้านบาท จนได้การยกย่องเป็นนายธนาคารแห่งปี 2527 จาก วารสารการเงินธนาคารและนิตยสารดอกเบี้ย และยังได้รับรางวัลนักการตลาดไทยแห่งปี 2534 จากสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยอีกด้ว.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และบัญชา ล่ำซำ

ชาติชาย ชุณหะวัณ

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ (5 เมษายน พ.ศ. 2463 — 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2541) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 17 และเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีในหลายกระทรวงคือ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงกลาโหม พลเอกชาติชาย เป็นผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง 2 พรรค และได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค คือ พรรคชาติไทย และ พรรคชาติพัฒน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และชาติชาย ชุณหะวัณ

บุญชนะ อัตถากร

ญชนะ อัตถากร (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2453-17 เมษายน พ.ศ. 2547) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ บญชนะ สมรสกับท่านผู้หญิงแส อัตถากร มีบุตรสาว คือ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ทักษิณา สวนานนท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และบุญชนะ อัตถากร

บุญเรือน ชุณหะวัณ

ท่านผู้หญิงบุญเรือน ชุณหะวัณ (สกุลเดิม: โสพจน์; เกิดราว พ.ศ. 2462) เป็นภริยาของ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีคนที่ 17 ของประเทศไทย และเป็นพระญาติฝ่ายพระชนนีในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และบุญเรือน ชุณหะวัณ

พ.ศ. 2442

ทธศักราช 2442 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1899 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2442

พ.ศ. 2443

ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2443

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2445

พ.ศ. 2446

ทธศักราช 2446 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1903 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2446

พ.ศ. 2447

ทธศักราช 2447 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2447

พ.ศ. 2450

ทธศักราช 2450 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1907 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2450

พ.ศ. 2451

ทธศักราช 2451 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1908 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2451

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2454

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2462

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2465

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2466

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2468

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2469

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2470

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2473

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2474

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2482

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2484

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2493

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2501

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2502

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2504

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2505

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2507

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2508

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2509

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2510

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2511

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2516

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2518

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2519

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2521

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2522

พ.ศ. 2523

ทธศักราช 2523 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1980 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2523

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2524

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2525

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2526

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2527

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2528

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2529

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2530

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2531

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2532

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2533

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2534

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2535

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2537

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2539

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2540

พ.ศ. 2541

ทธศักราช 2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2541

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2542

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2543

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2544

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2545

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2546

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2547

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2548

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ.ศ. 2550

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์)

thumb พระยาบริรักษ์เวชชการ หรือนามเดิม ไล่ฮวด ติตติรานนท์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2435 - 26 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตสภานายกแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย (พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์)

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) (19 ธันวาคม พ.ศ. 2429 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2518) ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนที่ 2 แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ดูแลนักเรียนไทยในประเทศอังกฤษ ปลัดเทศบาลนครกรุงเทพคนแรก เทศมนตรีและสมาชิกว.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)

พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)

ตราจารย์วิสามัญ มหาอำมาตย์ตรี พระยามานวราชเสวี (นามเดิม ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) (18 กันยายน พ.ศ. 2433 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 9 เป็นเวลา 15 ปี อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิบดีกรมอัยการ เลขาธิการเนติบัณฑิตยสภา อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภากรรมการองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และศาสตราจารย์วิสามัญแห่งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

มหาอำมาตย์โท พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส หรือนามปากกว่า น.ม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา เป็นพระธิดาใน สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมเล็ก ยงใจยุทธ ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภา

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร (27 มิถุนายน พ.ศ. 2464 — 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ประสูติแต่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย พระนามเดิม หม่อมเจ้าวิวัฒนไชย ไชยันต์ (29 เมษายนพ.ศ. 2442 - 22 สิงหาคม พ.ศ. 2503) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย กับหม่อมส้วน ไชยันต์ ณ อยุธยา เป็นผู้ว่าการคนแรกของธนาคารแห่งประเทศไทยและเป็นประธานกรรมการคณะกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์คนแรกของประเทศไท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา (พระยศเดิม: หม่อมเจ้าสุทธสิริโสภา จุฑาธุช; ประสูติ: 16 ธันวาคม พ.ศ. 2464 — สิ้นพระชนม์: 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

ลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ (24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 - 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495) อดีตรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานองคมนตรี ประสูติ ณ วังท้ายวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อวันอาทิตย์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง จุลศักราช 1242 ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าลำดับที่ 5 ของจำนวนพระโอรสและพระธิดาทั้งสิ้น 37 พระองค์ ใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และเป็นลำดับที่ 3 ในจำนวน 3 พระองค์ของหม่อมมารดา คือ หม่อมขาบ พุทธศักราช 2473 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โดยมีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ ครุฑนาม ทรงศักดินา 3000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พุทธศักราช 2495 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ครุฑนาม ทรงศักดินา 11000 ตามอย่างธรรมเนียม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมทั้งปวง และให้ทรงตั้งเจ้ากรมเป็นหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ถือศักดินา 500 ปลัดกรมเป็นพันบริรักษ์ภูเบศร ถือศักดินา 300 สมุห์บัญชีเป็นพันวิเศษพลขันธ์ ถือศักดินา 200 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ประชวรด้วยพระโรคไข้ไทฟอยด์ โดยมีพระอาการหนักจนถึงสิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในวันที่ 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 สิริรวมพระชันษา 72 ปี 1 เดือน 26 วัน ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงพระศพออกเมรุ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2496 ในระหว่างพระชนม์ชีพ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ได้ทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองคุณมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จออกไปจัดระเบียบกองทหารสำหรับประจำรักษาหัวเมืองในมณฑลภาคพายัพ ตามพระบรมราโชบายเพื่อรักษาความปลอดภัยแห่งพระราชอาณาเขต อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อความไม่สงบของพวกเงี้ยวในภาคเหนือ จนได้ดำรงพระยศและพระตำแหน่งเป็นนายพลตรีผู้บัญชาการกองพลที่ 7 มณฑลพิษณุโลก ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงเป็นแม่ทัพกองที่ 2 และนายพลโทแม่ทัพกองทัพน้อยทหารบกที่ 2 ครั้นถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 7 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายกลับเข้ามาในพระนครเพื่อให้ทรงเป็น จเรทหารบก เสนาธิการทหารบก และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม จนกระทั่งพ้นจากหน้าที่ราชการเมื่อคณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ดำรงพระฐานะเป็น "นายทหารนอกราชการ" และ "นายทหารพ้นราชการ" อยู่นานถึงประมาณ 15 ปี จนกระทั่ง ปีพุทธศักราช 2490ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้กลับมารับพระราชทานสนองพระราชภาระงานฝ่ายพระมหากษัตริย์ให้ทรงดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ อภิรัฐมนตรี คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ องคมนตรี และประธานองคมนตรี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร

ระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล" (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 8 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์

ลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ (3 กันยายน พ.ศ. 2386 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2441) พระนามเดิม หม่อมเจ้าขจร มาลากุล อดีตผู้บัญชาการกรมทหารเรือระหว่าง 8 เมษายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ

ลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (4 มกราคม พ.ศ. 2440 — 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) พระนามเดิม หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร เป็นพระบิดาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศวโรทัย

มหาอำมาตย์เอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย หรือ หม่อมเจ้าไตรทศประพันธ์ เทวกุล (11 สิงหาคม 2426 - 5 กุมภาพันธ์ 2486) อดีตเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ประสูติแต่ หม่อมลม้าย เทวกุล ณ อยุธยา ต่อมาได้รับการเฉลิมพระนามเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ เสกสมรสกับ หม่อมเพี้ยน เทวกุล ณ อยุธยา มีโอรส-ธิดา 12 คน คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศวโรทัย

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร

ตราจารย์พิเศษ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร (12 สิงหาคม พ.ศ. 2458 - 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2524) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล ประสูติเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร

พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)

ระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล) (เกิด: 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 — ถึงแก่อนิจกรรม: 9 มีนาคม พ.ศ. 2524) พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาในเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) กับท่านผู้หญิงกิมไล้ สุธรรมมนตรี และเป็นพี่สาวของสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์

นายพลตรี มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชุมพลสมโภชเป็นพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์ที่ 37 และเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 21 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน เจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 29 ธันวาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน

ระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน เมื่อวัยชรา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน (15 ตุลาคม พ.ศ. 2406 - 1 มิถุนายน พ.ศ. 2482) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาห่วง เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน ๑๑ ขึ้น ๓ ค่ำ ปีกุน ตรงกับวันที่ 15 ตุลาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์ (30 กันยายน พ.ศ. 2409 — 23 เมษายน พ.ศ. 2493) เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 77 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับองค์ที่ 10 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ ประสูติวันพุธ เดือน 12 ขึ้น 5 ค่ำ ปีขาล ฉศก จุลศักราช 1216 ตรงกับวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์ ประสูติวันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2424 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 กับเจ้าจอมมารดาเรือน (สุนทรศารทูล) สิ้นพระชนม์วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจนากร

ฉายเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2468 ที่วังบางขุนพรหม พระองค์เจ้ากาญจนากร อยู่แถวกลาง พระองค์ที่ 6 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจนากร พระนามเดิม พระองค์เจ้าหญิงกาญจนากร ประสูติเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจนากร

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดี หรือ พระองค์เจ้าหญิงบีเอตริศภัทรายุวดี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชบุตรลำดับที่ 3 ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแสง ประสูติเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 15 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดาเอมน้อย ประสูติเมื่อวันพุธ แรม 10 ค่ำ เดือนยี่ ตรงกับวันที่ 28 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาณีรัตนกัญญา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาณีรัตนกัญญา (27 มกราคม พ.ศ. 2400 — 25 มกราคม พ.ศ. 2478) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแก้ว.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาณีรัตนกัญญา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2398 — 7 สิงหาคม พ.ศ. 2456) พระราชธิดาพระองค์ที่ 19 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์ที่ 3 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ (ประสูติ: 26 เมษายน พ.ศ. 2424 — สิ้นพระชนม์: 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระราชธิดาลำดับที่ 31 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ ธิดาของพระยาราชสัมภารากร (เทศ) ประสูติวันอังคาร เดือน 5 แรม 13 ค่ำ ปีมะเส็ง ตรีศก จุลศักราช 1243 ตรงกับวันที่ 26 เมษายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส

มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส พระนามเดิม พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 51 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาโหมด เมื่อวันอังคาร เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอกฉศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2433 — 26 ตุลาคม พ.ศ. 2461) ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือนยี่ แรม 13 ค่ำ ปีขาล โทศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวดี ประสูติเมื่อ 13 มกราคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวดี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา (Her Royal Highness Princess Oradaya Debkan ya) (18 กันยายน พ.ศ. 2402 - 4 เมษายน พ.ศ. 2449) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาบัว ธิดาเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร) ซึ่งพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 3 ในจำนวนพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมเจ้าจอมมารดาอีก 4 พระองค์ ได้แก.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา (31 ตุลาคม พ.ศ. 2432 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477) เป็นพระเจ้าลูกเธอในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และเจ้าจอมมารดาแส โรจนดิศ (เป็นธิดาของพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ) และขรัวยายบาง) ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 12 ขึ้น 8 ค่ำ ปีฉลู เอกศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา (7 กรกฎาคม พ.ศ. 2415 - 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดาตลับ มีพระอนุชาร่วมพระมารดา คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

อมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช หรือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๗ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาทับทิม โดยเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกลุ่มแรกที่ทรงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อกลับมาประเทศไทยทรงเข้ารับราชการในกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมในตำแหน่งต่างๆ และทรงเป็นจอมพลพระองค์ที่ 2 ของกองทัพบกสยาม พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล "จิรประวัติ".

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ ประสูติเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 8 ค่ำ ปีขาล โทศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประพาฬรัศมี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประพาฬรัศมี พระนามเดิม "พระองค์เจ้าหญิงประพาฬรัศมี" เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 71 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับท้าววนิดาพิจาริณี (เจ้าจอมมารดาสุ่น ในรัชกาลที่ 4).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประพาฬรัศมี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย ประสูติวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2428 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 กับเจ้าจอมมารดาพร้อม ธิดาในพระยาพิษณุโลกาธิบดี (บัว) เป็นพระเชษฐภคินีแฝดของพระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย และพระองค์เจ้าประไพพรรณพิลาส เป็นพระราชธิดาแฝดคู่เดียวในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คู่ที่สี่และเป็นคู่ล่าสุดในพระบรมราชวงศ์จักรี ก่อนหน้าพระองค์ มีเจ้านายแฝดเพียงสามคู่ที่มีพระประสูติกาลก่อนหน้า คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประสานศรีใส

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประสานศรีใส ประสูติวันศุกร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2407 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แสง สิ้นพระชนม์วันศุกร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประสานศรีใส

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย ประสูติ วันอังคารที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2422 เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาทับทิม สิ้นพระชนม์วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัย

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2404 สิ้นพระชนม์เมื่อวันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง (11 มกราคม พ.ศ. 2406 — 19 สิงหาคม พ.ศ. 2472) พระราชธิดาพระองค์ที่ 67 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์ที่ 8 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 62 ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด) ซึ่งท้าววรจันทร์(เจ้าจอมมารดาวาด)เป็นธิดานายสมบุญ งามสมบัติ กับท้าวปฏิบัติบิณฑทาน (ถ้วย) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดาประสูตรเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 13 ค่ำ ปีกุนเบญจศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุ หรือ พระองค์เจ้าหญิงเจริญศรีชนมายุ เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชบุตรลำดับที่ 4 ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแสง ประสูติเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุ

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุดาสวรรค์

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุดาสวรรค์ (5 สิงหาคม พ.ศ. 2383 — 4 ตุลาคม พ.ศ. 2455) พระราชธิดาพระองค์ที่ 11 ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดามาลั.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุดาสวรรค์

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต

นายกองเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463 — 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520) หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต (ราชสกุลเดิม: รัชนี) นักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา ว.ณ ประมวญมารค มีผลงานประพันธ์ที่สร้างชื่อเสียงจากเรื่อง ปริศนา หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต ได้รับการสถาปนาเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต เมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง ลางแห่งสะกดว่า สิริรัตนบุษบง หรือ ศิริรัตน์บุษบง (4 มกราคม 2448 — 6 กรกฎาคม 2533) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ประสูติแต่หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตร

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตร บ้างออกพระนามว่า สุทธพงศพิจิตร (16 มีนาคม พ.ศ. 2450 — 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ประสูติแต่หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตร

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพัทธ์ประไพ

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพัทธ์ประไพ (30 พฤษภาคม พ.ศ. 2423 — 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2473) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับ หม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพัทธ์ประไพ

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์

นายพันเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2426 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2478) มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ อดีตประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ หรือ พระองค์ชายเล็ก (อังกฤษ: His Royal Highness Prince Anusorn Mongkolkarn) (1 เมษายน 2458 - 2 มกราคม 2541) เป็นพระโอรสองค์สุดท้องใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ กับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (พระธิดาใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ซึ่งเป็นพระอนุชาร่วมพระครรโภทรกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) มีพระเชษฐา 2 พระองค์ คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ

ตราจารย์พิเศษ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2536) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ และหม่อมจำรัส จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ทรงสำเร็จการศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์ และเริ่มเข้ารับราชการที่กระทรวงเกษตร และเป็นอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นอกจากนี้ พระองค์ยังมีความสามารถพิเศษทางด้านการประพันธ์คำร้องและทำนองเพลงอีกด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริประชวรด้วยโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและถุงลมโป่งพองสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต (5 ธันวาคม พ.ศ. 2447 - 15 กันยายน พ.ศ. 2502) อดีตอุปนายก ผู้อำนวยการสภากาชาดไทย และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมาน

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมาน (21 ธันวาคม พ.ศ. 2452 — 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ประสูติแต่หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมาน

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (10 มีนาคม พ.ศ. 2435 - 23 มกราคม พ.ศ. 2500) พระชายาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และพระองค์เป็นพระธิดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช อันประสูติแต่หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล

พลากร สุวรรณรัฐ

นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี เกิดเมื่อ พ.ศ. 2491 เป็นบุตรของนายพ่วง สุวรรณรัฐ อดีตปลัดและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และหม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ (ราชสกุลเดิมทองแถม บุตรีหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม) สมรสกับท่านผู้หญิงทัศนียา สุวรรณรัฐ นายพลากร สุวรรณรัฐ มีพี่น้องร่วมบิดามารดา ดังนี้.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพลากร สุวรรณรัฐ

พันธุ์สวลี กิติยากร

ท่านผู้หญิงพันธุ์สวลี กิติยากร (พระยศเดิม: หม่อมเจ้าพันธุ์สวลี ยุคล; ประสูติ: 24 กันยายน พ.ศ. 2476) ภริยาของหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร เป็นพระมารดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ และพระอัยยิกาในพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา พระราชนัดดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพันธุ์สวลี กิติยากร

พูนศุข พนมยงค์

ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร; เกิด: 2 มกราคม พ.ศ. 2455 - อนิจกรรม: 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เป็นภริยาของศาสตราจารย์ ดร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพูนศุข พนมยงค์

พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

ตราจารย์ ท่านผู้หญิง พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ไกรยง) (12 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 23 ตุลาคม พ.ศ. 2558) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรีของนายฮันส์ ไกรเยอร์ นักธุรกิจชาวเยอรมันและนางเจียม ไกรยง ข้าหลวงในพระราชวังสวนสุนันทา ขณะอายุ 3 ปีครึ่ง บิดามารดาได้นำไปถวายตัวกับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง ได้รับพระราชทานชื่อ “พูนทรัพย์” แต่เนื่องจากยังเล็กมาก จึงทรงฝากให้สมเด็จเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงเลี้ยงดูไปก่อน โดยโปรดให้นอนหน้าพระแท่นบรรทม จากนั้นได้เจริญวัยอยู่ในพระราชวังพญาไท เป็นเวลานานถึง 20 ปี และด้วยการอุปการะเลี้ยงดูอย่างดี ทำให้ท่านเป็นผู้ที่มีกิริยาวาจา เรียบร้อย สง่างาม ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ มีแววเฉลียวฉลาดตั้งแต่วัยเด็ก สมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร จึงทรงสนับสนุนให้ได้เรียนที่โรงเรียนราชินี เมื่อจบการศึกษาแล้ว ได้เข้าเรียนต่อในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสำเร็จเป็นอักษรศาสตร์บัณฑิตรุ่นแรก และได้รับราชการในสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาได้รับทุนบาเบอร์ประเทศสหรัฐอเมริกาไปศึกษาต่อด้านจิตวิทยาการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน แล้วจึงโอนมารับราชการเป็นอาจารย์ประจำที่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากนี้แล้วยังเป็นผู้ก่อตั้งทุนธนชาต และธนาคารนครหลวงไท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา

พูนเพิ่ม ไกรฤกษ์

นายพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์ (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2465 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2546) อดีตเลขาธิการพระราชวัง และอดีตผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์

พจน์ สารสิน

น์ สารสิน (25 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 28 กันยายน พ.ศ. 2543) นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของประเทศไทย นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยที่เป็นพลเรือนในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช, อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ แต่ภายหลังได้ลาออกเนื่องจากมีความเห็นขัดแย้งกับรัฐบาลเกี่ยวกับการรับรองรัฐบาลเบาได๋ แห่งเวียดนามใต้ และอดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริก.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพจน์ สารสิน

พ่วง สุวรรณรัฐ

นายพ่วง สุวรรณัฐ (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 - 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร และรัฐบาลศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ และเป็นอดีตปลัดกระทรวงมหาดไท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และพ่วง สุวรรณรัฐ

กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา

ตราจารย์ กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2539) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 อดีตเลขาธิการพระราชวัง และอดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลั.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา

กำธน สินธวานนท์

ลอากาศเอกกำธน สินธวานนท์ อดีตองคมนตรี เกิดเมื่อวันที่ 20 มีนาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และกำธน สินธวานนท์

มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์

ลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ (นามเดิม: มุนี มหาสันทนะ; 29 มีนาคม พ.ศ. 2436 - พ.ศ. 2528) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศคนแรกของกองทัพอากาศไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ มีนามเดิมว่า มุนี มหาสันทนะ ศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยสายสวลี จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์

มีชัย วีระไวทยะ

มีชัย วีระไวทยะ กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล อดีตนักแสดงชาวไทย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นบุคคลมีชื่อเสียงจากบทบาทการรณรงค์การใช้ถุงยางอนามัย สำหรับการคุมกำเนิด และป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยเป็นผู้ก่อตั้งสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน ตั้งแต..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และมีชัย วีระไวทยะ

มนัสนิตย์ วณิกกุล

ท่านผู้หญิงมนัสนิตย์ วณิกกุล (สกุลเดิม: ศรีวิสารวาจา; 27 มกราคม พ.ศ. 2471 - 30 เมษายน พ.ศ. 2558) อดีตราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สำนักราชเลขาธิการ และอดีตเลขาธิการมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ โดยได้ถวายงานรับใช้เบื้องพระยุคลบาทมาเป็นเวลานานกว่า 60 ปี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และมนัสนิตย์ วณิกกุล

ราชสกุล

ราชสกุล เป็นนามสกุลสำหรับผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลวงศ์ในพระมหากษัตริย์ เกิดขึ้นเมื่อปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และราชสกุล

ละเอียด พิบูลสงคราม

ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงครามเป็นบุตรคนโตในจำนวน 9 คนของเจริญ กับแช่ม พันธุ์กระวี เกิดที่ตำบลดอนพุทรา จังหวัดนครปฐม ศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนสตรีวิทยา ต่อมาย้ายไปอาศัยที่จังหวัดพิษณุโลก เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลพิษณุโลก (ปัจจุบัน คือ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม) ซึ่งเป็นโรงเรียนชายประจำจังหวัด แล้วย้ายไปศึกษาต่อที่โรงเรียนผดุงนารี ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม พบรักกับร้อยตรีแปลก ขีตตะสังคะ เมื่ออายุได้ 14 ปี และได้สมรสกันที่จังหวัดพิษณุโลก และได้ย้ายติดตามสามีเรื่อยมา มีบุตรธิดาด้วยกัน 6 คน คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และละเอียด พิบูลสงคราม

วิระยา ชวกุล

ท่านผู้หญิงวิระยา ชวกุล (ชื่อเล่น: น้อย; เกิด: 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477) เป็นกรรมการของมูลนิธิในพระราชินูปถัมภ์หลายแห่ง และปรากฏบทบาททางการเมือง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และวิระยา ชวกุล

วิไล อมาตยกุล

ณวิไล อมาตยกุล คุณพยาบาลผู้ใหญ่ประจำพระองค์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และวิไล อมาตยกุล

ศรีนาถ สุริยะ

ตราจารย์เกียรติคุณ ท่านผู้หญิงศรีนาถ สุริยะ ป.ม., ท..ว., ต.. (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 -- 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 อายุ 94 ปี) คุณข้าหลวงใหญ่ในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และเป็นพระอาจารย์ประจำพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และอดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และศรีนาถ สุริยะ

สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิง สมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา (10 มกราคม 2456 - 5 มีนาคม 2550) เป็นผู้ประพันธ์คำร้องในเพลงพระราชนิพนธ์ ค่ำแล้ว, มหาจุฬาลงกรณ์, เมื่อโสมส่อง, ลมหนาว, พณิชยการพระนคร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

มหาอำมาตย์นายก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่ 4) ร่วมพระชนนีเดียวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี โดยเป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 42 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระอง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก นายพลเสือป่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ (HRH Prince Yugala Dighambara, Prince of Lopburi) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนค์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 28 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เป็นพระราชอนุชาร่วมพระครรโภทรในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสเรียกว่า "ท่านกลาง".

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2435 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2466) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 5 กรกฎาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

สัญญา ธรรมศักดิ์

ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสัญญา ธรรมศักดิ์

สิทธิ เศวตศิลา

ลอากาศเอก สิทธิ เศวตศิลา (7 มกราคม พ.ศ. 2462 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558) อดีตองคมนตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ อดีตเลขาธิการสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาต.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสิทธิ เศวตศิลา

สินธู ศรสงคราม

นธู ศรสงคราม อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงแบร์น และธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และเป็นรองประธาน หจก.รัจนาการ เป็นพระชามาดา (ลูกเขย) ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสินธู ศรสงคราม

สุมาลี จาติกวณิช

ท่านผู้หญิงสุมาลี จาติกวณิช (6 มิถุนายน พ.ศ. 2474) ประธานกิตติมศักดิ์มูลนิธิราชประชาสมาศัยในพระบรมราชูปถัมภ์ และรองประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก, อดีตประธานสภาสตรีแห่งชาติคนที่ 10.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสุมาลี จาติกวณิช

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสุรยุทธ์ จุลานนท์

สุริยนันทนา สุจริตกุล

ท่านผู้หญิงสุริยนันทนา สุจริตกุล (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าสุริยนันทนา สุริยง; 7 สิงหาคม พ.ศ. 2456 — 4 สิงหาคม พ.ศ. 2557) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส ประสูติแต่หม่อมเรณี สุริยง ณ อยุธยา ต่อมาได้ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับจิตติ สุจริตกุล ซึ่งเป็นอดีตเอกอัครราชทูต และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสุริยนันทนา สุจริตกุล

สุรเกียรติ์ เสถียรไทย

ตราจารย์พิเศษ สุรเกียรติ์ เสถียรไทย อดีตรองหัวหน้าพรรคไทยรักไทย เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคไทยรักไทย เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ สมัยรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังสมัยรัฐบาลบรรหาร ศิลปอาชา และที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เคยถูกเสนอชื่อเพื่อเป็น เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ในนามของ 10 ประเทศอาเซียนโดยการสนับสนุนของรัฐบาลทักษิณ รวมถึงได้รับการสนับสนุนจาก คปค.เช่นกัน แต่ก็ได้ถอนตัวในเดือนตุลาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสุรเกียรติ์ เสถียรไทย

สุรเทิน บุนนาค

นายสุรเทิน บุนนาค (11 ตุลาคม 2459 - 7 มิถุนายน 2511) อดีตผู้ช่วยหัวหน้าข่าวสาร ในสำนักงานสาขาองค์การอาหารและเกษตรแห่งภาคพื้นเอเซียตะวันออกไกล (FAO Regional Office for Asia and the Far East) ผู้ใกล้ชิดใต้เบื้องพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สนองพระเดชพระคุณด้านการพัฒนาที่ดิน และการเกษตรสมัยใหม่ และเป็นหนึ่งใน "พระสหจร ในพระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่ 9.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสุรเทิน บุนนาค

สุธาวัลย์ เสถียรไทย

ท่านผู้หญิง สุธาวัลย์ เสถียรไทย (สกุลเดิม: ลดาวัลย์ ณ อยุธยา; 24 กันยายน พ.ศ. 2501 -) เป็นธิดาของหม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ อดีตองคมนตรี และท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ เป็นพระภาคิไนยในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และเป็นภรรยาของศาสตราจารย์ ดร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสุธาวัลย์ เสถียรไทย

สง่า อิงคุลานนท์

ท่านผู้หญิงสง่า อิงคุลานนท์ คุณข้าหลวงและพระอภิบาลในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และสง่า อิงคุลานนท์

หม่อมราชวงศ์บุษบา สธนพงศ์

ท่านผู้หญิงบุษบา ในอดีต ท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์บุษบา กิติยากร; 2 สิงหาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร และเป็นพระขนิษฐาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมราชวงศ์บุษบา สธนพงศ์

หม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะ

ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ คุณข้าหลวงในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ผู้บริหารงานในพระองค์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และประจำสำนักพระราชวังพิเศษ สำนักพระราชวัง อดีตรองราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะ

หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตร

หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตร ท..ว. หม่อมในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต และนางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตร

หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร

ตราจารย์ นายแพทย์ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร (20 กันยายน 2472 - 15 พฤษภาคม 2530) พระเชษฐาองค์โตในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีชื่อเล่นว่า คุณชายกร๋อย เป็นบุตรคนโตของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร มีพี่น้อง 4 คน คือ หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร, สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และท่านผู้หญิงบุษบา สธนพงศ์ หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนราชินี, โรงเรียนเซนต์คาเบรียล จากนั้นไปศึกษาวิชาแพทย์ศาสตร์ที่ประเทศอังกฤษ ที่ Guy's Hospital Medical School ได้รับประกาศนียบัตร MRCS.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร

หม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากร

หม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากร อดีตรองผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นโอรสของ หม่อมเจ้าเสริมสวาสดิ์ กฤดากร กับ หม่อมหลวงแส กฤดากร (สกุลเดิม สนิทวงศ์ โดยมีศักดิ์เป็นพี่ของ หม่อมหลวงบัว กิติยากร พระราชชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ) โดยหม่อมเจ้าเสริมสวาสดิ์ กฤดากร เป็นพระโอรสใน พระบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศวรฤทธิ์ ต้นราชสกุลกฤดากร ผู้เป็น พระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาซ่อนกลิ่น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากร

หม่อมราชวงศ์สุจิตคุณ สารสิน

ท่านผู้หญิงสุจิตคุณ สารสิน นามเดิม หม่อมราชวงศ์สุจิตคุณ กิติยากร (12 พฤศจิกายน 2481 -) เป็นธิดาคนสุดท้องของหม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าอัปษรสมาน เทวกุล กับหม่อมราชวงศ์วิจิตรโฉม กิติยากร ธิดาในหม่อมเจ้าสฤษดิเดช ชยางกูร กับหม่อมเนื่อง ชยางกูร (ณ นคร) มีพี่สองคน คือ หม่อมราชวงศ์เกียรติคุณ กิติยากร และหม่อมราชวงศ์สฤษดิคุณ กิติยากร หม่อมราชวงศ์สุจิตคุณ กิติยากร สมรสกับนายอาสา สารสิน อดีตราชเลขาธิการในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ มีธิดาสองคน บุตรหนึ่งคน คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมราชวงศ์สุจิตคุณ สารสิน

หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร

หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร (2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 – 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2547) เป็นอดีตรองประธานศาลฎีกา และหนึ่งในสมาชิกคณะองคมนตรีไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระบิดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร

หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่

หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ (พ.ศ. 2456-พ.ศ. 2541) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในสมัยของจอมพลถนอม กิตติขจร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่

หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา โชติกเสถียร

ท่านผู้หญิงจีริกัญญา โชติกเสถียร มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา กิติยากร (4 พฤษภาคม พ.ศ. 2490) เป็นธิดาของหม่อมเจ้าจีรินันท์ กิติยากร กับหม่อมสมลักษณ์ กิติยากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม ทิพย์สมัย) สมรสกับหรรษา โชติกเสถียร มีบุตร 2 คน คือ จิตีวันต์ โชติกเสถียร และอภิธร โชติกเสถียร ปัจจุบันเป็นผู้ช่วยราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยได้ถวายงานรับใช้มาโดยตลอ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมราชวงศ์จีริกัญญา โชติกเสถียร

หม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ

ท่านผู้หญิงประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ ทองแถม) (17 พฤษภาคม 2467 - 26 เมษายน 2560,อายุ 92 ปี) เป็นธิดาของหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ กับหม่อมเจ้าพันธ์สิหิงค์ ทองใหญ่ พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม มีพี่น้องร่วมบิดา-มารดา 4 คน ดังนี้.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

หม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์

ท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์ ป.ม., ท..ว.,.ป.ร.1(28 ธันวาคม พ.ศ. 2457 — 17 สิงหาคม พ.ศ. 2543) หรือนามเดิม หม่อมหลวงพวงร้อย สนิทวงศ์ เป็นสตรีไทยคนแรกที่เป็นนักประพันธ์เพลง เมื่อ พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์

หม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค มีนามเดิมว่า หม่อมหลวงมณีรัตน์ สนิทวงศ์ ป.., ท..ว.,.ป.ร. 1 (23 มิถุนายน พ.ศ. 2465-23 เมษายน พ.ศ. 2543) เป็นน้องสาวร่วมบิดามารดาเพียงคนเดียวของหม่อมหลวงบัว กิติยากร พระชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ท่านมีผลงานที่สร้างชื่อเสียงมากมาย อาทิเช่น เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยในเพลงพระราชนิพนธ์ ความฝันอันสูงสุด เพลินภูพิงค์ เกิดเป็นไทย ตายเพื่อไทย แผ่นดินของเรา เตือนใจ ไร้เดือน เกาะในฝัน มาร์ชราชนาวิกโยธิน หม่อมหลวงมณีรัตน์ สมรสกับนายสุรเทิน บุนนาค บุตรอำมาตย์ตรี พระพิศาลสุริยศักดิ์ (เทิน บุนนาค) และ นางผัน พิศาลสุริยศักดิ์ (สกุลเดิม สินธุสาร) มีบุตรชาย 2 คน คือ พลตรีกรีเมศร์ บุนนาค และพันโทสุรธัช บุนนาค หม่อมหลวงมณีรัตน์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ จึงใช้คำนำหน้าท่านผู้หญิง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาค

หม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล

หม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล ท..ว.(ราชสกุลเดิม: สนิทวงศ์; 4 ตุลาคม พ.ศ. 2452 — 28 ธันวาคม พ.ศ. 2527) คุณท่านเป็นหม่อมเอกในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หม่อมหลวงสร้อยระย้าเป็นธิดาของหม่อมราชวงศ์สุวพันธุ์ สนิทวงศ์ กับยี่สุ่น สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม มังกรพันธ์) เสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล

หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช

ลเรือเอก หม่อมหลวง อัศนี ปราโมช (ภาษาอังกฤษ: Admiral ML Usni Pramoj; 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 - 2 เมษายน พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี และผู้จัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี มีชื่อเล่นว่า "ตุ้ย" เป็นบุตรของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี และท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช ณ อยุธยา สมรสกับท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม ชลวิจารณ์) มีบุตรทั้งหมด 5 คน ม.ล.อัศนี ปราโมช มีผลงานทางดนตรีมากมาย เป็นนักไวโอลิน นักวิโอล่า ผู้ประพันธ์เพลง และผู้อำนวยเพลง เป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ ทำให้ได้รับการยกย่องเป็น ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมหลวงอัศนี ปราโมช

หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์

หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม เป็นที่มาของชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ ในฝั่งธนบุรี เป็นปลัดกระทรวงคมนาคมเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2489 หม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์ เป็นบุตรของเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) กับท่านผู้หญิงวงศานุประพัทธ์ (ตาด สิงหเสนี) เข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์

หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์

ตราจารย์ ร้อยเอก หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2455 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) อดีตองคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการและเป็นนักภาษาศาสตร์ชาวไทยเชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมายได้แก่องคมนตรี,อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ,ราชบัณฑิต สำนักศิลปกรรม แห่งราชบัณฑิตยสภา ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและสันสกฤต คณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการแผนกอักษรศาสตร์ มูลนิธิอานันทมหิดล ระหว่างที่ศึกษาอยู่เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ไปทำงานเสรีไทย เป็นทหารในกองทัพบกอังกฤษ จนกระทั่งสงครามเสร็จสิ้นจึงปลดประจำการขณะมียศร้อยเอก.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์

หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์

ลโท นายแพทย์ หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ เป็นบุตรของมหาอำมาตย์เอกพลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)กับท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา) และยังเป็นพระมาตุลาเพียงแค่ท่านเดียวในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่มาจากผู้ที่เป็นน้องชายร่วมมารดาเดียวกันกับหม่อมหลวงบัว กิติยากร ผู้ที่เป็นพระชนนีในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2441 - 8 กันยายน พ.ศ. 2518) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตประธานองคมนตรี อดีตข้าราชการ อธิบดีกรมที่ดิน/กรมทรัพยากรธรณี และรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเศรษฐการ ผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การกสิกรรม และกิจการสหกรณ์ของไทย ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น หลวงเดชสหกรณ์ ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงเดชสหกรณ์ในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยกลับไปใช้ชื่อเดิม เมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์

หม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา

หม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สุฤทธิ์) (2 มกราคม พ.ศ. 2466 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2546) เป็นผู้บุกเบิกภาพยนตร์ไทย ในนามบริษัทละโว้ภาพยนตร์ ร่วมกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ผู้กำกับการแสดงหญิงคนแรกของเมืองไทย เช่น ม่วยสิ่น,ปักธงไชย,เชลยศักดิ์,ทรชนคนสวย ฯลฯ ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียง อาทิ เงิน เงิน เงิน,อีแตน,เกาะสวาทหาดสวรรค์ และ เขาชื่อกานต์ เป็นต้น ผู้ก่อตั้งโรงเรียน อนุบาลยุคลธร,เจ้าของนิตยสารรายปักษ์ ดรุณี และห้องอาหาร ร้านกับข้าวชาววัง (ถนนสุขุมวิท) ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา

หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์)

ลตรี หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์) (7 สิงหาคม พ.ศ. 2444 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2513) เป็นบุตรของหม่อมเจ้าอุดมดิเรกลาภ ทวีวงศ์ เป็นนัดดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ และเป็นปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์)

หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา

หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยาราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๙๓, ตอน ๘๐ ง, ๑ มิถุนายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา

หม่อมเจ้า

หม่อมเจ้า (His/Her Serene Highness) นั้นมีมาตั้งแต่ตอนต้นยุคกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี มีหลักฐานปรากฏชัดเจนเพราะว่ามีศักดินาอยู่ในพระอัยการพลเรือนที่ได้ตราขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ผู้ที่จะดำรงพระยศเป็นหม่อมเจ้าได้มีดังนี้.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้า

หม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์

หม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์ (12 กรกฎาคม พ.ศ. 2437 - 6 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นพระโอรสองค์ที่ 31 ใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์และที่ 2 ในหม่อมทองสุก มีพระเชษฐา พระเชษฐภคินี พระอนุชาและพระขนิษฐา ร่วมพระมารดา 4 พระองค์ คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์

หม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากร

ลโท หม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากร อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำญี่ปุ่น และเอกอัครราชทูตไทยประจำเอธิโอเปี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากร

หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุช

หม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุช (10 สิงหาคม พ.ศ. 2450 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2523) มีพระนามเดิมคือ หม่อมเจ้าจิรบุญญ์นี ชุมพล เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ประสูติแต่หม่อมบุญยืน ชุมพล ณ อยุธยา (อัญญานางบุญยืน บุญรมย์) บุตรีในท้าวไชยบุตร์ (บุดดี บุญรมย์) และอัญญาแม่คำพ่วย บุญรมย์ มีศักดิ์เป็นหลานเจ้าราชบุตรสุ่ย สืบเชื้อสายมาแต่เจ้าพระวอพระตาแห่งเมืองหนองบัวลุ่มภู ประสูติ ณ วังสงัด (บริเวณสามแยกถนนผาแดงบรรจบกับถนนพโลรังฤทธิ์ ทิศเหนือทุ่งศรีเมือง อุบลราชธานี) ครั้นเสด็จเข้ามาประทับในกรุงเทพ ฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงทรงเปลี่ยนพระราชทานนามให้ใหม่ว่า "บุญจิราธร" ในเวลาที่ทรงพระมหากรุณาเปลี่ยนนามใหม่พระราชทานนั้น ได้ทรงแสดงพระราชจริยาให้ประจักษ์ว่า ไม่ได้เพ่งเล็งแต่จะให้เพราะ ได้ทรงเรียกปฏิทินมาตรวจอย่างถี่ถ้วนแล้ว จึงตกลงพระราชทานนามว่า "บุญจิราธร".

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุช

หม่อมเจ้ากมลปราโมทย์ เทวกุล

หม่อมเจ้าหญิงกมลปราโมทย์ เทวกุล (5 ธันวาคม พ.ศ. 2441 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517) หรือ หม่อมเจ้ากมลปราโมทย์ กิติยากร เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล มีพระขนิษฐาและพระเชษฐาร่วมพระมารดา 11 พระองค์ คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้ากมลปราโมทย์ เทวกุล

หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์

หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์ (ประสูติ: 11 ธันวาคม พ.ศ. 2459 — สิ้นชีพิตักษัย: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นพระธิดาองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ และเป็นพระอนุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ที่เหล่าพระบรมวงศานุวงศ์ทรงนับถือ นอกจากนี้ หม่อมเจ้ากรณิกายังเป็นประธานมูลนิธินริศรานุวัติวงศ์ เป็นประธานกรรมการมูลนิธิสิรินธร และเป็นกรรมการที่ปรึกษามูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี

หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี (2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2465) เป็นพระโอรสในพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับหม่อมเจ้าพรพิมลพรรณ รัชนี เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 18 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี

หม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุล

หม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุล (8 เมษายน พ.ศ. 2445 – 11 ธันวาคม พ.ศ. 2549) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นพระธิดาพระองค์โตที่ประสูติในหม่อมแสง ศตะรัต มีพระนามลำลองว่า "หญิงแย้ม" หม่อมเจ้ามารยาตรกัญญาทรงเติบโตมาพร้อมกับหม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล พระธิดาพระองค์ใหญ่ในกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พร้อมกับพระธิดาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในสำนักของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีที่วังบางขุนพรหม คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบง พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตร พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสิฐสบสมัย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมาน และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานตมณี หม่อมเจ้ามารยาตรกัญญาทรงเป็นเลขานุการสภากาชาดไทย มาตั้งแต่ครั้งสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ทรงเป็นสภานายิกา จนกระทั่งภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ก็ยังทรงเป็นเลขานุการจนกระทั่งเกษียณอายุ ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปลี้ภัยที่ปีนัง ระหว่าง..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุล

หม่อมเจ้าวิมวาทิตย์ รพีพัฒน์

หม่อมเจ้าวิมวาทิตย์ รพีพัฒน์ (15 ธันวาคม พ.ศ. 2445 - 29 ธันวาคม พ.ศ. 2501) เป็นพระโอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ อันประสูติแต่ หม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา หม่อมเจ้าวิมวาทิตย์ รพีพัฒน์ มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินี ร่วมพระมารดา 10 พระองค์ คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าวิมวาทิตย์ รพีพัฒน์

หม่อมเจ้าวินิตา รพีพัฒน์

หม่อมเจ้าวินิตา รพีพัฒน์ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2541) (ราชสกุลเดิม:กิติยากร) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าวินิตา รพีพัฒน์

หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล

หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล (17 กันยายน พ.ศ. 2447 - 3 เมษายน พ.ศ. 2534) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ราชเลขาธิการ และองคมนตรีไทย หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ประสูติแต่หม่อมจันทน์ เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล

หม่อมเจ้าสุวินิต กิติยากร

หม่อมเจ้าสุวินิต กิติยากร (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2523) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าสุวินิต กิติยากร

หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร

หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร (ราชสกุลเดิม: เทวกุล; ประสูติ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2420 — สิ้นชีพิตักษัย: 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2482) พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมใหญ่ เทวกุล (สุจริตกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร

หม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล

หม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล (23 มีนาคม พ.ศ. 2456 - 4 ธันวาคม พ.ศ. 2518) พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับหม่อมเจิม ดิศกุล ณ อยุธยา เสกสมรสกับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงศิริรัตนบุษบง พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต และหม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุล

หม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย

นาวาโท หม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2457 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2501) ผู้บังคับการเรือหลวงประแส (ลำที่ 1) ในสงครามเกาหลี เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร ประสูติแต่หม่อมเจ้าหญิงพร้อมเพราพรรณ ดิศกุล มีพระเชษฐาและพระขนิษฐาร่วมพระมารดา 6 องค์ หม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย เสกสมรสกับพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาวสิทธิ์นฤมล มีบุตรและธิดา คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัย

หม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชุมพล

หม่อมเจ้าอุปลีสาน ชุมพล โอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา ประสูติเมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชุมพล

หม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร

หม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2497) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี ที่ประสูติแต่หม่อมชื้น กัลยาณมิตร หม่อมเจ้าจิตรปรีดี เสกสมรสกับหม่อมหลวงเหมือนจันทร์ ดารากร มีบุตรธิดา 4 คน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตร

หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล

หม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล (3 สิงหาคม พ.ศ. 2429 — 23 กันยายน พ.ศ. 2521) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติในหม่อมนวม ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม โรจนดิศ) มีพระนามลำลองว่า "หญิงใหญ่" เมื่อทรงพระเยาว์ทรงเข้าไปอยู่ในพระราชสำนักของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี และมีความสามารถในการทำอาหารเป็นอย่างดี ด้วยความที่เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ในกรมพระยาดำรงราชานุภาพ จึงทรงมีหน้าที่ดูแลวังวรดิศ และประกอบพระกรณียกิจแทนพระบิดาขณะที่ไม่ได้ทรงอยู่ในพระนคร นอกจากนี้หม่อมเจ้าจงจิตรถนอมยังมีศักดิ์เป็นหลานสาวของเจ้าจอมมารดาชุ่มผู้เป็นย่า เมื่อนับจากบรรพบุรุษฝ่ายมารดาของเจ้าจอมมารดาชุ่ม ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปลี้ภัยที่ปีนัง ระหว่าง..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุล

หม่อมเจ้าธานีเสิกสงัด ชุมพล

หม่อมเจ้าธานีเสิกสงัด ชุมพล พระโอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์และหม่อมบุญยืน ชุมพล ณ อ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าธานีเสิกสงัด ชุมพล

หม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม

หม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม (17 สิงหาคม พ.ศ. 2427 - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2476) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ กับหม่อมเจ้าเม้า รองทรง พระธิดาในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารองทรง กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ ราชสกุลวังหน้าในรัชกาลที่ 2 ประสูติเมื่อ พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถม

หม่อมเจ้าทินทัต สุขสวัสดิ์

ร้อยเอก หม่อมเจ้าทินทัต สุขสวัสดิ์ (10 กรกฎาคม พ.ศ. 2433 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชกับหม่อมแช่ม สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา สมรสกับหม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าทินทัต สุขสวัสดิ์

หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร

หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร (15 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 28 มกราคม พ.ศ. 2510) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าหญิงอัปสรสมาน เทวกุล หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ เมื่อสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยบางขวางแล้ว ก็ทรงศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ (26 กันยายน พ.ศ. 2451 - 6 กันยายน พ.ศ. 2548) เป็นพระธิดาลำดับที่ 6 ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ลำดับที่ 2 อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีพระเชษฐภคินี พระอนุชาและพระขนิษฐาร่วมพระมารดา 4 พระองค์ คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์

หม่อมเจ้าดวงทิพย์โชติแจ้งหล้า อาภากร

หม่อมเจ้าดวงทิพย์โชติแจ้งหล้า อาภากร (ราชสกุลเดิม รพีพัฒน์) เป็นพระธิดาใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าดวงทิพย์โชติแจ้งหล้า อาภากร

หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร

ลเรือเอก หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร (22 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 - 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ กับหม่อมช้อย วิจิตรานุช ทรงรับราชการทหารเรือจนได้เป็นผู้บัญชาการทหารเรือ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร

หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล

ลตรี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล มีพระนามเล่นว่า อั๋น เป็นโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการกับหม่อมพุก ประสูติเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล

หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต

หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต ประสูติ ณ วังไม้ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2456 ทรงเป็นโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร (พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ ราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดา หม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์) และหม่อมเอลิซาเบท รังสิต ณ อยุธยา หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต ถึงชีพิตักษัยด้วยพระหทัยวาย ณ เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต

หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ

หม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณ

หม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์

หม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์ ทรงประสูติเมื่อ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2449 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์และหม่อมอ่อนมีพระเชษฐาพระภคินีและพระขนิษฐาร่วมพระมารดา คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และหม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์

อภิรดี ยิ่งเจริญ

ลเอกหญิง ท่านผู้หญิงอภิรดี ยิ่งเจริญ (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2469 -) คุณข้าหลวงใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และพระบรมวงศานุวงศ์ ท่านผู้หญิงอภิรดีเคยเป็นพระพี่เลี้ยงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เคยเป็นคุณข้าหลวงผู้ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และนายทหารราชองครักษ์พิเศษ มียศเป็นพลเอกหญิง ในประเทศไทยมีสามัญชนเพียงสองคนที่ดำรงตำแหน่ง "พลเอกหญิง" คือ พลเอกหญิง ท่านผู้หญิงอภิรดี ยิ่งเจริญ และ พลเอกหญิง ท่านผู้หญิงสุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และอภิรดี ยิ่งเจริญ

อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร

ลตำรวจตรีอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร พลตำรวจตรี นายกองใหญ่ อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร (หลวงอรรถสิทธิ์สิทธิสุนทร) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และองคมนตรีไทย พลตำรวจตรี อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร (11 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร

อรุณ กิติยากร ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิง อรุณ กิติยากร ณ อยุธยา (สกุลเดิม: สนิทวงศ์ ณ อยุธยา; 24 ธันวาคม พ.ศ. 2470 - 29 กันยายน พ.ศ. 2551) เป็นภริยาของหม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร พระเชษฐาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และอรุณ กิติยากร ณ อยุธยา

อรุณ สรเทศน์

ตราจารย์ อรุณ สรเทศน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และอรุณ สรเทศน์

อังกาบ บุณยัษฐิติ

ท่านผู้หญิงอังกาบ บุณยัษฐิติ เป็นผู้จัดการและผู้อำนวยการโรงเรียนจิตรลดา และเป็นอธิการบดีวิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรล.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และอังกาบ บุณยัษฐิติ

อาสา สารสิน

นายอาสา สารสิน (26 พฤษภาคม 2479 -) อดีตราชเลขาธิการในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และอดีต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และอาสา สารสิน

อุกฤษ มงคลนาวิน

ตราจารย์พิเศษ อุกฤษ มงคลนาวิน อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานวุฒิสภา อดีตประธานรัฐสภา ผู้ก่อตั้งสำนักงานทนายความอุกฤษ มงคลนาวิน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการอิสระเพื่ออำนวยความยุติธรรม และเสริมสร้างสิทธิเสรีภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (กอ.ยส.จชต.) และกรรมการสภากาชาดไทยนอกจากนั้นยังดำรงตำแหน่งประธานพีระยานุเคราะห์มูลนิธิ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อีกด้ว.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และอุกฤษ มงคลนาวิน

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และผิน ชุณหะวัณ

จรูญพันธ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

นายจรูญพันธ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 2 สมัย สมัยที่ 1 ตั้งแต่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และจรูญพันธ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา

รองศาสตราจารย์ จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา องคมนตรี และประธานกรรมการมูลนิธิสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อดีตเลขาธิการพระราชวัง อดีตผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์อดีตเลขาธิการและกรรมการมูลนิธิโครงการหลวง นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา

จิตรวดี จุลานนท์

ันเอกหญิง ท่านผู้หญิง จิตรวดี จุลานนท์ เป็นคู่สมรสของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 24 ของประเทศไท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และจิตรวดี จุลานนท์

จิตติ สุจริตกุล

ตติ สุจริตกุล อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร และอดีตรองปลัดกระทรวงการต่างประเท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และจิตติ สุจริตกุล

จินดา บุญยอาคม

นตา บุณอาคม นายจินตา บุณยอาคม (พ.ศ. 2457 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2530) เป็นอดีตประธานศาลฎีกา และองคมนตรีไท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และจินดา บุญยอาคม

จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

นายจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (15 ตุลาคม พ.ศ. 2472 — 29 กันยายน พ.ศ. 2549) เป็นอดีตองคมนตรี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และถนอม กิตติขจร

ถนัด คอมันตร์

.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ขณะกำลังให้สัมภาษณ์วิทยุบีบีซีภาคภาษาไทย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2457 – 3 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และถนัด คอมันตร์

ทวี มณีนุตร

ท่านผู้หญิงทวี มณีนุตร พระอภิบาลใน สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสบอุบัติเหตุ เฮลิคอปเตอร์ซูเปอร์พูม่า ตกที่จังหวัดนราธิวาส พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และทวี มณีนุตร

ทัศนาวลัย ศรสงคราม

ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม (สกุลเดิม: รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์; 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488) เป็นพระธิดาเพียงคนเดียวในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ กับพันเอกอร่าม รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ เป็นพระภาคิไนยในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และทัศนาวลัย ศรสงคราม

ทัศนีย์ บุณยคุปต์

ท่านผู้หญิง ดร.ทัศนีย์ บุณยคุปต์ มีชื่อเดิมว่า ท่านผู้หญิง ทัศนีย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนจิตรลดา เกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และทัศนีย์ บุณยคุปต์

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) จำนวน 200 สำรับ และฝ่ายใน (สตรี) จำนวน 100 สำรับ โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ

ท่านผู้หญิง

ท่านผู้หญิง เป็นคำนำหน้าใช้สำหรับสตรีผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น ปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ.) และ ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) ซึ่งนับเป็นเกียรติที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้แก่สตรีผู้นั้นเป็นกรณีพิเศษ มิได้ขอพระราชทานโดยรัฐบาล.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และท่านผู้หญิง

ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4)

ท้าววรจันทร บรมธรรมิกภักดี นารีวรคณานุรักษา (เจ้าจอมมารดาวาด) (11 มกราคม พ.ศ. 2384 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482) เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระเจ้าลูกยาเธอ 1 พระองค์ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา เจ้าจอมมารดาวาด มีนามเดิมว่า "แมว" เป็นบุตรของสมบุญ งามสมบัติ (มหาดเล็กในรัชกาลที่ 3) กับถ้วย งามสมบัติ (ท้าวปฏิบัติบิณฑทาน)กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4)

ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม ในรัชกาลที่ 5)

ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม มาลากุล) เป็นธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ เกิดเมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม ในรัชกาลที่ 5)

ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์แป้ม ในรัชกาลที่ 5)

ท้าววรคณานันท์ มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์แป้ม เป็นธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์แป้ม ในรัชกาลที่ 5)

ท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)

ท้าววนิดาพิจาริณี มีนามเดิมว่า บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม บุญธร; พ.ศ. 2429— 2 มีนาคม พ.ศ. 2513) เป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)

ท้าวสมศักดิ์ (เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 4)

ท้าวสมศักดิ์ นามเดิม เหม (พ.ศ. 2382 — 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465) เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติการพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ ต้นราชสกุลโศภางค์ ณ อ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และท้าวสมศักดิ์ (เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 4)

ท้าวทรงกันดาล (เจ้าจอมมารดาหุ่น ในรัชกาลที่ 4)

ท้าวทรงกันดาล (เจ้าจอมมารดาหุ่น) (เกิด: พ.ศ. 2383 — อนิจกรรม: 16 มีนาคม พ.ศ. 2466) เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ให้ประสูติพระราชโอรสพระองค์เดียว คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์ ต้นราชสกุลสวัสดิกุล ณ อ.พลายน้อ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และท้าวทรงกันดาล (เจ้าจอมมารดาหุ่น ในรัชกาลที่ 4)

ขวัญแก้ว วัชโรทัย

นายขวัญแก้ว วัชโรทัย (ขวา) และนายแก้วขวัญ วัชโรทัย (ซ้าย) ขวัญแก้ว วัชโรทัย (3 กันยายน พ.ศ. 2471 - 28 มกราคม พ.ศ. 2560) เป็นอดีตรองเลขาธิการพระราชวัง เป็นคู่แฝดกับแก้วขวัญ วัชโรทัย อดีตเลขาธิการพระราชวัง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และขวัญแก้ว วัชโรทัย

ขจร ภะรตราชา

ท่านผู้หญิง ขจร ภะรตราชา ท่านผู้หญิง ขจร ภะรตราชา เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ ๒๑ กรกฎาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และขจร ภะรตราชา

คลี่ บุนนาค

้าคุณคลี่ (ไม่ปรากฏ - 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2449) เป็นธิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค) ท่านผู้หญิงน้อย บุนน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และคลี่ บุนนาค

ตุ่น โกศัลวิตร

ท่านผู้หญิงตุ่น โกศัลวิตร (25 มิถุนายน พ.ศ. 2453 - 18 เมษายน พ.ศ. 2549) (นามเดิม:ตุ่น จังกาจิตต์) เกิดเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2453 เป็นบุตรของนายโป๊ะ กับนางเกษ จังกาจิตต์ สมรสกับนายวิชิต โกศัลวิตร มีบุตรธิดา 6 คน ท่านผู้หญิงตุ่น เป็นผู้มีจิตศรัทธาในพระพุทธศาสนา และมีความจงรักภักดี ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นอย่างมาก โดยได้บริจาคเงิน เพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรม อันเป็นสาธารณกุศล และสาธารณประโยชน์อย่างสม่ำเสมอ ทั้งในด้านการศาสนา การศึกษา รวมทั้ง การสาธารณสุข ท่านผู้หญิงตุ่น ถึงแก่อนิจกรรม ด้วยโรคติดเชื้อในกระแสโลหิต เมื่อวันที่ 18 เมษายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และตุ่น โกศัลวิตร

ฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี

ท่านผู้หญิงฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี (นามเดิม: หม่อมเจ้าฉัตรสุดา ฉัตรไชย; เกิด: 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463 — ถึงแก่อนิจกรรม 21 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี

ประกอบ หุตะสิงห์

144x144px ศาสตราจารย์ ประกอบ หุตะสิงห์ (พ.ศ. 2455 - 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) อดีตประธานศาลฎีกา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รองนายกรัฐมนตรี นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และองคมนตรีไทย ประกอบ หุตะสิงห์ เป็นบุตรของพระยาสรรพกิจเกษตรการ กับคุณหญิง ศวง สรรพกิจ เขาเข้าศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม และ เป็นนักเรียนไทยรุ่นแรกๆ ที่ไปศึกษาด้านนิติศาสตร์ จากประเทศเยอรมัน เมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และประกอบ หุตะสิงห์

ประภาส จารุเสถียร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ พลตำรวจเอก ประภาส จารุเสถียร (5 ธันวาคม พ.ศ. 2455 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตอธิบดีกรมตำรวจ และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และประภาส จารุเสถียร

ประมาณ อดิเรกสาร

ลเอก พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553) นักการเมืองไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคยเป็นสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลา เมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และประมาณ อดิเรกสาร

ปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา

ัชกรหญิง ท่านผู้หญิง ปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 เป็นเภสัชกรชาวไทย เป็นบุตรีของพระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์) และคุณหญิงจำรัส วิทุรธรรมพิเนตุ (จำรัส ยอดมณี) จบการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และปรีดี พนมยงค์

ปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา

นายปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา ประธานกรรมการ เครือแปซิฟิก ผู้รับสัมปทานดำเนินการ สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบก จส.100 และประธานกรรมการ บริษัท แอดวานซ์ พับลิชชิ่ง จำกัด ผู้ผลิตนิตยสารดิฉัน และ คอสโมโพลิแทน (Cosmopolitan).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา

นพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา

ตราจารย์ ท่านผู้หญิง นพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา ป.., ป.ม., ท..ว. นามเดิม โนบุโกะ ทาคากิ อดีตอาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาอังกฤษในเพลงพระราชนิพนธ์ Falling Rain (สายฝน), Near Dawn (ใกล้รุ่ง), Lullaby (ค่ำแล้ว).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา

นิรมล สุริยสัตย์

ท่านผู้หญิงนิรมล สุริยสัตย์ (4 พฤศจิกายน 2475 - 5 เมษายน 2545) ป.., ป.ม., ท..ว. บุคคลผู้ทำคุณประโยชน์ อดีตประธานกรรมการบริษัท โตชิบา ไทยแลนด์ จำกัด และอดีตสมาชิกวุฒิสภา 2 วาระ ระหว่าง พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และนิรมล สุริยสัตย์

แก้วขวัญ วัชโรทัย

นายแก้วขวัญ วัชโรทัย (ซ้าย) และนายขวัญแก้ว วัชโรทัย (ขวา) แก้วขวัญ วัชโรทัย (3 กันยายน พ.ศ. 2471 - 15 กันยายน พ.ศ. 2559) อดีตเลขาธิการพระราชวัง ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และแก้วขวัญ วัชโรทัย

แผ้ว สนิทวงศ์เสนี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา และหม่อมแผ้ว ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี (25 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และแผ้ว สนิทวงศ์เสนี

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และแปลก พิบูลสงคราม

เพ็ชรา เตชะกัมพุช

ตราจารย์พิเศษ ทันตแพทย์หญิง ท่านผู้หญิง เพ็ชรา เตชะกัมพุช ทันตแพทย์ประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช,ประธานกรรมการมูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์,ผู้อำนวยการหน่วยทันตกรรมพระราชทาน,อดีตคณบดีคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,ประธานกรรมการแผนกทันตแพทยศาสตร์ มูลนิธิอานันทมหิดล.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเพ็ชรา เตชะกัมพุช

เกษม ศรีพยัคฆ์

กษม ศรีพยัคฆ์ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2446 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2508) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์และรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเกษม ศรีพยัคฆ์

เกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

ท่านผู้หญิงเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (13 สิงหาคม พ.ศ. 2465) นางสนองพระโอษฐ์และมาตุลานี (น้าสะใภ้) ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9 ท่านผู้หญิงเกนหลง เกิดเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

เภา สารสิน

ลตำรวจเอก เภา สารสิน (18 กรกฎาคม พ.ศ. 2472 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2556) อดีตรองนายกรัฐมนตรี, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตอธิบดีกรมตำรวจ ในระหว่างปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเภา สารสิน

เลอศักดิ์ สมบัติศิริ

ท่านผู้หญิง เลอศักดิ์ สมบัติศิริ (20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2462 — 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553) อดีตประธานกิตติมศักดิ์ บริษัท โรงแรมปาร์คนายเลิศ จำกัด, อดีตเจ้าของโรงแรมสวิสโซเทลปาร์คนายเลิศ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมหญิงคนแรกของไท.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเลอศักดิ์ สมบัติศิริ

เสริม วินิจฉัยกุล

ริม วินิจฉัยกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตปลัดกระทรวงการคลัง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเสริม วินิจฉัยกุล

เจือทอง อุรัสยะนันทน์

ท่านผู้หญิงเจือทอง อุรัสยะนันทน์ เป็นบุตรีของนายเท้ง-นางจู กรีทอง คหบดีชาว จังหวัดสมุทรสาคร เป็นพี่คนโต ในจำนวนพี่น้อง 6 คน เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2463 ณ บ้านเลขที่ 114 ตำบลท่าฉลอม อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เริ่มการศึกษาชั้น ประถม ที่โรงเรียนสาครวิทยา ชั้นมัธยมต้นที่โรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลัยจนสำเร็จ ประโยคครู ประถมสามัญ จึงได้เข้ารับราชการเป้นครูในกรมสามัญศึกษา และออกไปเป็นครูที่โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล ซึ่งเป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดปัตตานี ต้นปีการศึกษ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจือทอง อุรัสยะนันทน์

เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)

อมพล เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) (14 เมษายน พ.ศ. 2399 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464) ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)

เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)

มหาอำมาตย์นายก มหาเสวกเอก นายพลเสือป่า นายพันเอก นายนาวาอากาศเอก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2405 - 30 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)

เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา; 31 มีนาคม พ.ศ. 2405 - 26 มกราคม พ.ศ. 2484) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)

เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)

้าพระยาวงศานุประพัทธ์ เมื่อ พ.ศ. 2465 ภาพล้อเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6 ทรงวาดจากภาพต้นฉบับด้านบน มหาอำมาตย์เอก พลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (นามเดิม:หม่อมราชวงศ์สท้าน หรือ หม่อมราชวงศ์กลาง) (24 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

เจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร) เป็นอดีตเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และอดีตข้าหลวงใหญ่แห่งมณฑลพายัพในสมัยรัชกาลที่ 5.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร)

เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล)

้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) เป็นบุตรพระยาราชภักดี (โค) ซึ่งเป็นน้องชายของสมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม) และคุณหญิงราชภักดี (ทองศุข สุจริตกุล) และมีน้องสาวเพียงคนเดียว คือ คุณท้าววนิดาพิจาริณี (เจ้าจอมเพิ่ม ในรัชกาลที่ 5) เกิดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล)

เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)

ล้อเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี ฝีพระหัตถ์ รัชกาลที่ 6 มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี มีนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล อดีตเสนาบดีกระทรวงวัง (ปัจจุบันคือสำนักพระราชวัง เทียบเท่าตำแหน่งเลขาธิการสำนักพระราชวัง) ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)

เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาชุ่ม ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (สกุลเดิม โรจนดิศ, พ.ศ. 2387 - พ.ศ. 2466) เป็นเจ้าจอมมารดาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เจ้าจอมมารดาชุ่ม เกิดเมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 4

เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 5 เป็นธิดาของพระมงคลรัตน์ราชมนตรี (ช่วง ไกรฤกษ์) กับ ไข่ มงคลรัตน์ราชมนตรี เกิดเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดากลิ่น หรือเจ้าจอมมารดาซ่อนกลิ่น (บางแห่งสะกดว่า ส้อนกลิ่น).พลายน้อ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4

เจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดามรกฎ (พ.ศ. 2398 - พ.ศ. 2458) เป็นบุตรีของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) กับ ท่านผู้หญิงมหินทรศักดิ์ธำรง (หุ่น) (ธิดาพระยานครอินทร์รามัญ) เจ้าจอมมารดามรกฎ มีพระโอรสธิดา 2 พระองค์ คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 5

ระนมปริก เจ้าจอมมารดาวาด พระสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาคนที่ 3 ของนายเสถียรรักษา (เที่ยง) คหบดีเชื้อสายรามัญ กับพระนมปริก (ธิดาพระยาอิศรานุภาพ (ขุนเณรน้อย) กับนางขำ) พระนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าจอมมารดาวาด มีพระเจ้าลูกยาเธอ 1 พระองค์ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมมารดาจีน

้าจอมมารดาจีน เป็นหม่อมห้ามในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี เจ้าจอมมารดาจีน มีธิดา 3 พระองค์ ซึ่งในภายหลังได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้ง 3 พระอง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมมารดาจีน

เจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาตลับ (สกุลเดิม: เกตุทัต; เกิด: พ.ศ. 2395 — อนิจกรรม: 9 มิถุนายน พ.ศ. 2472) เป็นธิดาคนโตของพระยาเวียงในนฤบาล (หรั่ง เกตุทัต) กับภรรยาชื่ออิ่ม ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เธอจึงได้ถวายตัวเป็นพระสนมสิบสองพระกำนัลตามโบราณราชประเพณี ต่อมาได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำ มีบรรดาศักดิ์เป็น "เจ้าจอมตลับ" และหลังจากประสูติพระราชธิดาพระองค์แรกจึงได้มีศักดิ์เป็น "เจ้าจอมมารดาตลับ" มีพระราชโอรสและพระราชธิดารวม 2 พระองค์ คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมมารดาแช่ม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาแช่ม ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ท่านเป็นธิดาของพระยามหาอำมาตย์ (ชื่น กัลยาณมิตร) กับ แจ่ม มหาอำมาตย์ เกิดเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมมารดาแช่ม ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2411 เป็นธิดารุ่นเล็กของพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ) กับบาง อัพภันตริกามาตย์ มีพี่น้องร่วมบิดาที่รับราชการฝ่ายใน ดังนี้.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5 สกุลเดิม นิยะวานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2418 ที่บ้านบางขุนพรหมในพระนคร เป็นบุตรีของพระนรินทราภรณ์ (ลอย นิยะวานนท์) กับ ปริก โดยปู่ของท่านเป็นน้องชายของเจ้าจอมมารดาอำพา ในรัชกาลที่ 2 (พระมารดาของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์ ต้นราชสกุลกปิตถา และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ ต้นราชสกุลปราโมช) เมื่อท่านอายุได้ 9 ปี ได้เข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวัง กับ เจ้าจอมมิ ในรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นลูกของป้าท่าน แล้วจึงถวายตัวแด่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินินาถ แล้วได้เป็นละครหลวง ต่อมาทรงพระกรุณาให้เป็นเป็นเจ้าจอม ประสูติพระเจ้าลูกเธอรวม 2 พระองค์ คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาเหม อมาตยกุล (21 กันยายน พ.ศ. 2407 - 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมารดาของพระองค์เจ้าชายหนึ่งพระองค์ (ไม่ประสูติเป็นพระองค์) และพระองค์เจ้าหญิงเหมวดี ท่านเป็นผู้รักการดนตรี และได้สนิทสนมกับพระราชชายา เจ้าดารารัศมีเป็นพิเศษ เจ้าจอมมารดาเหมเป็นธิดาคนโตของพระยาธรรมสารนิติวิชิตภักดี (พลับ อมาตยกุล)และท่านขรัวยายแสง เกิดในสมัยรัชกาลที่ 4 ที่บ้านหน้าวัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) เมื่อวันพุธ แรม 6 ค่ำ เดือน 10 ปีชวด ตรงกับวันที่ 21 กันยายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาเที่ยง ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2374 - พ.ศ. 2456) เป็นเจ้าจอมมารดาของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป เจ้าจอมมารดาเที่ยง เกิดเมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4

เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ (6 มีนาคม พ.ศ. 2433 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2526) เป็นเจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนั้นท่านยังเป็นคนสุดท้ายที่ได้ร้องเพลง นางร้องไห้ และเจ้าจอมคนสุดท้ายของราชวงศ์จักรีที่ยังดำรงชีพและถึงแก่อนิจกรรมในรัชกาลที่9.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมจันทร์ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมจันทร์ เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดเมื่อปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมจันทร์ ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5 (สกุลเดิม บุนนาค) (22 เมษายน พ.ศ. 2422 - 11 สิงหาคม พ.ศ. 2487) เป็นเจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นหนึ่งในเจ้าจอมก๊กออที่ทรงโปรดปรานเป็นพิเศษ เจ้าจอมเอิบ เกิดในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อที่ 22 เมษายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5

้าจอมเอื้อน (ขวา) และเจ้าจอมอาบ (ซ้าย) เจ้าจอมเอื้อน (พ.ศ. 2430 - พ.ศ. 2470) เจ้าจอมพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นเจ้าจอมคนสุดท้องในเจ้าจอมก๊กออจากสกุลบุนน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5

เจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5

ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉายกับ เจ้าจอมเอี่ยม (กลางภาพ) เจ้าจอมอาบ (ซ้าย) และเจ้าจอมเอื้อน (ซ้าย) เจ้าจอมเอี่ยม บุนนาค (12 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

รื่องหมายแพรแถบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ คือ เหรียญ และตรา อันเป็นเครื่องประดับยศ เกิดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงเรียกว่า "เครื่องราชอิสริยยศ" เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ทรงสร้างเครื่องราชอิสริยยศขึ้นอีกหลายตระกูล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เปลี่ยนจากคำว่า "เครื่องราชอิสริยยศ" มาเป็นคำว่า "เครื่องราชอิสริยาภรณ์" สำหรับพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดีให้แก่ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ทั้งที่เป็นบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มี ๔ ประเภท ดังนี้.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

เครื่องอิสริยาภรณ์

รื่องอิสริยาภรณ์ คือ เหรียญ และตรา อันเป็นเครื่องประดับยศของฝรั่งเศส และ สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) และจากนั้นได้แพร่หลายไปยังประเทศที่มีราชวงศ์ เครื่องอิสริยาภรณ์จากประเทศที่มีกษัตริย์เรียกว่า เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ส่วนประเทศที่ไม่มีกษัตริย์เรียกว่า เครื่องอิสริยาภรณ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)และเครื่องอิสริยาภรณ์

พ.ศ. 2537พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2541พ.ศ. 2542พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2550พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์)พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารำไพประภาพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภาพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศวโรทัยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตรพระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผันพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพักตร์พิมลพรรณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจนากรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภัทรายุวดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาณีรัตนกัญญาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุจิตราภรณีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัจฉรพรรณีรัชกัญญาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยาลังการพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประพาฬรัศมีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประสานศรีใสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเวศวรสมัยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวงพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเจริญศรีชนมายุพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุดาสวรรค์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริรัตนบุษบงพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธวงษวิจิตรพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรพัทธ์ประไพพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิตพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุไรรัตนศิริมานพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคลพลากร สุวรรณรัฐพันธุ์สวลี กิติยากรพูนศุข พนมยงค์พูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยาพูนเพิ่ม ไกรฤกษ์พจน์ สารสินพ่วง สุวรรณรัฐกัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยากำธน สินธวานนท์มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์มีชัย วีระไวทยะมนัสนิตย์ วณิกกุลราชสกุลละเอียด พิบูลสงครามวิระยา ชวกุลวิไล อมาตยกุลศรีนาถ สุริยะสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยาสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สัญญา ธรรมศักดิ์สิทธิ เศวตศิลาสินธู ศรสงครามสุมาลี จาติกวณิชสุรยุทธ์ จุลานนท์สุริยนันทนา สุจริตกุลสุรเกียรติ์ เสถียรไทยสุรเทิน บุนนาคสุธาวัลย์ เสถียรไทยสง่า อิงคุลานนท์หม่อมราชวงศ์บุษบา สธนพงศ์หม่อมราชวงศ์บุตรี วีระไวทยะหม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตรหม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากรหม่อมราชวงศ์ยงสวาสดิ์ กฤดากรหม่อมราชวงศ์สุจิตคุณ สารสินหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากรหม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่หม่อมราชวงศ์จีริกัญญา โชติกเสถียรหม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชหม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์หม่อมหลวงมณีรัตน์ บุนนาคหม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคลหม่อมหลวงอัศนี ปราโมชหม่อมหลวงจรัญ สนิทวงศ์หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์หม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยาหม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์)หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยาหม่อมเจ้าหม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์หม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากรหม่อมเจ้าบุญจิราธร จุฑาธุชหม่อมเจ้ากมลปราโมทย์ เทวกุลหม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนีหม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุลหม่อมเจ้าวิมวาทิตย์ รพีพัฒน์หม่อมเจ้าวินิตา รพีพัฒน์หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุลหม่อมเจ้าสุวินิต กิติยากรหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากรหม่อมเจ้าอาชวดิศ ดิศกุลหม่อมเจ้าอุทัยเฉลิมลาภ วุฒิชัยหม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชุมพลหม่อมเจ้าจิตร์ปรีดี ประวิตรหม่อมเจ้าจงจิตรถนอม ดิศกุลหม่อมเจ้าธานีเสิกสงัด ชุมพลหม่อมเจ้าทองเชื้อธรรมชาติ ทองแถมหม่อมเจ้าทินทัต สุขสวัสดิ์หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากรหม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์หม่อมเจ้าดวงทิพย์โชติแจ้งหล้า อาภากรหม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากรหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลหม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิตหม่อมเจ้านิตยากร วรวรรณหม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์อภิรดี ยิ่งเจริญอรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทรอรุณ กิติยากร ณ อยุธยาอรุณ สรเทศน์อังกาบ บุณยัษฐิติอาสา สารสินอุกฤษ มงคลนาวินผิน ชุณหะวัณจรูญพันธ์ อิศรางกูร ณ อยุธยาจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยาจิตรวดี จุลานนท์จิตติ สุจริตกุลจินดา บุญยอาคมจุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยาถนอม กิตติขจรถนัด คอมันตร์ทวี มณีนุตรทัศนาวลัย ศรสงครามทัศนีย์ บุณยคุปต์ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษท่านผู้หญิงท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 4)ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์ปั้ม ในรัชกาลที่ 5)ท้าววรคณานันท์ (เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์แป้ม ในรัชกาลที่ 5)ท้าววนิดาพิจาริณี (บาง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา)ท้าวสมศักดิ์ (เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 4)ท้าวทรงกันดาล (เจ้าจอมมารดาหุ่น ในรัชกาลที่ 4)ขวัญแก้ว วัชโรทัยขจร ภะรตราชาคลี่ บุนนาคตุ่น โกศัลวิตรฉัตรสุดา วงศ์ทองศรีประกอบ หุตะสิงห์ประภาส จารุเสถียรประมาณ อดิเรกสารปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยาปรีดี พนมยงค์ปีย์ มาลากุล ณ อยุธยานพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยานิรมล สุริยสัตย์แก้วขวัญ วัชโรทัยแผ้ว สนิทวงศ์เสนีแปลก พิบูลสงครามเพ็ชรา เตชะกัมพุชเกษม ศรีพยัคฆ์เกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยาเภา สารสินเลอศักดิ์ สมบัติศิริเสริม วินิจฉัยกุลเจือทอง อุรัสยะนันทน์เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร)เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล)เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมมารดาชุ่ม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาวาด ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาจีนเจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาแช่ม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาแส ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาเลื่อน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาเหม ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมจันทร์ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเอิบ ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเอื้อน ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมเอี่ยม ในรัชกาลที่ 5เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยเครื่องอิสริยาภรณ์