เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

ดัชนี รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก.

สารบัญ

  1. 232 ความสัมพันธ์: ชาร์ล เดอ โกลพ.ศ. 2436พ.ศ. 2445พ.ศ. 2447พ.ศ. 2449พ.ศ. 2450พ.ศ. 2454พ.ศ. 2460พ.ศ. 2468พ.ศ. 2472พ.ศ. 2474พ.ศ. 2476พ.ศ. 2477พ.ศ. 2480พ.ศ. 2492พ.ศ. 2497พ.ศ. 2503พ.ศ. 2506พ.ศ. 2511พ.ศ. 2549พ.ศ. 2556พระบรมวงศานุวงศ์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระมหากษัตริย์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศวโรทัยพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดาพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉายเฉิด กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยาพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีพระนางเธอลักษมีลาวัณพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชมพูนุท กรมขุนเจริญผลพูลสวัสดิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุตรี กรมหลวงวรเสรฐสุดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากินรีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์... ขยายดัชนี (182 มากกว่า) »

ชาร์ล เดอ โกล

ร์ล อ็องเดร โฌแซ็ฟ มารี เดอ โกล (Charles André Joseph Marie de Gaulle) หรือ ชาร์ล เดอ โกล (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนายทหารและรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นที่รู้จักในนาม นายพลเดอ โกล ก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และชาร์ล เดอ โกล

พ.ศ. 2436

ทธศักราช 2436 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1893 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2436

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2445

พ.ศ. 2447

ทธศักราช 2447 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1904 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2447

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2449

พ.ศ. 2450

ทธศักราช 2450 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1907 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2450

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2454

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2460

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2468

พ.ศ. 2472

ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2472

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2474

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2476

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2477

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2480

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2492

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2497

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2503

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2506

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2511

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2549

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพ.ศ. 2556

พระบรมวงศานุวงศ์

ระบรมวงศานุวงศ์ในรัชกาลที่ 9 ภายในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พระบรมวงศานุวงศ์ หมายถึง พระประยูรญาติใหญ่น้อยทั้งหมดทุกราชสกุลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยประกอบด้วย 2 คำ คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระบรมวงศานุวงศ์

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระมหากษัตริย์

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

ลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ (24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 - 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495) อดีตรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานองคมนตรี ประสูติ ณ วังท้ายวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อวันอาทิตย์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง จุลศักราช 1242 ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าลำดับที่ 5 ของจำนวนพระโอรสและพระธิดาทั้งสิ้น 37 พระองค์ ใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และเป็นลำดับที่ 3 ในจำนวน 3 พระองค์ของหม่อมมารดา คือ หม่อมขาบ พุทธศักราช 2473 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โดยมีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ ครุฑนาม ทรงศักดินา 3000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พุทธศักราช 2495 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ครุฑนาม ทรงศักดินา 11000 ตามอย่างธรรมเนียม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมทั้งปวง และให้ทรงตั้งเจ้ากรมเป็นหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ถือศักดินา 500 ปลัดกรมเป็นพันบริรักษ์ภูเบศร ถือศักดินา 300 สมุห์บัญชีเป็นพันวิเศษพลขันธ์ ถือศักดินา 200 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ประชวรด้วยพระโรคไข้ไทฟอยด์ โดยมีพระอาการหนักจนถึงสิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในวันที่ 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 สิริรวมพระชันษา 72 ปี 1 เดือน 26 วัน ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงพระศพออกเมรุ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2496 ในระหว่างพระชนม์ชีพ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ได้ทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองคุณมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จออกไปจัดระเบียบกองทหารสำหรับประจำรักษาหัวเมืองในมณฑลภาคพายัพ ตามพระบรมราโชบายเพื่อรักษาความปลอดภัยแห่งพระราชอาณาเขต อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อความไม่สงบของพวกเงี้ยวในภาคเหนือ จนได้ดำรงพระยศและพระตำแหน่งเป็นนายพลตรีผู้บัญชาการกองพลที่ 7 มณฑลพิษณุโลก ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงเป็นแม่ทัพกองที่ 2 และนายพลโทแม่ทัพกองทัพน้อยทหารบกที่ 2 ครั้นถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 7 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายกลับเข้ามาในพระนครเพื่อให้ทรงเป็น จเรทหารบก เสนาธิการทหารบก และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม จนกระทั่งพ้นจากหน้าที่ราชการเมื่อคณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ดำรงพระฐานะเป็น "นายทหารนอกราชการ" และ "นายทหารพ้นราชการ" อยู่นานถึงประมาณ 15 ปี จนกระทั่ง ปีพุทธศักราช 2490ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้กลับมารับพระราชทานสนองพระราชภาระงานฝ่ายพระมหากษัตริย์ให้ทรงดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ อภิรัฐมนตรี คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ องคมนตรี และประธานองคมนตรี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร

ระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล" (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 8 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์

ลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์ (3 กันยายน พ.ศ. 2386 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2441) พระนามเดิม หม่อมเจ้าขจร มาลากุล อดีตผู้บัญชาการกรมทหารเรือระหว่าง 8 เมษายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัสวงษ์ กรมหมื่นปราบปรปักษ์

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ

ลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ (4 มกราคม พ.ศ. 2440 — 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) พระนามเดิม หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ และหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร เป็นพระบิดาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศวโรทัย

มหาอำมาตย์เอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย หรือ หม่อมเจ้าไตรทศประพันธ์ เทวกุล (11 สิงหาคม 2426 - 5 กุมภาพันธ์ 2486) อดีตเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ประสูติแต่ หม่อมลม้าย เทวกุล ณ อยุธยา ต่อมาได้รับการเฉลิมพระนามเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ เสกสมรสกับ หม่อมเพี้ยน เทวกุล ณ อยุธยา มีโอรส-ธิดา 12 คน คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไตรทศประพันธ์ กรมหมื่นเทววงศวโรทัย

พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา

ระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าสาย ลดาวัลย์; ประสูติ: 4 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา

พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉายเฉิด กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์

ระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉายเฉิด กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าชายขาว เป็นพระโอรสในสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ กับหม่อมเชย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉายเฉิด มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่า หม่อมเจ้าชายขาว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานนามใหม่ว่า "ฉายเฉิด" ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงได้รับสถาปนา เลื่อนพระยศเป็น พระประพันธวงษ์เธอ พระองค์เจ้าฉายเฉิด เมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉายเฉิด กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย์

พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา

ระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา พระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อแรกประสูติมีพระนามว่า หม่อมเจ้าหญิงบัว ลดาวัลย์ เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน เมื่อวันอาทิตย์ ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา

พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (15 เมษายน พ.ศ. 2448 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ บุตรีของพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) กับคุณเล็ก บุนนาค ต่อมาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า สุวัทนา ได้เข้ารับราชการฝ่ายใน ในตำแหน่งเจ้าจอมสุวัทนา และได้รับการสถาปนาเป็น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ พระองค์ได้ให้ประสูติการแก่พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลคือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี แต่หลังจากประสูติพระเจ้าลูกเธอได้เพียงหนึ่งวัน พระราชสวามีได้สวรรคตลง พระองค์และพระธิดาจึงได้เสด็จไปประทับยังสหราชอาณาจักรกว่า 20 ปี ภายหลังจึงได้เสด็จนิวัตประเทศไทยโดยพำนักในวังรื่นฤดี เป็นการถาวรตั้งแต่ปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

พระนางเธอลักษมีลาวัณ

ระนางเธอลักษมีลาวัณ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 – 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าวรรณพิมล วรวรรณ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมหลวงตาด วรวรรณ (สกุลเดิม มนตรีกุล) ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระขนิษฐาต่างชนนีของอดีตพระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี พระองค์เป็นผู้ริเริ่มรื้อฟื้น คณะละครปรีดาลัย ของพระบิดาขึ้นมาอีกครั้ง ทรงปลีกพระองค์ประทับอยู่เพียงลำพัง ทรงใช้เวลาที่มีอยู่ในการประพันธ์นวนิยาย ร้อยกรอง และบทละครจำนวนมาก โดยใช้นามปากกาว่า ปัทมะ, วรรณพิมล และพระนางเธอลักษมีลาวัณ พระนางเธอลักษมีลาวัณ ถูกลอบปลงพระชนม์เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระนางเธอลักษมีลาวัณ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชมพูนุท กรมขุนเจริญผลพูลสวัสดิ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชมพูนุท กรมขุนเจริญผลพูลสวัสดิ์ (28 สิงหาคม พ.ศ. 2370 - 2 เมษายน พ.ศ. 2435) เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 49 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสัมฤทธิ์ เมื่อวันอังคาร ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 10 ปีกุน ตรงกับวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชมพูนุท กรมขุนเจริญผลพูลสวัสดิ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์

นายพลตรี มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชุมพลสมโภชเป็นพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์ที่ 37 และเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 21 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน เจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 29 ธันวาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุตรี กรมหลวงวรเสรฐสุดา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุตรี กรมหลวงวรเสรฐสุดา (17 มิถุนายน พ.ศ. 2371 — 1 ธันวาคม พ.ศ. 2450) พระราชธิดาลำดับสุดท้ายในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุตรี กรมหลวงวรเสรฐสุดา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 27 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเที่ยง ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 12 ขึ้น 6 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากมลาสเลอสรรค์ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์

มหาเสวกเอก จางวางเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 17 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากินรี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากินรี (26 ตุลาคม พ.ศ. 2362 — 13 เมษายน พ.ศ. 2437) พระราชธิดาพระองค์ที่ 30 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาฉิม.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากินรี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์

มหาอำมาตย์โท พลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนมรุพงศ์สิริพัฒน์ อดีตผู้บังคับการกรมทหารรักษาพระองค์ อัครราชทูตพิเศษประจำกรุงปารีส และข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า และต้นราชสกุลวัฒนวง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร (25 มิถุนายน พ.ศ. 2434 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2525) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ เจ้าจอมมารดาพร้อม ประสูติเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากร

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร

ลเอก พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (ประสูติ: 5 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี (24 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 — 26 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ

้าราชการพลเรือนชั้น 1 ระดับเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ พระนามเดิม พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย เป็นเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ อธิบดีศาลฎีกา และราชเลขานุการฝ่ายกฎหมาย ทรงเป็นต้นราชสกุล '''ศรีธวัช'''.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช

ตราประจำพระองค์ พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช เมื่อประสูติมีพระนามว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าชายศุขสวัสดี เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 23 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ เมื่อวันศุกร์ เดือน 4 ขึ้น 9 ค่ำ ปีเถาะสัปตศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ ประสูติเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหรา กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ฑีฆชนม์เชษฐประยูร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหรา กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ฑีฆชนม์เชษฐประยูร (10 ธันวาคม พ.ศ. 2369 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2446) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาคล้าย ซึ่งมีเชื้อสายเปอร์เซีย ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 11 ค่ำ เดือนอ้าย ปีจอ ตรงกับวันที่ 10 ธันวาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหรา กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ฑีฆชนม์เชษฐประยูร

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุบรรณ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุบรรณ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล ประสูติเมื่อวันอังคาร แรม 1 ค่ำ เดือน 11 ปีจอ ตรงกับวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุบรรณ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส

มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส พระนามเดิม พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 51 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาโหมด เมื่อวันอังคาร เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอกฉศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิ (22 กรกฎาคม พ.ศ. 2355 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2431) พระราชโอรสพระองค์ที่ 58 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็นต้นราชสกุลอรุณวงศ์ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ ประสูติ ณ วันอาทิตย์ เดือน 7 แรม 6 ค่ำ ปีวอก ตรงกับวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (19 ธันวาคม พ.ศ. 2423 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466) มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "อาภากร" เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงได้รับสมัญญานามว่า "องค์บิดาของทหารเรือไทย" พระองค์ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบริหารงานของกองทัพเรือ ทรงได้รับการเชิดชูในหมู่ทหารเรือเรียกขานพระองค์ว่า "เสด็จเตี่ย" หรือ "หมอพร" และ "พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย" ต่อมาในปี 2536 มีประกาศกองทัพเรือขนานพระนามพระองค์ว่า "พระบิดาของกองทัพเรือไทย" และในปี 2544 แก้ไขเป็น "องค์บิดาของทหารเรือไทย" ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ ได้มีการจัดสร้างศาลและพระอนุสาวรีย์พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ รวมทั้งสิ้น 217 แห่งทั่วประเทศไทย เช่น โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี หรือที่พระตำหนักที่หาดทรายรี จังหวัดชุมพร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา (21 เมษายน พ.ศ. 2432 — 23 มีนาคม พ.ศ. 2501) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้าจอมมารดาชุ่ม (สกุลเดิม: ไกรฤกษ์).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (ซ้าย) ทรงฉายพร้อมด้วยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ (ขวา) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา (14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา

มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร ทรงเป็นต้นราชสกุลจันทรทัต.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

อมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช หรือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๗ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาทับทิม โดยเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกลุ่มแรกที่ทรงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อกลับมาประเทศไทยทรงเข้ารับราชการในกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมในตำแหน่งต่างๆ และทรงเป็นจอมพลพระองค์ที่ 2 ของกองทัพบกสยาม พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล "จิรประวัติ".

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ หรือ กรมภู หรือ กรมภูธเรศ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 24 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตลับ ประสูติเมื่อวันเสาร์ เดือน 4 ขึ้น 10 ค่ำ ปีเถาะสัปตศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม

นายพลตรี นายพลเรือเอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสังวาลย์ ธิดา นายศัลยวิชัย หุ้มแพร (ทองคำ ณ ราชสีมา) ประสูติเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี

ระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ ใน พระราชพิธีโสกันต์ มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นคนไทยคนแรกที่จบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ นับเป็นเจ้านายไทยพระองค์แรกและเป็นคนไทยคนที่ 2 ที่จบการศึกษาในวิชาระดับปริญญาเอก พระนาม "ดิลกนพรัฐ" หมายถึง "ศรีเมืองเชียงใหม่".

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาพึ่ง ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากร

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี

มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี พระนามเดิม พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม เป็นพระราชโอรสลำดับที่ ๑๕ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแช่ม (กัลยาณมิตร) บุตรีพระยามหาอำมาตย์ (ชื่น) เมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2408 — 18 มีนาคม พ.ศ. 2505) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาดวงคำ พระราชนัดดาในเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ พระองค์เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าที่มีพระชนมายุสูงสุดในราชวงศ์จักรี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2407 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) หรือที่ถวายเรียกกันว่า เสด็จอธิบดี อธิบดีหญิงคนแรกของประเทศไทย พระองค์เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินี

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแม้นเขียน

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแม้นเขียน (15 ธันวาคม พ.ศ. 2366 — 28 กันยายน พ.ศ. 2456) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาลูกจันทน์เล็ก สตรีเชื้อสายเจ้าจากหลวงพระบาง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแม้นเขียน

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ (19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2395 — 4 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 62 ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด) ซึ่งท้าววรจันทร์(เจ้าจอมมารดาวาด)เป็นธิดานายสมบุญ งามสมบัติ กับท้าวปฏิบัติบิณฑทาน (ถ้วย) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดาประสูตรเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 13 ค่ำ ปีกุนเบญจศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย

นายพันเอก มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าไชยันตมงคล เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 77 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาห่วง ประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 3 ขึ้น 14 ค่ำ ปีฉลูสัปตศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป

กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป อยู่แถวหลังองค์ที่ ๗ ข้าราชการพลเรือนชั้นที่ 2 ระดับเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าไชยานุชิต พระราชโอรสพระองค์ที่ 55 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเที่ยง โดยประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 9 แรม 6 ค่ำ ปีระกาตรีศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม พระนามเดิม พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "เพ็ญพัฒน์" เป็นผู้พระนิพนธ์เพลงลาวดวงเดือน พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 38 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดามรกฎ ธิดาของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ มีพระนามเดิม พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 30 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 9 แรม 12 ค่ำ ปีมะเส็ง นพศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยม

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยม (17 มีนาคม พ.ศ. 2358 — 22 มกราคม พ.ศ. 2432) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 17 ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาจัน หรือออกนามว่าจันเขมร พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยม เป็นหนึ่งในเจ้านายฝ่ายในที่ได้รับเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยม

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี

แถวล่างพระองค์ที่3 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี (ประสูติ: 12 มกราคม พ.ศ. 2435 — สิ้นพระชนม์: 17 ตุลาคม พ.ศ. 2515) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเหม (สกุลเดิม: อมาตยกุล).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์ พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์ (พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชายเฉลิมลักษณวงศ์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 35 ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาขลิบ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 9 ขึ้น 4 ค่ำ ปีฉลู เบญจศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากร

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต

นายกองเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2463 — 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520) หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต (ราชสกุลเดิม: รัชนี) นักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา ว.ณ ประมวญมารค มีผลงานประพันธ์ที่สร้างชื่อเสียงจากเรื่อง ปริศนา หม่อมเจ้าวิภาวดี รังสิต ได้รับการสถาปนาเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต เมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์

นายพันเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2426 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2478) มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ อดีตประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา (ประสูติ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 - สิ้นพระชนม์ 19 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ หรือ พระองค์ชายเล็ก (อังกฤษ: His Royal Highness Prince Anusorn Mongkolkarn) (1 เมษายน 2458 - 2 มกราคม 2541) เป็นพระโอรสองค์สุดท้องใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ กับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (พระธิดาใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ซึ่งเป็นพระอนุชาร่วมพระครรโภทรกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) มีพระเชษฐา 2 พระองค์ คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ

ตราจารย์พิเศษ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2536) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ และหม่อมจำรัส จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ทรงสำเร็จการศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์ และเริ่มเข้ารับราชการที่กระทรวงเกษตร และเป็นอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นอกจากนี้ พระองค์ยังมีความสามารถพิเศษทางด้านการประพันธ์คำร้องและทำนองเพลงอีกด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริประชวรด้วยโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจและถุงลมโป่งพองสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต (5 ธันวาคม พ.ศ. 2447 - 15 กันยายน พ.ศ. 2502) อดีตอุปนายก ผู้อำนวยการสภากาชาดไทย และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ หรือ พระองค์จุล (28 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 30 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระโอรสพระองค์เดียวในจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ กับ หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก ชาวรัสเซีย ทรงสมรสกับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช ประสูติเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2428 พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติเป็นหม่อมเจ้า เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมแม้น ทรงศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ ได้รับปริญญา B.A.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ (พระนามเดิม: หม่อมหลวงโสมสวลี กิติยากร; ประสูติ: 13 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ จางวางมหาดเล็ก มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร (6 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร หรือ พระองค์ชายกลาง (29 เมษายน พ.ศ. 2456 - 1 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร

พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี

ระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี (Vittorio Emanuele III; 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869 — 28 ธันวาคม ค.ศ. 1947) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลีจากราชวงศ์ซาวอย ครองราชบัลลังก์อิตาลีระหว่างวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี

พระเจ้าอินทวิชยานนท์

ระเจ้าอินทวิชยานนท์ (125px) (? - พ.ศ. 2440 ขึ้นครองนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2416 - พ.ศ. 2440) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระเจ้าประเทศราชองค์สุดท้ายที่มีอำนาจอย่างแท้จริง เพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 สยามได้ริดรอนอำนาจของเจ้าผู้ครองนครลง ด้วยความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี อย่างไม่สั่นคลอน กอปรกับเป็นพระบิดาในเจ้าดารารัศมี พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ซึ่งนับว่าเป็นการถวายพระเกียรตินับเนื่องเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ในพระบรมราชวงศ์จักรี และเป็นพระเจ้าประเทศราชเพียงพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์ที่ได้รับพระราชทานและยกย่องพระเกียรติยศดังกล่าว.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าอินทวิชยานนท์

พระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี

ระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี ทรงเป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่สองแห่งราชอาณาจักรอิตาลี ประสูติเมื่อวันที่ 14 มีนาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี

พระเจ้าคริสเตียนที่ 10 แห่งเดนมาร์ก

ระเจ้าคริสเตียนที่ 10 แห่งเดนมาร์ก (พระนามเต็ม คริสเตียน คาร์ล เฟรเดริค อัลเบิร์ต อเล็กซานเดอร์ วิลเฮล์ม; Christian Carl Frederik Albert Alexander Vilhelm ประสูติ 26 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าคริสเตียนที่ 10 แห่งเดนมาร์ก

พระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

ระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (ประสูติ 8 เมษายน ค.ศ. 1818 — สวรรคต 29 มกราคม ค.ศ. 1906) คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 (อัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด; 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2384 – 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร ประมุขแห่งเครือจักรภพแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดีย เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเป็นพระประมุขพระองค์แรกและพระองค์เดียวของราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา พระองค์ทรงครองราชสมบัตินับตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (6 กันยายน พ.ศ. 2381 — 28 สิงหาคม พ.ศ. 2428) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์สุดท้ายในสมัยกรุงรัตนโกสินทร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

มาเรีย คริสตินาแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

มาเรีย คริสตินาแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และมาเรีย คริสตินาแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

นายร้อยโท สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หรือ สมเด็จพระบรมราชปิตุลาธิบดี เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ (27 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์

ลต่าน อัลมูตัสสิมู บิลลาฮี มูฮิบบุดดิน ตวนกู อัลฮัจญ์ อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์ อิบนี อัลมาฮูม สุลต่านบาดิร ชาฮ์ ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซียลำดับที่ 5 และ 14 และอดีตสุลต่านแห่งรัฐเกอ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์

สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (ภาษานอร์เวย์: Hans Majestet Kong Harald V) เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์ ทรงขึ้นครองราชย์หลังจากการสวรรคตของพระราชบิดา (พระเจ้าโอลาฟที่ 5) เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์

สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน

มเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน หรือ พระเจ้าฆวน การ์โลสที่ 1 (Juan Carlos I; เสด็จพระราชสมภพ 5 มกราคม พ.ศ. 2481) เป็นพระมหากษัตริย์สเปน ตั้งแต่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน

สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีโบดวงที่ 1 แห่งเบลเยียม (Boudewijn Albert Karel Leopold Axel Marie Gustaaf van België ˈbʌu̯dəˌʋɛi̯n ˈɑlbərt ˈkaːrəl ˈleˑjoˑˌpɔlt ˈɑksəl maˑˈri ɣʏsˈtaˑf vɑn ˈbɛlɣijə, Baudouin Albert Charles Léopold Axel Marie Gustave de Belgique bodwɛ̃ albɛʁ ʃaʁl leopɔld aksɛl maʁi ɡystav də bɛlʒik; 7 กันยายน 1930 – 31 กรกฎาคม 1993) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม หลังจากการสละราชสมบัติของพระราชบิดาในปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม

สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (2 กรกฎาคม 1903 - 17 มกราคม 1991) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ ตั้งแต่ปี 1957 จนกระทั่งพระองค์เสด็จสวรรคต พระองค์เป็นสมาชิกราชวงศ์ชเลสวิก-ฮอลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 เสด็จพระราชสมภพที่สหราชอาณาจักร พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์และสมเด็จพระราชินีม็อดแห่งนอร์เวย์ พระองค์ทรงเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร กับ อเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร ผ่านทางสายพระราชมาร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงยูเลียนาเมื่อทรงพระเยาว์ เจ้าหญิงยูเลียนาและพระราชมารดา เจ้าหญิงยูเลียนา พ.ศ. 2480 สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ หรือพระนามเต็ม ยูเลียนา เอ็มมา หลุยส์ มารี วิลเฮลมินา ฟาน ออรันเย-นัสเซา (Queen Juliana of the Netherlands,; 30 เมษายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

สมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงวิลเฮลมินาและพระมารดาราชินีเอ็มม่าแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ สมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์ (HM Queen Wilhelmina of the Netherlands, วิลเฮลมินา เฮเลนา พอลีน มารี ฟาน ออรันเย-นัสเซา; 31 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

สมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน

มเด็จพระราชินีโซเฟีย (la Reina Doña Sofía) เป็นพระมเหสีใน สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 สมเด็จพระราชินีโซเฟียทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งกรีซโดยพระกำเนิด เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าปัฟโลสแห่งกรีซ และ สมเด็จพระราชินีเฟรเดริกาแห่งกรีซ โดยทีมีพระนามในภาษากรีกว่า โซเฟีย มาร์การีตา วิกตอเรีย เฟรเดรีกี (Σοφία Μαργαρίτα Βικτωρία Φρειδερίκη) โดยพระองค์มีพระราชอนุชาและพระราชขนิษฐาคือ สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ และ เจ้าหญิงไอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร

ันเอกหญิง สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร (ประสูติ: 16 เมษายน พ.ศ. 2427 — สิ้นพระชนม์: 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

มเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสว่างวัฒนา (10 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา

ลเรือเอก สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ

มเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์ปัจจุบันของประเทศญี่ปุ่น และเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 125 ของญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณกาล ในปัจจุบันนี้พระองค์เป็นพระประมุขเพียงพระองค์เดียวในโลกที่ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิ ในญี่ปุ่น การเอ่ยถึงพระจักรพรรดิ จะเรียกพระนามของพระองค์โดยตรงไม่ได้ แต่จะเอ่ยถึงพระองค์ว่า เท็นโน เฮกะ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิ และรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะจะเรียกว่า ยุคเฮเซ หลังจากที่สิ้นยุคของพระองค์แล้ว อาจมีการขนานพระนามพระองค์ว่า จักรพรรดิเฮเซ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ

สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ

มเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ (20 ตุลาคม พ.ศ. 2477) มีพระนามเดิมว่า มิชิโกะ โชดะ เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ สมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ เข้าสู่พระราชวงศ์จากการเสกสมรสกับเจ้าชายอะกิฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น มิชิโกะจึงดำรงพระอิสริยยศเป็น มกุฎราชกุมารี ครั้นสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะสวรรคต มกุฎราชกุมารอะกิฮิโตะจึงสืบราชสมบัติเป็นจักรพรรดิ และมกุฎราชกุมารีมิชิโกะจึงดำรงพระอิสริยยศเป็นจักรพรรดินี ตามลำดั.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ

สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี

มเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี (10 พฤษภาคม พ.ศ. 2404 – 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) หรือที่ชาววังออกพระนามว่า เสด็จพระนาง เป็นพระมเหสีชั้นลูกหลวงตำแหน่งพระราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยเป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ต่างพระมารดากับพระราชสวามี ด้วยพระองค์ประสูติแต่เจ้าคุณจอมมารดาสำลี พระองค์เป็นพระชนนีของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร ซึ่งทรงเป็นเจ้าฟ้าชั้นเอก (ชั้นทูลกระหม่อม) ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์แรกที่มีพระชนม์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้รับการสถาปนาไว้ในที่ "สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี" ภายหลังทรงสิ้นพระชนม์เมื่อวันเสาร์ เดือน 8 ขึ้น 11 ค่ำ ปีเถาะนพศก..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

ันเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (20 ธันวาคม พ.ศ. 2447 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527) เป็นพระอัครมเหสีเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมเหสีพระองค์แรกตามแบบยุโรปและระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลังจากพระราชสวามีสละราชสมบัติเมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา

ันโทหญิง สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา (พระนามเดิม: ประไพ สุจริตกุล; ประสูติ: 10 มิถุนายน พ.ศ. 2445 — สิ้นพระชนม์: 30 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าละม่อม กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าละม่อม (8 ธันวาคม พ.ศ. 2361 - 17 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าละม่อม กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ (ประสูติ: 22 ธันวาคม พ.ศ. 2408 - สิ้นพระชนม์: 10 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

มหาอำมาตย์นายก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่ 4) ร่วมพระชนนีเดียวกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี โดยเป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 42 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระอง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ มีพระนามเดิม เจ้าฟ้าชายกลาง (24 เมษายน พ.ศ. 2362 ถึง 1 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา

้าฟ้ามาลินีนพดารา(ซ้าย) และ เจ้าฟ้านิภานภดล(ขวา) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนพดารา กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา พระราชธิดาองค์ที่ ๓ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ พระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติ ณ วันศุกร์ที่ ๓๑ กรกฎาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก นายพลเสือป่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ (HRH Prince Yugala Dighambara, Prince of Lopburi) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ (๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๒๕ - ๑๗ มิถุนายน ๒๔๔๒) พระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระนามเดิมอย่างเต็มว่า สมเด็จเจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย ศตสมัยมงคลเขตร บรมนฤเบศร์จักรีวงศ์ จุฬาลงกรณ์นาถนรินทร์ สยามินทรราชวโรรส อุกฤษฐวรยศอุภัยปักษ์ วิสุทธิศักดิ์อรรควิมลรัตน์ ขัตติยราชกุมาร ชาววังออกพระนามว่า "ทูลกระหม่อมน้อย" สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย เสด็จเข้ารับการศึกษาในยุโรป ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก เมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร พระราชธิดาพระองค์ที่ 19 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี เมื่อวันที่ 14 กันยายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์ (15 เมษายน พ.ศ. 2416 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448) พระราชธิดาลำดับที่ 8 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคนารีรัตน.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนค์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 28 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระองค์ที่ 3 ใน สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เป็นพระราชอนุชาร่วมพระครรโภทรในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสเรียกว่า "ท่านกลาง".

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2435 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2466) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 5 กรกฎาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี เป็นพระราชธิดาองค์ที่ 3 ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อวันเสาร์ ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกัลยา เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดี

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 5 แห่งสวีเดน

สมเด็จพระราชาธิบดีกุสตาฟที่ 5 แห่งสวีเดน (ออสการ์ กุสตาฟ อดอล์ฟ) พระราชสมภพเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2401 พระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน และ เจ้าหญิงโซเฟียแห่งนอสเซา และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 5 แห่งสวีเดน

สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน

มเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน (พระนามเต็ม ออสการ์ เฟรดดริค วิลเฮล์ม โอลาฟ กุสตาฟ อดอล์ฟ) (ประสูติ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน

มเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดนและนอร์เวย์ (ประสูติ 21 มกราคม พ.ศ. 2372 - สวรรคต 8 ธันวาคม พ.ศ. 2450) เป็นพระมหากษัตริย์ตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน

สมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี

ระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี หรือ พระเจ้าฮัมเบิร์ตที่ 2 แห่งอิตาลี (Umberto II; Umberto II of Italy) (15 กันยายน ค.ศ. 1904 - 18 มีนาคม ค.ศ. 1983) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลีแห่งราชวงศ์ซาวอย ผู้ทรงครองราชบัลลังก์อิตาลีระหว่างวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี

สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI of the United Kingdom; 14 ธันวาคม ค.ศ. 1895 — 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ และเครือจักรภพอังกฤษระหว่างปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริคที่ 8 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก พระราชโอรสพระองค์โตในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ค และสมเด็จพระราชินีหลุยส์แห่งเฮสส์ - คาสเซิล สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริคที่ 8 เสด็จพระราชสมภพที่กรุงโคเปนเฮเกน ขณะนั้นพระราชมารดาทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระรัชทายาทหญิงแห่งราชบัลลังก์ ในฐานะมกุฎราชกุมาร พระองค์ทรงเข้าร่วมสงครามในปี พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก

สมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 2 (Léopold Louis Philippe Marie Victor, Leopold Lodewijk Filips Maria Victor, 9 เมษายน ค.ศ. 1835 - 17 ธันวาคม ค.ศ. 1909) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเบลเยียม ประสูติในกรุงบรัสเซลส์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่สอง (แต่มีพระชนมายุมากที่สุดที่ยังมีพระชนม์ชีพ) ของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 1 และหลุยส์-มารีแห่งออร์เลอ็อง พระองค์สืบราชสมบัติต่อจากพระราชบิดาเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม

สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม (3 พฤศจิกายน 1901 - 25 กันยายน 1983) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม ตั้งแต่ปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

หม่อมยิ่ง

หม่อมยิ่ง (พระยศเดิม: พระเจ้าพี่นางเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา; 21 มกราคม พ.ศ. 2395 — 2 กันยายน พ.ศ. 2429) พระราชธิดาองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ ต่อมาพระองค์ได้ถูกลดพระอิสริยยศเป็น หม่อมยิ่ง หลังมีเรื่องอื้อฉาวเนื่องจากทรงตั้งครรภ์กับอดีตพระภิกษุที่เคยเข้ามาเทศนาในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ภายหลังพระองค์ได้จำสนม (คุกฝ่ายใน) จนกระทั่งสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 2 กันยายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และหม่อมยิ่ง

อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย

ฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์ คาร์ล ลุดวิก โยเซฟ มารีอา (Franz Ferdinand Carl Ludwig Joseph Maria) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย-เอสเต และยังทรงเป็นราชกุมารแห่งฮังการีและโบฮีเมีย และเป็นรัชทายาทลำดับหนึ่งแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีอีกด้วย พระองค์ทรงเป็นองค์รัชทายาทจวบจนถูกลอบปลงพระชนม์โดยนักชาตินิยมหัวรุนแรงชาวเซอร์เบีย ที่เมืองซาราเยโวในแคว้นบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (ขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี) หลังพระองค์และพระชายาสิ้นพระชนม์ก็ทำให้จักรวรดริออสเตรีย-ฮังการี ประกาศสงครามกับราชอาณาจักรเซอร์เบียทันที ถือเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่ 1.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย

อาร์ชดยุกลุดวิก วิกเตอร์แห่งออสเตรีย

อาร์คดยุคลุดวิก วิคเตอร์ อาร์คดยุคลุดวิก วิคเตอร์แห่งออสเตรีย (en.: Archduke Ludwig Viktor of Austria, de.: Erzherzog Ludwig Viktor von Österreich) (พระนามเต็ม: ลุดวิก วิคเตอร์ โจเซฟ แอนตัน, Ludwig Viktor Joseph Anton von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์คดยุคแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าชายแห่งฮังการี และนอกจากนี้ยังเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 แห่งออสเตรียอีกด้ว.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และอาร์ชดยุกลุดวิก วิกเตอร์แห่งออสเตรีย

อิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน (Princess Ingrid of Sweden) หรือ สมเด็จพระราชินีอิงกริดแห่งเดนมาร์ก (Queen Ingrid of Denmark; อิงกริด วิกตอเรีย โซเฟีย หลุยส์ มาร์กาเรทา; 28 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และอิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย

ักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย พระนามเต็ม: ฟรันซ์ โยเซฟ คาร์ล (Franz Joseph Karl von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งออสเตรีย และ กษัตริย์แห่งฮังการี และทรงเป็นจักรพรรดิและพระราชาธิบดีพระองค์แรกในจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีตั้งแต่ปีพ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย

จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี

วิลเฮล์ม ฟรีดริช ลุดวิจ ฟอน โฮเอินโซลเลิร์น (Wilhelm Friedrich Ludwig von Hohenzollern) เป็นกษัตริย์แห่งปรัสเซียและจักรพรรดิเยอรมันจากราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น ภายใต้การปกครองของพระองค์ร่วมกับนายกรัฐมนตรีออทโท ฟอน บิสมาร์ค สามารถนำพาราชอาณาจักรปรัสเซียมีชัยเหนือสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียและนำไปสู่การรวมชาติเยอรมันขึ้นเป็นจักรวรรดิเยอรมันในปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี

จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี

ักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี (Wilhelm II หรือ Friedrich Wilhelm Albert Viktor von Preußen 27 มกราคม พ.ศ. 2402 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2484) หรือ พระเจ้าไกเซอร์วิลเฮล์มที่ 2 เป็นพระราชโอรสใน พระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 กับพระราชธิดาในสมเด็จพระราชินีวิกตอเรีย ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิเยอรมัน และพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งปรัสเซีย ทรงดำรงวาระตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี

จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย

จักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย (10 มีนาคม พ.ศ. 2388 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2437) ทรงเป็นจักรพรรดิรัสเซียเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย

จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย

ระราชพิธีบรมราชาภิเษกของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 (1896) จักรพรรดินีโคไลที่ 2 (Николай II, Николай Александрович Романов, tr.) หรือ นิโคลัสที่ 2 (Nicholas II; 18 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย

จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี

ักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี (شهبانو فرح پهلوی) เป็นพระมเหสีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี แห่งอิหร่าน และจักรพรรดินีพระองค์เดียวของอิหร่านในยุคปัจจุบัน หลังจากการปฏิวัติอิหร่าน พระองค์ได้ใช้พระชนม์ชีพส่วนใหญ่อยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี

จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวง

ักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวง (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2392 — 19 เมษายน พ.ศ. 2457) พระนามเดิม มะซะโกะ อิชิโจ และฮะรุโกะ อิชิโจ ตามลำดับ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิเม.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และจักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวง

จักรพรรดินีโคจุง

ักรพรรดินีโคจุง (6 มีนาคม พ.ศ. 2446 – 16 มิถุนายน พ.ศ. 2543) พระนามเดิม เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิโชวะ และเป็นพระราชมารดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ ถือเป็นจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นDowner, Lesely.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และจักรพรรดินีโคจุง

จักรพรรดิโชวะ

มเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัย คือ จักรพรรดิโชวะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) (裕仁) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และจักรพรรดิโชวะ

จักรพรรดิไทโช

มเด็จพระจักรพรรดิโยะชิฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัยคือ จักรพรรดิไทโช (31 สิงหาคม พ.ศ. 2422 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2469) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 123 ทรงปกครองจักรวรรดิญี่ปุ่นในฐานะสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น และพระประมุขแห่งเกาหลี เป็นเวลา 14 ปี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และจักรพรรดิไทโช

จักรพรรดิเมจิ

มเด็จพระจักรพรรดิมุสึฮิโตะ (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1853 — 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1912) พระนามตามรัชสมัยคือ จักรพรรดิเมจิ ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 122 ของประเทศญี่ปุ่น ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และจักรพรรดิเมจิ

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และจักรวรรดิรัสเซีย

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (พระนามเดิม สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี; ประสูติ: 5 เมษายน 2494) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระเชษฐภคินีพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร หลังจากทรงสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ณ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกาแล้ว ทรงประกาศลาออกจากฐานันดรศักดิ์เป็นสามัญชน เพื่อเข้าพระพิธีเสกสมรสกับปีเตอร์ แลดด์ เจนเซนในพระบรมหาราชวังตามพระราชประเพณี แล้วเสด็จไปประทับด้วยพระสวามี ณ สหรัฐอเมริกาเมื่อ..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี

ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์

วต์ เดวิด ไอก์ ไอเซนฮาวร์ (Dwight David "Ike" Eisenhower; 14 ตุลาคม ค.ศ. 1890 - 28 มีนาคม ค.ศ. 1969) เป็นทหารและนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนที่ 34 ของสหรัฐอเมริกา (ค.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์

นครเชียงใหม่

รัตนติงสาอภินวปุรีสรีคุรุรัฎฐพระนครเชียงใหม่ (200px) หรือ นครเชียงใหม่ เป็นประเทศราชในหัวเมืองเหนือของสยามตั้งแต่ปี..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และนครเชียงใหม่

แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก (5 มกราคม พ.ศ. 2464 -) (พระนามเดิม: ฌอง เบอร์นอย กีโยม โรเบิร์ต แอนโตน หลุยส์ มารี อดอล์ฟ มาร์ก เดอ อาเวียโน) ทรงปกครองลักเซมเบิร์กตั้งแต..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดยุกไมเคิล อเล็กซานโดรวิชแห่งรัสเซีย

แกรนด์ดยุกไมเคิล อเล็กซานโดรวิชแห่งรัสเซีย แกรนด์ดยุกไมเคิล อเล็กซานโดรวิชแห่งรัสเซีย (Михаи́л Александрович) (4 ธันวาคม 1878 – 13 มิถุนายน 1918) เป็นมกุฎราชกุมารแห่งจักรวรรดิรัสเซีย พระองค์ครองราชย์โดนนิตินัยหลังจากที่จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 พระเชษฐาธิราชของพระองค์สละราชสมบัติ แต่พระองค์ก็ไม่ได้ปกครองรัสเซียจริงๆ เนื่องจากการปฏิวัติรัสเซีย พระองค์ทรงถูกจำคุกและถูกปลงพระชนม์ พระองค์สิ้นพระชนม์ขณะมีพระชนมายุได้ 39 พรรษ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และแกรนด์ดยุกไมเคิล อเล็กซานโดรวิชแห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก

แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก (Charlotte, Grand Duchess of Luxembourg, พระนามเต็ม ชาร์ล็อต อเดลก็อนเด เอลิซ มารี วิลเฮลมีน; 23 มกราคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก

แรมง ปวงกาเร

แรมง ปวงกาเร (Raymond Poincaré; 20 สิงหาคม พ.ศ. 2403 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2477) เป็นรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศส ที่ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 3 สมัย และดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตั้งแต..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และแรมง ปวงกาเร

เฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ

้าหญิงเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ (พระนามเต็ม: เฟรเดอริกา หลุยส์ ไธรา วิกตอเรีย โอลกา ซิซิลี อิสซาเบล คริสตินา; กรีก: Φρειδερίκη,18 เมษายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ

เพชร

รดิบ เพชร เป็นอัญมณีรูปแบบหนึ่งของคาร์บอน จัดเรียงตัวเป็นทรงแปดหน้า เป็นแร่ที่แข็งที่สุดตามสเกลของโมส์ (Moh's scale) มีค่าความแข็งเท่ากับ 10 เพชรมีหลายสี สีที่นิยมที่สุดคือสีขาวบริสุทธิ์ สีที่หายากคือสีแดง ฟ้า เขียว ส้ม ชมพู เรียก "แฟนซีไดมอนด์" มีราคาสูงมาก การเจียระไนเป็น 52 เหลี่ยมนับว่าสวยที่สุด เพชรเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจ ความแข็งแกร่ง แหล่งของเพชรมีอยู่ทั่วโลก ส่วนมากพบที่บราซิลและแอฟริกาใต้.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และเพชร

เอมีล ลูแบ

อมีล ฟร็องซัว ลูแบ (Émile François Loubet) อดีตประธานาธิบดีฝรั่งเศส, นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส และผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์ร.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และเอมีล ลูแบ

เอ็มมาแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ สมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเอ็มมาแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ (Her Majesty Queen-Dowager Emma, Princess of Waldeck and Pyrmont.) (อเดลเฮด เอ็มมา วิลเฮลมินา เทเรเซีย แห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์)(2 สิงหาคม พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และเอ็มมาแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ สมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์

เจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ

้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ (秩父宮 雍仁, Chichibu no miya Yasuhito Shinnō?, 25 มิถุนายน พ.ศ. 2444 - 4 มกราคม พ.ศ. 2496) หรือ เจ้าชายยะสุฮิโตะ เป็นพระราชโอรสพระองค์รองในสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ พระองค์ทรงเป็นผู้อุปถัมป์ ด้านกีฬา, การแพทย์ โดยก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ทรงสามารถตรัสภาษาอังกฤษได้ จึงได้ทรงดูแลความสัมพันธ์ระหว่าง พระราชวงศ์อังกฤษ และพระราชวงศ์ญี่ปุ่น พระองค์ได้ทรงเข้าประจำการในกองทัพญี่ปุ่น พระองค์นั้นก็เหมือนกับเจ้าชายพระองค์อื่นๆในราชวงศ์ที่ญี่ปุ่นที่ได้รับการอภัยโทษไม่ต้องเป็นอาชญากรสงคราม หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ

เจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์

้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์ (29 มิถุนายน พ.ศ. 2454 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2547) ต่อมาคือ เจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งเนเธอร์แลนด์ เป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ และเป็นพระราชบิดาของพระธิดา 4 พระองค์ รวมทั้งอดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ เจ้าหญิงเบียทริกซ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และเจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์

เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา

้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา (28 ตุลาคม พ.ศ. 2436 - 8 เมษายน พ.ศ. 2513) ต่อมาคือ เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระราชสวามี ในแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก และเป็นพระราชบิดาของพระราชโอรส-ธิดา 6 พระองค์ รวมทั้งแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์ทรงเป็นคู่อภิเษกสมรสที่อยู่ในตำแหน่งยาวนานที่สุดของลักเซมเบิร์ก.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และเจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา

เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งกลอสเตอร์

เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งกลอสเตอร์ (เฮนรี วิลเลียม เฟรเดอริค อัลเบิร์ต ประสูติ 31 มีนาคม พ.ศ. 2443 สิ้นพระชนม์ 10 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และเจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งกลอสเตอร์

เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ มีอักษรย่อว่า ม..ก. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑, ตอน ๑๔, ๓๐ มิถุนายน..

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ1 มิถุนายน

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ1 สิงหาคม

11 ตุลาคม

วันที่ 11 ตุลาคม เป็นวันที่ 284 ของปี (วันที่ 285 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 81 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ11 ตุลาคม

13 กุมภาพันธ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 44 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 321 วันในปีนั้น (322 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ13 กุมภาพันธ์

14 กุมภาพันธ์

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ14 กุมภาพันธ์

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ15 พฤศจิกายน

15 ธันวาคม

วันที่ 15 ธันวาคม เป็นวันที่ 349 ของปี (วันที่ 350 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 16 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ15 ธันวาคม

16 พฤศจิกายน

วันที่ 16 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 320 ของปี (วันที่ 321 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 45 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ16 พฤศจิกายน

16 กุมภาพันธ์

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 47 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 318 วันในปีนั้น (319 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ16 กุมภาพันธ์

16 สิงหาคม

วันที่ 16 สิงหาคม เป็นวันที่ 228 ของปี (วันที่ 229 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 137 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ16 สิงหาคม

17 ตุลาคม

วันที่ 17 ตุลาคม เป็นวันที่ 290 ของปี (วันที่ 291 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 75 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ17 ตุลาคม

19 กรกฎาคม

วันที่ 19 กรกฎาคม เป็นวันที่ 200 ของปี (วันที่ 201 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 165 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ19 กรกฎาคม

19 กันยายน

วันที่ 19 กันยายน เป็นวันที่ 262 ของปี (วันที่ 263 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 103 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ19 กันยายน

19 เมษายน

วันที่ 19 เมษายน เป็นวันที่ 109 ของปี (วันที่ 110 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 256 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ19 เมษายน

2 กุมภาพันธ์

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 33 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 332 วันในปีนั้น (333 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ2 กุมภาพันธ์

2 มกราคม

วันที่ 2 มกราคม เป็นวันที่ 2 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 363 วันในปีนั้น (364 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ2 มกราคม

20 มกราคม

วันที่ 20 มกราคม เป็นวันที่ 20 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 345 วันในปีนั้น (346 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ20 มกราคม

20 มิถุนายน

วันที่ 20 มิถุนายน เป็นวันที่ 171 ของปี (วันที่ 172 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 194 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ20 มิถุนายน

21 กันยายน

วันที่ 21 กันยายน เป็นวันที่ 264 ของปี (วันที่ 265 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 101 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ21 กันยายน

22 พฤษภาคม

วันที่ 22 พฤษภาคม เป็นวันที่ 142 ของปี (วันที่ 143 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 223 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ22 พฤษภาคม

22 กุมภาพันธ์

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 53 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 312 วันในปีนั้น (313 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ22 กุมภาพันธ์

22 มกราคม

วันที่ 22 มกราคม เป็นวันที่ 22 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 343 วันในปีนั้น (344 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ22 มกราคม

24 ตุลาคม

วันที่ 24 ตุลาคม เป็นวันที่ 297 ของปี (วันที่ 298 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 68 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ24 ตุลาคม

25 ตุลาคม

วันที่ 25 ตุลาคม เป็นวันที่ 298 ของปี (วันที่ 299 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 67 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ25 ตุลาคม

26 พฤศจิกายน

วันที่ 26 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 330 ของปี (วันที่ 331 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 35 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ26 พฤศจิกายน

26 มีนาคม

วันที่ 26 มีนาคม เป็นวันที่ 85 ของปี (วันที่ 86 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 280 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ26 มีนาคม

27 พฤษภาคม

วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ27 พฤษภาคม

28 มิถุนายน

วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ28 มิถุนายน

29 สิงหาคม

วันที่ 29 สิงหาคม เป็นวันที่ 241 ของปี (วันที่ 242 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 124 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ29 สิงหาคม

30 มกราคม

วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ30 มกราคม

4 ตุลาคม

วันที่ 4 ตุลาคม เป็นวันที่ 277 ของปี (วันที่ 278 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 88 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ4 ตุลาคม

6 กันยายน

วันที่ 6 กันยายน เป็นวันที่ 249 ของปี (วันที่ 250 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 116 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ6 กันยายน

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ6 มิถุนายน

7 กันยายน

วันที่ 7 กันยายน เป็นวันที่ 250 ของปี (วันที่ 251 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 115 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ7 กันยายน

8 มิถุนายน

วันที่ 8 มิถุนายน เป็นวันที่ 159 ของปี (วันที่ 160 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 206 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ8 มิถุนายน

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ดู รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.และ8 เมษายน

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงศ์ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาปีบุษบากรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ สุนทรศักดิกัลยาวดี กรมขุนสุพรรณภาควดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหรา กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ฑีฆชนม์เชษฐประยูรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุบรรณ กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาลพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทรทิพยนิภาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทวีถวัลยลาภ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองแถมถวัลยวงศ์ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคัคณางคยุคล กรมหลวงพิชิตปรีชากรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจิณกิติบดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐาสารีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา กรมหลวงทิพยรัตนกิริฎกุลินีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแม้นเขียนพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสณบัณฑิต กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิปพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสงี่ยมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดีพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรัตน์ กรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมลักษณวงศ์ กรมหมื่นวรวัฒน์สุภากรพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิตพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภาพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฏพงษ์บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิตพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดชพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลีพระเจ้าอินทวิชยานนท์พระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลีพระเจ้าคริสเตียนที่ 10 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญมาเรีย คริสตินาแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปนสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปนสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธรสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมาสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวีสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าละม่อม กรมพระยาสุดารัตนราชประยูรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ สุขุมขัตติยกัลยาวดี กรมหลวงศรีรัตนโกสินทรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเยาวมาลย์นฤมล กรมขุนสวรรคโลกลักษณวดีสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 5 แห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลีสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหม่อมยิ่งอาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรียอาร์ชดยุกลุดวิก วิกเตอร์แห่งออสเตรียอิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรียจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนีจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 3 แห่งรัสเซียจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีจักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงจักรพรรดินีโคจุงจักรพรรดิโชวะจักรพรรดิไทโชจักรพรรดิเมจิจักรวรรดิรัสเซียทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์นครเชียงใหม่แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์กแกรนด์ดยุกไมเคิล อเล็กซานโดรวิชแห่งรัสเซียแกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กแรมง ปวงกาเรเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซเพชรเอมีล ลูแบเอ็มมาแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ สมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์เจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุเจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มาเจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งกลอสเตอร์เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์1 มิถุนายน1 สิงหาคม11 ตุลาคม13 กุมภาพันธ์14 กุมภาพันธ์15 พฤศจิกายน15 ธันวาคม16 พฤศจิกายน16 กุมภาพันธ์16 สิงหาคม17 ตุลาคม19 กรกฎาคม19 กันยายน19 เมษายน2 กุมภาพันธ์2 มกราคม20 มกราคม20 มิถุนายน21 กันยายน22 พฤษภาคม22 กุมภาพันธ์22 มกราคม24 ตุลาคม25 ตุลาคม26 พฤศจิกายน26 มีนาคม27 พฤษภาคม28 มิถุนายน29 สิงหาคม30 มกราคม4 ตุลาคม6 กันยายน6 มิถุนายน7 กันยายน8 มิถุนายน8 เมษายน