เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวง

ดัชนี จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวง

ักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวง (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2392 — 19 เมษายน พ.ศ. 2457) พระนามเดิม มะซะโกะ อิชิโจ และฮะรุโกะ อิชิโจ ตามลำดับ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิเม.

สารบัญ

  1. 18 ความสัมพันธ์: กู่เจิงราชวงศ์ญี่ปุ่นรายพระนามจักรพรรดินีญี่ปุ่นสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงอักษรวิจิตรจักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวงจักรพรรดินีเทเมจักรพรรดิเมจิจักรวรรดิญี่ปุ่นจังหวัดชิซูโอกะจังหวัดเกียวโตตระกูลฟูจิวาระซะโดนูมาซุโคกินวากาชูเฮอังเกียวเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนมงกุฎเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

  2. จักรพรรดินีญี่ปุ่น
  3. จักรพรรดิเมจิ
  4. บุคคลในยุคเมจิ

กู่เจิง

กู่เจิง กู่เจิงภาษาฮกเกี้ยน(โคว่เฉ่ง kócheng) หรือ เจิง (箏) (คำว่า กู่ หมายถึง "โบราณ") เป็นเครื่องดนตรีแบบดั้งเดิมของจีน นับเป็นเครื่องสาย ใช้มือดีด กู่เจิงยังเป็นต้นแบบของเครื่องดนตรีอื่นๆ เช่น โคโตะ ของญี่ปุ่น, gayageum ของเกาหลี đàn tranh ของเวียดนามและyatga ของ มองโกล กู่เจิงปัจจุบันเป็นเครื่องดนตรีที่มีสาย 21 สายใช้วางในแนวนอนเวลาเล่น แต่ละสาย มีหย่อง(ไม้ลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมคล้ายตัว A รองรับสายแต่ละเส้น)รองรับ หย่องของกู่เจิงสามารถเปลี่ยนตำแหน่งได้เพื่อปรับระดับเสียงหรือเปลี่ยนคีย์(บันไดเสียง) หย่องมีตำแหน่งค่อนไปทางด้านขวาของเครื่อง "กู่เจิง" เป็นเครื่องสายจีนที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 2,500 ปี จากหลักฐานสมัยราชวงศ์ฉินกู่เจิงถูกเรียกขานในอีกชื่อหนึ่งคือ "ฉินเจิง" หรือ "พิณของฉิน" ซึ่งเริ่มแรกนั้นกู่เจิงมีสายเสียงเพียง 5 สาย จนถึงสมัยราชวงศ์ถังมีสายเพิ่มเป็น 13 สาย ต่อมาในสมัยราชวงศ์หยวนและราชวงศ์หมิงเพิ่มเป็น 14 สาย และเพิ่มเป็น 16 สาย ในสมัยราชวงศ์ชิง จนศตวรรษที่ 20 กู่เจิงก็ได้รับการพัฒนาต่อให้มีสายเสียงเพิ่มขึ้นอีกเป็น 18 และ 21 สาย ซึ่งถือว่าเป็นจำนวนสายที่ถือเป็นมาตรฐานในปัจจุบัน แต่สามารถพบเห็นกู่เจิง 26 สายได้บ้างแต่ไม่นิยมนักเนื่องจากตัวใหญ่เทอะทะเกินไป เดิมนั้นสายเป็นเส้นไหมฟั่นกัน ในปัจจุบันใช้สายโลหะในลักษณะเดียวกับสายของเครื่องดนตรีสากล (นั่นคือ ใช้โลหะพันรอบสายแสตนเลสโดยมีสายไนล่อนพันทับอีกครั้งความหนาขึ้นกับขนาดของสาย) มีขนาดเล็กใหญ่ตามลำดับของเสียง ตัวกู่เจิงทำด้วยไม้หลายชิ้นประกอบเข้าด้วยกันลักษณะคล้ายกล่องยาวด้านบนโค้งเล็กน้อยภายในกลวงทำหน้าที่เป็นกล่องเสียง แผ่นไม้ปิดด้านบนเป็นไม้คุณภาพดีเพื่อใช้เป็น sound board ทำจากไม้สนชนิดหนึ่ง ด้านข้าง หัวท้ายเป็นไม้เนื้อแข็งเป็นโครง ด้านล่างเป็นไม้เจาะช่องตามตำแหน่งที่ออกแบบให้เสียงออกมาได้อย่างทั่วถึง ตัวกู่เจิงจะปิดด้วยไม้เนื้อดียกเว้นส่วนซาวน์บอร้ดและด้านล่างเช่นไม้แดง(หงมู่)หรือไม้จันทน์ม่วง(จื่อถาน)อาจมีการประดับตกแต่ง แกะลาย หรือปิดด้วยหินสี หยก เพื่อความสวยงามทั้งด้านหัว ท้ายและด้านข้าง สายกู่เจิงจะถูกขึงระหว่างหัว-ท้ายพาดผ่านสะพานสาย(bridge)โดยมีหย่องรับสายเพื่อปรับระดับเสียงระหว่างสะพานหัว-ท้าย ที่ตั้งสายจะอยู่บริเวณส่วนหัว มีฝาปิดมิดชิด กู่เจิงบางรุ่นในปัจจุบันมีปุ่มที่สามารถปรับเปลี่ยนคีย์ได้อย่างสะดวกโดยไม่ต้องเลื่อนหย่อง เหมาะสำหรับเล่นในวงออเคสตร้าจีนที่มีการปรับเปลี่ยนหลายคีย์ในเพลง.

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและกู่เจิง

ราชวงศ์ญี่ปุ่น

ราชวงศ์ญี่ปุ่น (Imperial House of Japan.) บ้างเรียก ราชวงศ์ยะมะโตะ หรือ ราชวงศ์เบญจมาศ เป็นหนึ่งในราชวงศ์มีการสืบทอดสันตติวงศ์มาอย่างยาวนาน ตั้งแต่การขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิจินมุ (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและราชวงศ์ญี่ปุ่น

รายพระนามจักรพรรดินีญี่ปุ่น

ักรพรรดินีญี่ปุ่น คือพระอิสริยยศของอิสตรีผู้ครองราชย์เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่น และอาจหมายถึงจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิญี่ปุ่น โดยจักรพรรดินีอัครมเหสีในรัชกาลปัจจุบันคือจักรพรรดินีมิชิโกะในจักรพรรดิอะกิฮิโต.

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและรายพระนามจักรพรรดินีญี่ปุ่น

สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง

สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง (queen mother สำหรับพระราชินี และ empress mother สำหรับพระจักรพรรดินี) คือ พระมเหสีม่ายของพระมหากษัตริย์รัชกาลก่อน และเป็นพระราชมารดาของพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบัน คำนี้เกิดขึ้นในภาษาอังกฤษเมื่อราว..

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง

อักษรวิจิตร

อักษรวิจิตรภาษาจีนจากสมัยราชวงศ์ซ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 11 อักษรวิจิตรจากไบเบิลภาษาละติน ค.ศ. 1407 อักษรวิจิตร (calligraphy) เป็นทัศนศิลป์ชนิดหนึ่ง มักจะเรียกว่าศิลปะของการเขียน ความหมายในทางปฏิบัติคือ “ศิลปะแห่งการให้รูปแบบเพื่อแสดงถึงลักษณะความหมาย ความกลมกลืน และความชำนาญ” ประวัติของการเขียนอักษรวิจิตรเป็นประวัติของการพัฒนาที่มาจากความสามารถทางเทคนิค ความรวดเร็วในการเขียน ความจำกัดของวัตถุที่ใช้ สถานที่ที่ทำการเขียน และเวลาที่เขียน ลักษณะของการเขียนเช่นนี้เรียกว่า script, hand หรือ alphabet คำว่า calligraphy มาจากภาษากรีก κάλλος (kallos.

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและอักษรวิจิตร

จักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวง

ักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวง (11 มกราคม พ.ศ. 2378 — 11 มกราคม พ.ศ. 2440) พระนามเดิม อะซะโกะ คุโจ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิโคเม.

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและจักรพรรดินีเอโช พระพันปีหลวง

จักรพรรดินีเทเม

ักรพรรดินีเทเม (25 มิถุนายน พ.ศ. 2427 – 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2494) พระนามเดิม ซะดะโกะ คุโจ เป็นจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิไทโช และเป็นพระราชมารดาในจักรพรรดิโชวะ โดยจักรพรรดินีเทเมเป็นจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นองค์สุดท้ายที่มาจากตระกูลฟุจิวะระ (สายตระกูลคุโจ).

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและจักรพรรดินีเทเม

จักรพรรดิเมจิ

มเด็จพระจักรพรรดิมุสึฮิโตะ (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1853 — 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1912) พระนามตามรัชสมัยคือ จักรพรรดิเมจิ ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 122 ของประเทศญี่ปุ่น ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ.

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและจักรพรรดิเมจิ

จักรวรรดิญี่ปุ่น

ักรวรรดิญี่ปุ่น หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นจักรวรรดิที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดและเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของโลก ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 สถาปนาขึ้นภายหลังจากการปฏิรูปเมจิ เมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและจักรวรรดิญี่ปุ่น

จังหวัดชิซูโอกะ

ังหวัดชิซูโอกะ เป็นจังหวัดในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ในภูมิภาคชูบุ บนเกาะฮนชู เมืองหลักใช้ชื่อเดียวกันคือเมืองชิซูโอกะ (静岡市 Shizuoka-shi) จังหวัดนี้เป็นที่ตั้งของภูเขาฟูจิ (富士山 Fuji-san) และมีชื่อเสียงของการปลูกชาเขียวที่ดีที่สุดในญี่ปุ่น.

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและจังหวัดชิซูโอกะ

จังหวัดเกียวโต

ังหวัดเกียวโต เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่บนเกาะฮนชู มีเมืองหลักชื่อเดียวกันคือเมืองเกียวโต มีความสำคัญเคยเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น มีโบราณวัตถุมากมาย มีชื่อในการทำผ้าไหมและแพร.

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและจังหวัดเกียวโต

ตระกูลฟูจิวาระ

ฟูจิวาระ คามาตาริ ต้นตระกูลฟูจิวาระ ฟูจิวาระ เป็นกลุ่มขุนนางที่เคยมีอำนาจและอิทธิพลอย่างยิ่งใหญ่ต่อราชสำนักญี่ปุ่น ในยุคเฮอัง โดย ฟูจิวาระ โนะ โมโตสึเนะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นคัมปากุ ซึ่งเป็นตำแหน่งขุนนางที่ทรงอิทธิพลที่สุด และคนของฟุจิวาระก็เข้ายึดครองอำนาจในราชสำนัก ทำให้กลายเป็นตระกูลทหารที่มีอำนาจสูงสุด ยาวนานกว่า 500 ปี โดยฟูจิวาระ ได้ผูกขาดตำแหน่งคัมปากุ เซ็สโช และไดโจไดจิงตลอด 500 ปี และยังให้บุตรสาวของตระกูลอภิเษกสมรสกับจักรพรรดิ เพื่อให้เชื้อสายของตนเองเป็นจักรพรรดิอีกด้วย อย่างไรก็ตามจักรพรรดิเชื้อสายฟูจิวาระได้หมดไปในภายหลัง พร้อม ๆ กับการล่มสลายของตระกูลฟูจิวาระที่ครองอำนาจกว่า 500 ปี ตระกูลฟูจิวาระล่มสลายลงไปปี..

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและตระกูลฟูจิวาระ

ซะโด

การชงชาแบบญี่ปุ่น ซะโด หรือ ชะโด หรือ ชาโนะยุ หรือพิธีชงชาญี่ปุ่น เป็นเอกลักษณ์ของประเทศญี่ปุ่นว่าด้วยการใช้เวลาอย่างสุนทรีย์ ประกอบด้วยการปรนนิบัติระหว่างการดื่มและการดื่มชาผงสีเขียวหรือมัทชา (matcha) การจัดการพบปะกันในวงสังคมเพื่อดื่มมัทชาได้แพร่หลายในบรรดาชนชั้นสูงนับตั้งแต่ประมาณศตวรรษที่ 14 ต้นฉบับของพิธีชงชา รูปแบบของซะโดซึ่งปฏิบัติกันอยู่ในปัจจุบัน ยุคนาระ โดยมีผู้เชี่ยวชาญด้านชาคือ เซ็น โนะ ริคิว (Sen no Rikyu) ซะโดมีลักษณะที่เป็นแบบแผน ได้พัฒนาภายใต้อิทธิพลของพุทธศาสนานิกายเซ็นซึ่งจุดประสงค์สามารถอธิบายได้ด้วยคำพูดเรียบง่าย คือเพื่อทำวิญญาณให้บริสุทธิ์โดยการเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมชาติหัวใจแท้จริงของพิธีชงชาได้รับการบรรยายโดยคำต่าง ๆ เช่น ความสงบ ความเรียบง่าย ความสง่างาม และ สุนทรียศาสตร์แห่งความเรียบง่ายอันเข้มงวดและความยากจนที่ประณีต ซะโดยังมีบทบาทสำคัญในด้านชีวิตด้านศิลปะของชาวญี่ปุ่น พิธีชงชาจะเกี่ยวข้องกับการชื่นชมห้องที่ประกอบพิธี ส่วนที่ติดอยู่ในห้องนั้น เครื่องใช้ในการชงชา เครื่องประดับบริเวณพิธี เช่น ภาพแขวนหรือการจัดดอกไม้ สถาปัตยกรรมญี่ปุ่น การจัดสวน เครื่องปั้นดินเผาเซรามิก สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ก็ล้วนแต่ได้รับอิทธิพลมาจากพิธีชงชา และความเป็นพิธีการที่ถือปฏิบัติในพิธีชงชาได้มีอิทธิพลต่อการพัฒนามารยาทของชาวญี่ปุ่นในลักษณะที่เป็นพื้นฐาน ภายหลังที่เซ็น โนะ ริคิว ถึงแก่กรรมในปี..

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและซะโด

นูมาซุ

นูมาซุ เป็นเมืองในจังหวัดชิซุโอะกะ ประเทศญี่ปุ่น มีขนาดพื้นที่ทั้งสิ้น 187.11 ตารางกิโลเมตร มีจำนวนประชากรในปี..

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและนูมาซุ

โคกินวากาชู

ปก โคกินวากาชู ฉบับ เก็นเอบ็อง ศตวรรษที่ 12 โคกินวากาชู หรือ โคกิงวากาชู (古今和歌集, The Kokin Wakashū) เรียกกันสั้น ๆ ว่า โคกินชู (古今集, Kokinshū)ชื่อ หมายถึง ประชุมบทร้อยกรองแบบญี่ปุ่นตั้งแต่โบราณถึงปัจจุบัน เป็นหนังสือประชุมบทร้อยกรองแบบวากะ ที่จัดทำโดยสำนักพระราชวังในต้นยุคเฮอัง โดยพระราชดำริของจักรพรรรดิอูดะ (Emperor Uda ค.ศ.

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและโคกินวากาชู

เฮอังเกียว

''Heian-kyō'' เฮอังเคียว หรือ เฮอังเกียว คืออดีตเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 1337(ค.ศ. 794) โดยสมเด็จพระจักรพรรดิคังมุ ในจังหวัดเคียวโตะ หรือ เกียวโต ประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน มีฐานะเป็นเมืองหลวงของประเทศนานถึง 1074 ปี ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นโตเกียว ในปี พ.ศ.

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและเฮอังเกียว

เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนมงกุฎ

รื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนมงกุฎ (Order of the Precious Crown) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ญี่ปุ่น สถาปนาในปี..

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนมงกุฎ

เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ มีอักษรย่อว่า ม..ก. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑, ตอน ๑๔, ๓๐ มิถุนายน..

ดู จักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงและเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

ดูเพิ่มเติม

จักรพรรดินีญี่ปุ่น

จักรพรรดิเมจิ

บุคคลในยุคเมจิ

หรือที่รู้จักกันในชื่อ สมเด็จพระจักรพรรดินีโชเกนสมเด็จพระจักรพรรดินีโชเก็งสมเด็จพระจักรพรรดินีโชเก็ง พระพันปีหลวงสมเด็จพระจักรพรรดินีโชเคน พระพันปีหลวงจักรพรรดินีโชเกนจักรพรรดินีโชเก็ง