โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี

ดัชนี จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี

วิลเฮล์ม ฟรีดริช ลุดวิจ ฟอน โฮเอินโซลเลิร์น (Wilhelm Friedrich Ludwig von Hohenzollern) เป็นกษัตริย์แห่งปรัสเซียและจักรพรรดิเยอรมันจากราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น ภายใต้การปกครองของพระองค์ร่วมกับนายกรัฐมนตรีออทโท ฟอน บิสมาร์ค สามารถนำพาราชอาณาจักรปรัสเซียมีชัยเหนือสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียและนำไปสู่การรวมชาติเยอรมันขึ้นเป็นจักรวรรดิเยอรมันในปี..

24 ความสัมพันธ์: พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งปรัสเซียพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3 แห่งปรัสเซียพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 4 แห่งปรัสเซียการรวมชาติเยอรมันมหาอำนาจยุทธการที่วอเตอร์ลูราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นราชอาณาจักรปรัสเซียรายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซียสมาพันธรัฐเยอรมันสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียสงครามประสานมิตรครั้งที่หกออทโท ฟอน บิสมาร์คจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรียจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งเยอรมนีจักรพรรดิเยอรมันจักรวรรดิเยอรมันนายกรัฐมนตรีเยอรมนีนิกายลูเทอแรนแกบฮาร์ด ฟอน บลือเชอร์โรคหลอดเลือดสมองเบอร์ลินเอากุสตาแห่งซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค

พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งปรัสเซีย

ระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งปรัสเซีย (Friedrich Wilhelm II, Frederick William II of Prussia) (25 กันยายน ค.ศ. 1744 - 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1797) ฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งปรัสเซียและรัฐผู้คัดเลือกแห่งบรันเดินบวร์ค (ในพระนามฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3) ผู้ทรงครองราชสมบัติต่อจากพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 ในปี ค.ศ. 1786 และครองราชย์ต่อมาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1797 โดยมีพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3 ทรงเป็นผู้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 25 กันยายน ค.ศ. 1744 เป็นพระราชโอรสของออกัสตัส วิลเลียมแห่งปรัสเซีย และ หลุยส์ อามาลี แห่งเบราน์ชไวก์-โวลเฟนบึทเทิล.

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3 แห่งปรัสเซีย

ระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3 (Friedrich Wilhelm III) เป็นกษัตริย์แห่งปรัสเซียระหว่าง..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 3 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 4 แห่งปรัสเซีย

ระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 4 (Friedrich Wilhelm IV) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งปรัสเซียระหว่าง..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 4 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

การรวมชาติเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมันระหว่างค.ศ. 1871–1918 การรวมชาติเยอรมัน (Deutsche Einigung) คือการที่รัฐเล็กน้อยต่างๆที่พูดภาษาเยอรมันถูกรวมเข้าด้วยกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน การรวมชาติมีขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 18 มกราคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและการรวมชาติเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

มหาอำนาจ

มหาอำนาจ หมายถึงรัฐซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีความสามารถแผ่อิทธิพลในระดับโลกได้ ลักษณะของรัฐมหาอำนาจ คือ ครอบครองอำนาจทางทหารและเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลทางการทูตและอำนาจแบบอ่อน (soft power) ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ประเทศด้อยอำนาจต้องพิจารณาความเห็นของมหาอำนาจก่อนดำเนินการใด ๆ ของตน นักทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ระบุว่า ลักษณะของสถานภาพมหาอำนาจสามารถจำแนกเป็นขีดความสามารถของอำนาจ และมิติสถานภาพ ในบางครั้ง สถานภาพมหาอำนาจได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในการประชุมที่สำคัญ ดังเช่น การประชุมแห่งเวียนนาDanilovic, Vesna.

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและมหาอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่วอเตอร์ลู

ทธการที่วอเตอร์ลู เกิดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน 1815 ที่ เมืองวอเตอร์ลู ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศเบลเยี่ยม, ในขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของ สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและยุทธการที่วอเตอร์ลู · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น

ราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น (Haus Hohenzollern) เป็นราชตระกูลเยอรมันและโรมาเนียของยุโรปที่ปกครองปรัสเซีย, เยอรมนี และ โรมาเนีย บริเวณดั้งเดิมของราชวงศ์อยู่ในบริเวณเมืองเฮ็คคิงเงิน (Hechingen) ในชวาเบินที่ก่อตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ชื่อราชวงศ์มาจากที่พำนักของตระกูลที่เรียกว่าปราสาทโฮเอินโซลเลิร์น (Burg Hohenzollern) คำขวัญของตระกูลคือ “Nihil Sine Deo” (ไม่มีสิ่งใดถ้าไม่มีพระเจ้า) ตราประจำตระกูลเริ่มใช้ในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและราชวงศ์โฮเอินโซลเลิร์น · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรปรัสเซีย

ราชอาณาจักรปรัสเซีย (Kingdom of Prussia) เป็นราชอาณาจักรหนึ่งของชนชาติเยอรมัน ดำรงอยู่ระหว่างปีค.ศ. 1701 ถึง 1918 ครอบคลุมพื้นที่ในประเทศเยอรมนี โปแลนด์ รัสเซีย ลิทัวเนีย เดนมาร์ก เบลเยียม และเช็กเกียในปัจจุบัน ราชอาณาจักรปรัสเซียกลายเป็นมหาอำนาจของยุโรปในศตวรรษที่ 18 ในรัชสมัยของพระเจ้าฟรีดริชมหาราช และยิ่งทรงอำนาจขึ้นจนสามารถเป็นแกนนำในการชักนำรัฐเยอรมันต่างๆให้ทำการรวมชาติกันเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ในปี 1871.

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและราชอาณาจักรปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซีย

ตราอาร์มของราชอาณาจักรปรัสเซีย รายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซีย (List of monarchs of Prussia) เป็นรายนามและรายพระนามของประมุขของอดีตรัฐเยอรมันแห่งปรัสเซีย ที่เดิมเป็นรัฐอัศวินทิวทอนิก บนฝั่งทะเลบอลติกที่อัศวินทิวทอนิกพิชิตได้มาจากโปแลนด์และลิทัวเนีย ต่อมาเป็นดัชชีภายใต้การปกครองของราชอาณาจักรโปแลนด์ ดัชชีปรัสเซีย ราชอาณาจักรปรัสเซียอิสระ ราชอาณาจักรภายในจักรวรรดิเยอรมัน และเสรีรัฐปรัสเซียของเยอรมนีในที่สุด ประวัติศาสตร์ของปรัสเซียตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและรายพระนามพระมหากษัตริย์ปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธรัฐเยอรมัน

มาพันธรัฐเยอรมัน (German Confederation; Deutscher Bund) เป็นสมาคม 39 รัฐเยอรมันในยุโรปกลางอย่างหลวม ตั้งขึ้นโดยการประชุมใหญ่แห่งเวียนน..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและสมาพันธรัฐเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ

มาพันธรัฐเยอรมันเหนือ (Norddeutscher Bund) คือชื่อของรัฐชาติเยอรมันซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง กรกฎาคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย

งครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย หรือ สงครามฝรั่งเศส-เยอรมนี หรือ สงครามฟรังโก - ปรัสเซีย (Franco-Prussian War หรือ Franco-German War) ในฝรั่งเศสเรียกกันว่า "สงคราม..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามประสานมิตรครั้งที่หก

งครามประสานมิตรครั้งที่หก (War of the Sixth Coalition) หรือชื่อในภาษาเยอรมันคือ สงครามปลดแอก (Befreiungskriege) เป็นการผนึกกำลังระหว่างออสเตรีย, ปรัสเซีย, รัสเซีย, สหราชอาณาจักร, โปรตุเกส, สวีเดน, สเปน และรัฐเยอรมันอีกหลาย ๆ รัฐ เข้าต่อสู้และมีชัยเหนือฝรั่งเศสซึ่งนำโดยนโปเลียน โบนาปาร์ต และเนรเทศนโปเลียนไปยังเกาะเอลบา สงครามนี้เริ่มขึ้นหลังจากที่กองทัพนโปเลียนพ่ายแพ้อย่างพินาศย่อยยับในการรุกรานรัสเซีย มหาอำนาจยุโรปอย่างสหราชอาณาจักร, โปรตุเกส และฝ่ายกบฏในสเปนต่างพากันเข้าร่วมกับรัสเซียในการสยบนโปเลียน กองทัพฝ่ายประสานมิตรที่ได้รับการจัดระเบียบใหม่ สามารถไล่ทหารของนโปเลียนออกจากเยอรมนีได้ในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและสงครามประสานมิตรครั้งที่หก · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท ฟอน บิสมาร์ค

ออทโท อีดวร์ท เลโอโพลด์ ฟอน บิสมาร์ค-เชินเฮาเซิน (Otto Eduard Leopold von Bismarck-Schönhausen) หรือที่นิยมเรียกว่า ออทโท ฟอน บิสมาร์ค เป็นรัฐบุรุษและนักการทูตแห่งราชอาณาจักรปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน เขาเป็นผู้นำทางการเมืองที่ทรงอิทธิพลที่สุดในยุโรประหว่างทศวรรษ 1860 ถึง 1890 และดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกแห่งจักรวรรดิเยอรมันระหว่าง 1871 ถึง 1890 ในปี 1862 พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ทรงแต่งตั้งบิสมาร์คเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซีย ซึ่งเขาดำรงตำแหน่งนี้จนถึงปี 1890 เขานำพาปรัสเซียเข้าสู่สงครามสามครั้งอันได้แก่ สงครามชเลสวิจครั้งที่สอง, สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย และสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย และได้รับชัยชนะในสงครามทั้งสาม หลังชนะในสงครามกับออสเตรีย บิสมาร์คได้ยุบสมาพันธรัฐเยอรมันทิ้ง และจัดตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันเหนืออันมีปรัสเซียเป็นแกนนำขึ้นมาแทน ศูนย์อำนาจทางการเมืองของยุโรปภาคพื้นทวีปได้ย้ายจากกรุงเวียนนาของออสเตรียไปยังกรุงเบอร์ลินของปรัสเซีย และเมื่อปรัสเซียมีชัยชนะเหนือฝรั่งเศสแล้ว บิสมาร์คก็ได้สถาปนาสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือขึ้นเป็นจักรวรรดิเยอรมัน โดยทูลเชิญพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 ขึ้นดำรงตำแหน่งจักรพรรดิเยอรมันพระองค์แรกในปี 1871 บิสมาร์คจึงกลายเป็นทั้งนายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ความสำเร็จในการรวมชาติเยอรมันในปี 1871 บิสมาร์คได้ใช้ทักษะทางการทูตของเขารักษาดุลอำนาจของเยอรมันในยุโรปไว้ บิสมาร์คได้อุทิศตนเองในการพยายามรักษาสันติภาพในบรรดามหาอำนาจเป็นเวลากว่าสองทศวรรษ อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากที่เยอรมันผนวกแคว้นอัลซัค-ลอแรน (Alsace-Lorraine) มาจากฝรั่งเศส ได้จุดชนวนขบวนการชาตินิยมขึ้นในฝรั่งเศส การเรืองอำนาจของเยอรมันทำให้เกิดภาวะ "กลัวเยอรมัน" (Germanophobia) ขึ้นในฝรั่งเศส เป็นความครุกครุ่นก่อนปะทุเป็นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นโยบาย realpolitik ของบิสมาร์คประกอบกับบารมีที่มากล้นของเขาทำให้บิสมาร์คได้รับสมญาว่า นายกฯเหล็ก ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ก้าวกระโดดของเยอรมันถือเป็นรากฐานของนโยบายเหล่านี้ บิสมาร์คเป็นคนไม่ชอบการล่าอาณานิคมแต่เขาก็จำยอมฝืนใจต้องสร้างจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันขึ้นจากเสียงเรียกร้องของบรรดาชนชั้นนำและมวลชนในจักรวรรดิ บิสมาร์คมีชั้นเชิงทางการทูตชนิดหาตัวจับได้ยาก เขาเล่นกลการเมืองด้วยการจัดการประชุม การเจรจา และการร่วมเป็นพันธมิตรที่สอดประสานกันอย่างซับซ้อนหลายครั้งเพื่อถ่วงดุลอำนาจในทวีปยุโรปให้เกิดสันติสุขตลอดช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 และ 1880 ได้สำเร็จ ไม่เพียงด้านการทูตและการต่างประเทศเท่านั้น บิสมาร์คยังเป็นปรมาจารย์ด้านการเมืองในประเทศ เขาริเริ่มรัฐสวัสดิการเป็นครั้งแรกในโลกสมัยใหม่ มีเป้าหมายเพื่อดึงการสนับสนุนของมวลชนจากชนชั้นแรงงาน ซึ่งมิเช่นนั้นแล้วมวลชนเหล่านี้อาจไปเข้าร่วมกับสังคมนิยมซึ่งเป็นศัตรูของเขาได้ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 เขาเข้าเป็นพันธมิตรกับเสรีนิยม (ผู้นิยมอัตราภาษีศุลกากรระดับต่ำและต่อต้านคาทอลิก) และต่อสู้กับศาสนจักรคาทอลิกที่ซึ่งถูกขนานนามว่า คุลทูร์คัมพฟ์ (Kulturkampf; การต่อสู้ทางวัฒนธรรม) แต่พ่ายแพ้ โดยฝ่ายศาสนจักรตอบโต้ด้วยการจัดตั้งพรรคกลาง (Centre Party) อันทรงพลังและใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายเพื่อให้ได้ที่นั่งในสภา ด้วยเหตุนี้บิสมาร์คจึงกลับลำ ล้มเลิกปฏิบัติการคุลทูร์คัมพฟ์ ตัดขาดกับฝ่ายเสรีนิยม กำหนดภาษีศุลกากรแบบคุ้มกัน และร่วมเป็นพันธมิตรทางการเมืองกับพรรคกลางเพื่อต่อกรกับฝ่ายสังคมนิยม บิสมาร์คเป็นผู้เลื่อมใสศรัทธาในนิกายลูเทอแรนอย่างมาก จึงจงรักภักดีต่อกษัตริย์ของตนผู้ซึ่งมีทัศนะขัดแย้งกับเขา แต่ท้ายที่สุดก็ทรงโอนอ่อนและสนับสนุนเขาจากคำแนะนำของพระมเหสีและพระรัชทายาท ในขณะนั้นสภาไรชส์ทาคมาจากเลือกตั้งแบบสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายชาวเยอรมัน แต่ไรชส์ทาคไม่มีอำนาจควบคุมนโยบายของรัฐบาลมากนัก บิสมาร์คไม่เชื่อในระบอบประชาธิปไตยจึงปกครองผ่านระบบข้าราชการประจำที่แข็งแกร่งและได้รับการฝึกฝนมาดีในอุ้งมือของอภิชนยุงเคอร์เดิมซึ่งประกอบด้วยขุนนางเจ้าที่ดินในปรัสเซียตะวันออก ในรัชกาลพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 เขาเป็นผู้ควบคุมกิจการในประเทศและต่างประเทศเสียเป็นส่วนใหญ่ จนเมื่อจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ถอดเขาจากตำแหน่งในปี 1890 เมื่อเขาอายุได้ 75 ปี บิสมาร์คผู้เป็นขุนนางศักดินา ยุงเคอร์ มีบุคคลิกเด่น ๆ คือหัวรั้น ปากกล้า และบางครั้งเอาแต่ใจ แต่ในขณะเดียวกันก็สุภาพ มีเสน่ห์ และมีไหวพริบด้วยเช่นกัน ในบางโอกาสเขาก็เป็นคนที่มีอารมณ์รุนแรง บิสมาร์ครักษาอำนาจของเขาด้วยการเล่นละครแสดงบทบาทอ่อนไหวพร้อมขู่ว่าจะลาออกจากตำแหน่งอยู่ซ้ำ ๆ ซึ่งมักจะทำให้พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 ทรงเกรงกลัว นอกจากนี้บิสมาร์คไม่เพียงแต่มีวิสัยทัศน์เกี่ยวกับกิจการภายในและต่างประเทศอันยาวไกลเท่านั้น แต่ยังมีทักษะที่สามารถเล่นกลทางการเมืองเพื่อแทรกแซงสถานการณ์อันซับซ้อนที่กำลังดำเนินไปในระยะสั้นได้ด้วย จนกลายเป็นผู้นำที่ถูกนักประวัติศาสตร์ขนานนามว่าเป็น "ฝ่ายอนุรักษนิยมสายปฏิวัติ" (revolutionary conservatism) สำหรับนักชาตินิยมเยอรมัน บิสมาร์คคือวีรบุรุษของพวกเขา มีการจัดสร้างอนุสาวรีย์ของบิสมาร์คหลายแห่งเพื่อเชิดชูเกียรติผู้ก่อตั้ง จักรวรรดิไรซ์ ยุคใหม่ นักประวัติศาสตร์หลายคนเองก็ชื่นชมเขาในฐานะผู้มีวิสัยทัศน์ไกล ผู้ซึ่งมีส่วนสำคัญในการรวมเยอรมนีให้เป็นหนึ่งเดียวและช่วยให้ยุโรปดำรงสันติภาพเอาไว้ได้ผ่านการทูตอันชาญฉลาดของ.

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและออทโท ฟอน บิสมาร์ค · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย

ักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย พระนามเต็ม: ฟรันซ์ โยเซฟ คาร์ล (Franz Joseph Karl von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งออสเตรีย และ กษัตริย์แห่งฮังการี และทรงเป็นจักรพรรดิและพระราชาธิบดีพระองค์แรกในจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 พระองค์ทรงเป็นองค์พระประมุขที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดเป็นอันดับที่สามในยุโรป รองจากเจ้าชายโจฮันน์ที่ 2 แห่งลิกเตนสไตน์และพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ซึ่งทั้งสองพระองค์นี้ทรงครองราชย์เป็นเวลา 70 กว่าปีเท่ากัน.

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและจักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งเยอรมนี

ฟริดริชที่ 3 (Friedrich III) (18 ตุลาคม ค.ศ. 1831 – 15 มิถุนายน ค.ศ. 1888) จักรพรรดิแห่งเยอรมนี (ไกเซอร์) กษัตริย์แห่งปรัสเซีย ในปี..1888 พระองค์เป็นโอรสของ เจ้าชายวิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย และ ออกัสตาแห่งแซ็กซ์-ไวมาร.

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเยอรมัน

ักรพรรดิเยอรมัน (Deutscher Kaiser) เป็นพระอิสริยยศของพระประมุขแห่งจักรวรรดิเยอรมัน เริ่มใช้ตั้งแต่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย เฉลิมพระปรมาภิไธยพระองค์เองเป็น "ดอยท์เชอร์ไกเซอร์" ในวันที่ 18 มกราคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและจักรพรรดิเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิเยอรมัน

ักรวรรดิเยอรมัน (Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันใน..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและจักรวรรดิเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีเยอรมนี

นายกรัฐมนตรี (Bundeskanzler; Chancellor) เป็นตำแหน่งประมุขฝ่ายบริหารประเทศเยอรมนี เป็นชื่อเรียกตำแหน่งเก่าแก่ เกิดขึ้นในสมัยที่เยอรมนีเพิ่งรวมประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญจักรวรรดิเยอรมัน (Constitution of the German Empire 1871 AD) ในสมัยบิสมาร์คในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและนายกรัฐมนตรีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นิกายลูเทอแรน

ัญลักษณ์กุหลาบลูเทอแรน นิกายลูเทอแรน (Lutheranism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ตะวันตกฝ่ายโปรเตสแตนต์ มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นผู้ก่อตั้งนิกายนี้ขึ้นจากการปฏิรูปหลักเทววิทยาและการปฏิบัติของนิกายโรมันคาทอลิก.

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและนิกายลูเทอแรน · ดูเพิ่มเติม »

แกบฮาร์ด ฟอน บลือเชอร์

แกบฮาร์ด เลเบอเร็คท์ ฟอน บลือเชอร์, เฟือสท์แห่งวาลชตัทท์ (Gebhard Leberecht von Blücher, Fürst von Wahlstatt) เป็นจอมพลแห่งราชอาณาจักรปรัสเซีย เขามีชื่อเสียงขึ้นมาหลังจากนำกองทัพเข้ามีชัยเหนือนโปเลียนแห่งฝรั่งเศสในยุทธการที่ไลพ์ซิจใน..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและแกบฮาร์ด ฟอน บลือเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรคหลอดเลือดสมอง

รคลมปัจจุบัน หรือ โรคลมเหตุหลอดเลือดสมอง หรือ โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) เป็นการหยุดการทำงานของสมองอย่างฉับพลันโดยมีสาเหตุจากการรบกวนหลอดเลือดที่เลี้ยงสมอง โรคนี้อาจเกิดจากการขาดเลือดเฉพาะที่ของสมอง (ischemia) ซึ่งมีสาเหตุจากภาวะหลอดเลือดมีลิ่มเลือด (thrombosis) หรือภาวะมีสิ่งหลุดอุดหลอดเลือด (embolism) หรืออาจเกิดจากการตกเลือด (hemorrhage) ในสมอง ผลจากภาวะดังกล่าวทำให้สมองส่วนที่ขาดเลือดหรือตกเลือดทำงานไม่ได้ และอาจส่งผลทำให้อัมพาตครึ่งซีก (hemiplegia; ไม่สามารถขยับแขนขาส่วนใดส่วนหนึ่งหรือซีกใดซีกหนึ่ง) ไม่สามารถที่จะทำความเข้าใจหรือพูดได้ หรือตาบอดครึ่งซีก (hemianopsia; ไม่สามารถมองเห็นครึ่งซีกหนึ่งของลานสายตา) ทั้งนี้ถ้ามีความรุนแรงมาก อาจทำให้ถึงตายได้ โรคลมปัจจุบันเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ซึ่งสามารถทำให้เสียการทำงานของระบบประสาทอย่างถาวร อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนมากมายทำให้พิการและเสียชีวิตได้ นับเป็นสาเหตุหลักของความพิการในสหรัฐอเมริกาและยุโรป และเป็นสาเหตุการตายอันดับที่สองของทั่วโลก และกำลังจะขึ้นเป็นสาเหตุการตายอันดับแรกในไม่ช้.

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและโรคหลอดเลือดสมอง · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เอากุสตาแห่งซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค

อากุสตาแห่งซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค (Augusta von Saxe-Weimar-Eisenach) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากดัชชีซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค ซึ่งอภิเษกเข้าสู่ราชวงศ์ปรัสเซีย เมื่อพระราชสวามีได้ขึ้นเป็นพระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ทำให้พระนางมียศเป็นพระราชินีแห่งปรัสเซีย ต่อมาเมื่อพระราชสวามีได้ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมัน ทำให้พระนางมียศตามขึ้นเป็นจักรพรรดินีเยอรมัน ในปี 1826 ขณะที่ทรงมีพระชนม์เพียง 14 ชันษา พระนางได้พบกับเจ้าชายวิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย ว่าที่พระสวามีซึ่งแก่กว่าถึง 14 ปี เมื่อพบกันครั้งนั้น เจ้าชายวิลเฮล์มทรงดำริว่าเจ้าหญิงเอากุสตาเป็นสตรีที่ยอดเยี่ยม แต่ไม่น่าดึงดูดใจเท่าเจ้าหญิงมารีผู้เป็นพี่สาวของพระนาง ทั้งสองจำยอมต้องหมั้นกันทั้งที่เจ้าชายวิลเฮล์มทรงมีคนรักอยู่ก่อน (เจ้าหญิงเอลิซา รัดซีวีล แห่งโปแลนด์) ทั้งสองอภิเษกสมรสกันในปี..

ใหม่!!: จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมนีและเอากุสตาแห่งซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1 แห่งเยอรมัน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »