เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ

ดัชนี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพ (ประสูติ: 26 เมษายน พ.ศ. 2424 — สิ้นพระชนม์: 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระราชธิดาลำดับที่ 31 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ ธิดาของพระยาราชสัมภารากร (เทศ) ประสูติวันอังคาร เดือน 5 แรม 13 ค่ำ ปีมะเส็ง ตรีศก จุลศักราช 1243 ตรงกับวันที่ 26 เมษายน..

สารบัญ

  1. 24 ความสัมพันธ์: พระบรมมหาราชวังพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)พระราชวังดุสิตพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาราชวงศ์จักรีลำไส้ใหญ่วังบางขุนพรหมวังวาริชเวสม์สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เหรียญรัตนาภรณ์เจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 5เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

  2. ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว. (ฝ่ายใน)

พระบรมมหาราชวัง

ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและพระบรมมหาราชวัง

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)

ระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2365-16 ตุลาคม พ.ศ. 2434) เป็นชาวฉะเชิงเทรา ท่านได้รับสมญาว่าเป็นศาลฎีกาภาษาไทย เป็นผู้แต่งตำราเรียนชุดแรกของไทย เรียกว่า "แบบเรียนหลวง" ใช้สอนในโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ และหนังสือกวีนิพนธ์ที่มีคุณค่าอีกหลายเรื่อง งานชิ้นสำคัญชิ้นหนึ่ง คือท่านได้รับแต่งตั้งให้เป็น แม่กองตรวจโคลงบรรยายประกอบรูปภาพเรื่อง "รามเกียรติ์" รอบระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อครั้งกรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ 100 ปี และตัวท่านเองก็ได้รับหน้าที่เป็นผู้แต่งด้วยท่านหนึ่ง.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)

พระราชวังดุสิต

ระราชวังดุสิต ตั้งอยู่ที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นที่เสด็จประทับชั่วคราว เนื่องจากภายในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับนั้น ประกอบด้วย พระราชมณเฑียร หมู่พระตำหนัก หมู่เรือนในเขตพระราชฐานชั้นใน และหมู่เรือนข้าราชบริพาร ปลูกสร้างอยู่กันอย่างแออัด ปิดทางลม ทำให้ที่ประทับร้อนจัด ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตลอดทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทรงพระประชวรกันเสมอ ต่อมา จึงสร้างขึ้นเพื่อเป็นพระราชวังที่ประทับถาวรจนตลอดรัชกาล โดยได้สร้างแล้วเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและพระราชวังดุสิต

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์ ประสูติวันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2424 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 กับเจ้าจอมมารดาเรือน (สุนทรศารทูล) สิ้นพระชนม์วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพิสมัยพิมลสัตย์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร (25 มิถุนายน พ.ศ. 2434 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2525) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ เจ้าจอมมารดาพร้อม ประสูติเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (Suan Sunandha Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ถูกจัดอันดับมหาวิทยาลัยให้เป็นราชภัฏอันดับ 1 จากการจัดอันดับของสภาวิจัยจากประเทศสเปน สหภาพยุโรป และได้รับการติดจาก QS Star ประเทศอังกฤษ ในระดับ 2 ดาว ซึ่งหมายความว่าเป็นที่พูดถึงในระดับนานาชาติจำนวนมาก เป็นที่รู้จักในวงกว้างของสถาบันที่นำเสนองานวิจัยระดับนานาชาติ (เป็นราชภัฏเพียงแห่งเดียวจาก 38 แห่งทั่วประเทศไทยที่ได้รับการติดดาวQS) นอกจากนี้ยังมี สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ได้รับดาวจาก QS โดยสวนสุนันทาตั้งเป้าไว้ที่จะได้รับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกจาก QS ซึ่งเป็นที่ยอมรับในสากลเรื่องของการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก มหาวิทยาลัยแห่งนี้มีรากฐานมาจากการสถาปนา "โรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลัย" เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและราชวงศ์จักรี

ลำไส้ใหญ่

ลำไส้ใหญ่ (Colon) เป็นอวัยวะที่อยู่ในระบบทางเดินอาหาร ลำไส้ใหญ่ของคนมีความยาวประมาณ 1.5 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6 เซนติเมตร แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและลำไส้ใหญ่

วังบางขุนพรหม

วังบางขุนพรหม เป็นวังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ต้นราชสกุลบริพัตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี พระมารดา วังบางขุนพรหมอยู่ในเนื้อที่ 33 ไร่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศใต้ของวังเทวะเวสม์ วังบางขุนพรหม มีตำหนักรวม 2 ตำหนัก ได้แก่ ตำหนักใหญ่ และตำหนักสมเด็จ โดยตำหนักใหญ่ ก่อสร้างขึ้นในปี..

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและวังบางขุนพรหม

วังวาริชเวสม์

วังวาริชเวสม์ วังวาริชเวสม์ ตั้งอยู่ที่ซอยสุโขทัย 6 ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2476 (1 ปี ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง) เพื่อเป็นที่ประทับของพระองค์เจ้าวาปีบุษบากร พระธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโดยมีพระสาโรชรัตนนิมมานก์ สถาปนิกไทยรุ่นบุกเบิกที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศเป็นผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง ปัจจุบัน วังวาริชเวสม์ เป็นอาคารอนุรักษ์ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และครอบครองการใช้ประโยชน์โดยบริษัทแม็ทชิ่ง สตูดิโอ จำกัด (มหาชน).

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและวังวาริชเวสม์

สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์

มเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2355 - 29 เมษายน พ.ศ. 2382) ต้นราชสกุลศิริวงศ์ เป็นพระชนกของสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ เดิมมีพระนามว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 6 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และลำดับที่ 1 ในเจ้าจอมมารดาทรัพย์ ธิดาพระอักษรสมบัติ (ทับ) กับผ่อง ณ พัทลุง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน..

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์

สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี

มเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี (พระยศเดิม:สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าบุญรอด; พระราชสมภพ: 21 กันยายน พ.ศ. 2310 — สวรรคต: 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

มเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระนามเดิม:หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์; 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 — 9 กันยายน พ.ศ. 2404) เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) จำนวน 200 สำรับ และฝ่ายใน (สตรี) จำนวน 100 สำรับ โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไท.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

รงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นโรงพยาบาลสังกัดสภากาชาดไทย ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2457 ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นที่ตั้งและที่ดำเนินการเรียนการสอนให้กับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือเป็นโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์แห่งที่สองของประเทศไทย นอกจากนี้คณาจารย์สังกัดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยังปฏิบัติหน้าที่เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ด้ว.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและเหรียญรัตนาภรณ์

เจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 5 เป็นธิดาของพระยาราชสัมภารากร (เทศ สุกุมลจันทร์) กับ คุณหญิงราชสัมภารากร (อ่ำ) ท่านเกิดเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและเจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 5

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ.

ดู พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงศ์ประไพและเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

ดูเพิ่มเติม

ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว. (ฝ่ายใน)

หรือที่รู้จักกันในชื่อ พระองค์เจ้าศศิพงประไพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศศิพงประไพ