โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายพระนามจักรพรรดินีจีน

ดัชนี รายพระนามจักรพรรดินีจีน

ในจักรวรรดิจีน จักรพรรดินี เป็นพระอิสริยยศของพระอัครมเหสีในจักรพรรดิจีน และ จักรพรรดินีพันปีหลวง เป็นพระอิสริยยศของพระราชชนนีในจักรพรรดิจีนพระองค์ปัจจุบันหรือพระองค์ก่อน.

199 ความสัมพันธ์: บูเช็กเทียนพ.ศ. 2449พ.ศ. 2457พ.ศ. 2465พ.ศ. 2467พ.ศ. 2468พ.ศ. 2481พ.ศ. 2489พ.ศ. 2492พ.ศ. 2505พ.ศ. 2510พ.ศ. 2530พ.ศ. 2537พ.ศ. 2540พ.ศ. 2542พระพันปีตู้พระเจ้าโจวอู่พระเจ้าโจวโยวพระเจ้าโจวเหวินกั่ว เชิ่งทงกุบไล ข่านกุยฮุยยวี่เหยียนยิน ลี่หฺวายุคราชวงศ์เหนือ-ใต้ยุคสามก๊กยุคห้าชนเผ่าสิบหกแคว้นยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักรราชวงศ์ชางราชวงศ์ชิงราชวงศ์สุยราชวงศ์หมิงราชวงศ์หยวนราชวงศ์หลิวซ่งราชวงศ์ฮั่นราชวงศ์ฮั่นยุคหลังราชวงศ์ฮั่นตะวันออกราชวงศ์ฮั่นตะวันตกราชวงศ์จินราชวงศ์จิ้นราชวงศ์จิ้นยุคหลังราชวงศ์ถังราชวงศ์ถังยุคหลังราชวงศ์ฉินราชวงศ์ซินราชวงศ์ซ่งราชวงศ์โจวราชวงศ์โจวยุคหลังราชวงศ์โจวเหนือราชวงศ์เว่ยเหนือ...ราชวงศ์เหลียวราชวงศ์เหลียงยุคหลังราชวงศ์เซี่ยรายพระนามจักรพรรดิจีนวุยก๊กสนมหลี่ (ซ่งเจินจง)หยัน จีหลี่ สูเสียนหวัง สีเจี่ยหฺวัง ไถจี๋อาปาไฮ่ฮกเฮาจักรพรรดิกวังซฺวี่จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงจักรพรรดิยงเจิ้งจักรพรรดิว่านลี่จักรพรรดิหยวนหมิงจงจักรพรรดิหยวนหนิงจงจักรพรรดิหยวนอิงจงจักรพรรดิหยวนอู่จงจักรพรรดิหยวนไท่ติ้งจักรพรรดิหยวนเหรินจงจักรพรรดิหยวนเหวินจงจักรพรรดิหย่งเล่อจักรพรรดิหลงชิ่งจักรพรรดิหงอู่จักรพรรดิหงจื้อจักรพรรดิหงซีจักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อจักรพรรดิผู่อี๋จักรพรรดิจิ่งไท่จักรพรรดิจีนจักรพรรดิถังชางจักรพรรดิถังรุ่ยจงจักรพรรดิถังจงจงจักรพรรดิถังซู่จงจักรพรรดิถังไท่จงจักรพรรดิถังเกาจงจักรพรรดิถังเสฺวียนจงจักรพรรดิถังเจาจงจักรพรรดิถังเต๋อจงจักรพรรดิถงจื้อจักรพรรดิคังซีจักรพรรดิฉงเจินจักรพรรดิซุ่นจื้อจักรพรรดิซ่งชินจงจักรพรรดิซ่งกวงจงจักรพรรดิซ่งลี่จงจักรพรรดิซ่งหนิงจงจักรพรรดิซ่งอิงจงจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจงจักรพรรดิซ่งตู้จงจักรพรรดิซ่งไท่จู่จักรพรรดิซ่งไท่จงจักรพรรดิซ่งเกาจงจักรพรรดิซ่งเสินจงจักรพรรดิซ่งเสี้ยวจงจักรพรรดิซ่งเหรินจงจักรพรรดิซ่งเจินจงจักรพรรดิซ่งเจ๋อจงจักรพรรดินีบอร์จิกิตจักรพรรดินีพานจักรพรรดินีกั้ว (ซ่งเหรินจง)จักรพรรดินีวั่นหรงจักรพรรดินีสฺวี (ราชวงศ์หมิง)จักรพรรดินีหม่าจักรพรรดินีหลิว (ซ่งเจินจง)จักรพรรดินีหลี่ (จักรพรรดิซ่งไท่จง)จักรพรรดินีหลงยฺวี่ พระพันปีหลวงจักรพรรดินีหวัง (จักรพรรดิถังเกาจง)จักรพรรดินีหวังจื้อจักรพรรดินีฮั่นเกาจักรพรรดินีจวงเล่อหมินจักรพรรดินีจางมู่จักรพรรดินีจี้จักรพรรดินีคีจักรพรรดินีเกา (ซ่งอิงจง)จักรพรรดินีเมิ่งจักรพรรดินีเว่ย์ จื่อฟูจักรพรรดินีเสี่ยวติง พระพันปีหลวงจักรพรรดินีเสี่ยนซู่จักรพรรดินีเหรินหฺวายจักรพรรดินีเหวย์จักรพรรดินีเฉา (ซ่งเหรินจง)จักรพรรดินีเฉินเจี่ยวจักรพรรดินีเซี่ยวกงเหรินจักรพรรดินีเซี่ยวมู่เฉิงจักรพรรดินีเซี่ยวอันจักรพรรดินีเซี่ยวอี้เหรินจักรพรรดินีเซี่ยวอี๋ฉุนจักรพรรดินีเซี่ยวฮุ่ยจักรพรรดินีเซี่ยวฮุ่ยจางจักรพรรดินีเซี่ยวจิง พระพันปีหลวงจักรพรรดินีเซี่ยวจิงอี้จักรพรรดินีเซี่ยวจิ้งเฉิงจักรพรรดินีเซี่ยวจิ้งเซี่ยนจักรพรรดินีเซี่ยวจฺวัง พระพันปีหลวงจักรพรรดินีเซี่ยวคังจางจักรพรรดินีเซี่ยวคังจิงจักรพรรดินีเซี่ยวตฺวันเหวินจักรพรรดินีเซี่ยวฉือเกา (ราชวงศ์ชิง)จักรพรรดินีเซี่ยวซูรุ่ยจักรพรรดินีเซี่ยวเชิ่งเซี่ยนจักรพรรดินีเซี่ยวเสียนฉุนจักรพรรดินีเซี่ยวเหอรุ่ย พระพันปีหลวงจักรพรรดินีเซี่ยวเจาเหรินจักรพรรดินีเซี่ยวเจี๋ยซู่จักรพรรดินีเซี่ยวเจ๋ออี้จักรพรรดินีเซี่ยวเต๋อเสี่ยนจักรพรรดินีเซี่ยวเฉิงเหรินจักรพรรดินีเซี่ยวเฉฺวียนเฉิงจักรพรรดินีเซี่ยวเซิ่นเฉิงจักรพรรดินีเซี่ยวเซี่ยนตวนจักรพรรดินีเซี่ยงจักรพรรดิไท่ชางจักรพรรดิเสียนเฟิงจักรพรรดิเจิ้งถ่งจักรพรรดิเจิ้งเต๋อจักรพรรดิเจียชิ่งจักรพรรดิเจียจิ้งจักรพรรดิเจี้ยนเหวินจักรพรรดิเทียนฉี่จักรพรรดิเต้ากวังจักรพรรดิเฉิงฮว่าจักรพรรดิเฉียนหลงจักรพรรดิเซฺวียนเต๋อจักรวรรดิจีนจาง ยฺหวินฟ่างจ๊กก๊กถู ยั่นหลิงง่อก๊กตังไทฮอฉาปี้ซูสีไทเฮาซูอันไทเฮาโฮเฮาโจเฮาเหิง เจิ้นเตมูร์ ข่านเติ้ง ซุยเซี่ยตะวันตก13 พฤศจิกายน16 มิถุนายน17 ตุลาคม18 มกราคม20 มิถุนายน28 กุมภาพันธ์3 เมษายน9 มิถุนายน ขยายดัชนี (149 มากกว่า) »

บูเช็กเทียน

อู่ เจ๋อเทียน ตามสำเนียงกลาง หรือ บูเช็กเทียน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระราชสมภพ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 624ปีประสูตินี้ ได้มาจากการเอาพระชนม์กับปีสวรรคตที่ระบุไว้ใน นวพงศาวดารถัง (New Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 1045–1060 มาบวกลบกัน ผลลัพธ์ดังกล่าวนี้เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์สมัยใหม่ แต่ถ้าคำนวณตามที่ระบุไว้ใน พงศาวดารถัง (Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 941-945 จะได้ปีประสูติเป็น ค.ศ. 623; สวรรคต 16 ธันวาคม ค.ศ. 705)Paludan, 100 บางทีเรียก อู่ เจ้า หรือ อู่ โฮ่ว ในราชวงศ์ถังมักออกพระนามว่า พระนางสวรรค์ และในสมัยต่อมาว่า พระนางอู่ ทรงเป็นสตรีพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์จีนอันยาวนานกว่า 4,000 ปี ที่ได้เป็น "ฮ่องเต้" ในแผ่นดินของพระภัสดาและพระราชบุตรของพระนางระหว่างปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและบูเช็กเทียน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2449 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2457 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2465 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2467

ทธศักราช 2467 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1924 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2467 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พระพันปีตู้

ระพันปีตู้ (ชื่อตัวไม่ทราบ; เกิดประมาณ ค.ศ. 902; เสียชีวิต 17 กรกฎาคม ค.ศ. 961) เป็นราชนารีจีนสมัยราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นภริยาของขุนพลจ้าว หงอิน (趙弘殷) ทั้งเป็นมารดาของจ้าว ควงอิ้น (趙匡胤) ซึ่งต่อมาเป็นจักรพรรดิซ่งไท่จู่ (宋太祖) และจ้าว ควงอี้ (趙匡義) ซึ่งต่อมาเป็นจักรพรรดิซ่งไท่จง (宋太宗) เมื่อนางเสียชีวิตแล้ว จ้าว ควงอี้ อ้างสิทธิสืบบัลลังก์ต่อจากพี่ชาย คือ จ้าว ควงอิ้น โดยอ้างว่า เป็นพินัยกรรมของนาง แต่นักประวัติศาสตร์ส่วนมากเชื่อว่า พินัยกรรมดังกล่าวจ้าว ควงอี้ ปลอมขึ้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพระพันปีตู้ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวอู่

ระเจ้าโจวอู่ (หรือพระเจ้าจิวบู๊อ๋อง ในสำเนียงแต้จิ๋ว) (? - 1043 ปีก่อน ค.ศ.) ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โจว ผู้โค่นล้ม ราชวงศ์ซาง ทรงครองราชย์ระหว่าง 1046 - 1043 ปีก่อน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพระเจ้าโจวอู่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวโยว

ระเจ้าโจวโยว (King You of Zhou) (ครองราชย์ 781-771 ปีก่อนคริสตกาล) (จีน: 周幽王; พินอิน: zhōu yōu wáng) กษัตริย์องค์ที่ 12 แห่งราชวงศ์โจว และองค์สุดท้ายของราชวงศ์โจวตะวันตก ในปีแรกที่ขึ้นครองราชย์คือ 780 ปีก่อนคริสตกาล ได้เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงที่กวนจง ทรงเป็นกษัตริย์ที่อ่อนแอไร้ความสามารถ เสวยแต่น้ำจัณฑ์ หลงผู้หญิงถึงขั้นทรงปลดพระมเหสีและองค์รัชทายาทองค์เก่าลงจากตำแหน่ง พร้อมกับแต่งตั้งนางเปาซือ และพระโอรสอีกองค์ขึ้นเป็นพระมเหสีและองค์รัชทายาทองค์ใหม่ พระนางเปาซือทรงยิ้มไม่เป็น พระเจ้าโจวโยวจึงโปรดให้จุดพลุเตือนภัยขึ้นฟ้า ทำให้พระนางเปาซือยิ้มได้ แต่ท่านอ๋องเข้าใจผิดว่ามีข้าศึกมารุกราน ก็เดินทางมายังพระราชวัง เมื่อไม่เห็นข้าศึกก็โกรธและเดินทางกลับไป ต่อมาเมื่อมีข้าศึกมารุกรานจริง ๆ พระเจ้าโจวโยวโปรดให้จุดพลุเตือนภัยขึ้นฟ้า แต่เหล่าท่านอ๋องก็ไม่สนใจ เหล่าข้าศึกบุกเข้าพระราชวัง พระเจ้าโจวโยวเห็นจวนตัวก็ทรงปลงพระชนม์เอง ส่วนพระนางเปาซือและองค์รัชทายาทก็ถูกจับไป ส่วนอดีตมเหสีและองค์รัชทายาทก็อพยพไปยังลั่วหยาง พร้อมกับเชื้อพระวงศ์ขุนนางข้าราชการ และประชาชน และทรงถูกอัญเชิญขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่แห่งราชวงศ์โจวตะวันออก ส่วนราชวงศ์โจวตะวันตกก็ล่มสลายจากเหตุการณ์คราวนี้.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพระเจ้าโจวโยว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวเหวิน

ระเจ้าโจวเหวิน (King Wen of Zhou) เป็นกษัตริย์จีนในราชวงศ์โจวอยู่ในช่วงระหว่างปลายราชวงศ์ชาง แม้ว่าโจวอู่หวัง พระราชโอรสของพระองค์ ได้ยกทัพมาปราบพระเจ้าซางโจ้วกษัตริย์แห่งราชวงศ์ชางพระองค์สุดท้าย แล้วสถาปนาราชวงศ์โจวขึ้น แต่พระเจ้าโจวเหวิน ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้สถาปนาก่อตั้งราชวงศ์โจว.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและพระเจ้าโจวเหวิน · ดูเพิ่มเติม »

กั่ว เชิ่งทง

กั่ว เชิ่งทง (郭聖通; สิ้นพระชนม์ ค.ศ. 52) เป็นจักรพรรดินีสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เป็นมเหสีองค์แรกของจักรพรรดิฮั่นกวังอู่ (汉光武帝) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก พระนางไม่เป็นที่โปรดปรานและถูกถอดยศใน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและกั่ว เชิ่งทง · ดูเพิ่มเติม »

กุบไล ข่าน

มเด็จพระจักรพรรดิกุบไล ข่าน หรือ จักรพรรดิซื่อจูหวางตี้ หรือ จักรพรรดิซีโจ๊วฮ่องเต้ (23 กันยายน พ.ศ. 1758-1837 (ค.ศ. 1215-1294)) เป็นข่านหรือจักรพรรดิของมองโกล และยังเป็นจักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์หยวนแห่งประเทศจีน กุบไลข่านเป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิเจงกีส ข่าน พระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิมองโกลเมื่อ พ.ศ. 1803 (ค.ศ. 1260) และสถาปนาราชวงศ์หยวนเมื่อ พ.ศ. 1822 (ค.ศ. 1279) จักรวรรดิมองโกลที่เจงกีสข่านสร้างไว้ขึ้นถึงจุดสูงสุดในสมัยของกุบไล ข่าน เมื่อกุบไล ข่านสามารถเอาชนะราชวงศ์ซ่งของจีน และยึดครองกรุงปักกิ่ง ปกครองประเทศจีน กุบไลข่านยังตีได้ดินแดนต้าหลี่ (Dali - ในมณฑลยูนนานในปัจจุบัน) และเกาหลี นอกจากนี้ยังได้พยายามยึดครองดินแดนนิฮง (ญี่ปุ่น ในปัจจุบัน) และดินแดนหนานหยาง (ดินแดนแหลมสุวรรณภูมิ) ประกอบด้วย พม่า, เวียดนาม และอินโดนีเซีย แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในยุคสมัยของกุบไล ข่าน มีนักเดินทางชาวตะวันตกมากมายเดินทางมาถึงดินแดนจีนของกุบไล ข่าน นักเดินทางที่มีชื่อเสียงคือ มาร์โคโปโล.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและกุบไล ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

กุยฮุย

กุยฮุย หรือ จักรพรรดินีกัวหนี่หวาง (Empress Guo Nüwang; 8 เมษายน 184 — 14 มีนาคม 235) ฐานันดรศักดิ์ จักรพรรดินีเหวินเต๋อ จักรพรรดินีองค์แรกแห่ง วุยก๊ก ระหว่าง ยุคสามก๊ก ของจีนพระนางอภิเษกกับ พระเจ้าโจผี ปฐมจักรพรรดิแห่งวุยก๊ก พระนางเป็นธิดาของ กัวหยง หรือในสามก๊กเรียก กุยเฮง ซึ่งมาจากครอบครัวขุนนางชั้นผู้น้อยในท้องถิ่นแต่ด้วยความที่พระนางมีพระสิริโฉมงดงามและความฉลาดหลักแหลมตั้งแต่ยังเยาว์บิดาของพระนางจึงได้มอบชื่อใหม่ให้พระนางว่า หนี่หวาง มีความหมายว่า จักรพรรดินีผู้ปกครองแผ่นดิน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและกุยฮุย · ดูเพิ่มเติม »

ยวี่เหยียน

องค์ชายยวี่ เหยียนในพิธีรับตำแหน่งผู้อ้างสิทธิฯ ยวี่เหยียน เกิด ณ กรุงปักกิ่ง เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1918 เป็นอดีตพระประมุขราชสกุลอ้ายซินเจว๋หลัว ต่อจากจักรพรรดิผู่อี๋ โดยสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิเต้ากวง รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์ชิง และมีศักดิ์เป็นญาติกับจักรพรรดิผู่อี๋ จักรพรรดิต้าชิงพระองค์สุดท้าย ยวี่เหยียนยังอ้างสิทธิในราชบัลลังก์จักรพรรดิจีน เขาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 1999 ขณะอายุได้ 80 ปี ปัจจุบันเขาให้เหิง เจิ้น หลานของเขา เป็นผู้สืบทอดตำแหน่งประมุขแห่งราชวงศ์ชิงและตำแหน่งผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์องค์พระจักรพรรดิจีนองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและยวี่เหยียน · ดูเพิ่มเติม »

ยิน ลี่หฺวา

ยิน ลี่หฺวา (陰麗華; ค.ศ. 5–64) ฐานันดรศักดิ์ว่า จักรพรรดินีกวังเลี่ย (光烈皇后) เป็นจักรพรรดินีสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เป็นมเหสีองค์ที่สองของจักรพรรดิฮั่นกวังอู่ (汉光武帝) แต่เสกสมรสกับฮั่นกวังอู่ก่อนกั่ว เชิ่งทง (郭聖通) มเหสีองค์แรก ความงามและนอบน้อมของยิน ลี่หฺวา เป็นที่เลื่องลือ พระนามที่ยิน ลี่หฺวา ได้รับหลังสิ้นพระชนม์แล้วเป็นจุดเริ่มต้นค่านิยมที่จะเฉลิมพระนามจักรพรรดินีที่สิ้นพระชนม์แล้วด้วยบางส่วนของพระนามที่พระสวามีได้รับหลังสวรรคตประกอบกับอักษรเพิ่มเติมเพื่อพรรณนาคุณลักษณะ แทนที่ประเพณีเดิมตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันตกที่ใช้พระนามหลังสวรรคตของพระสวามีเพียงอย่างเดียว หมวดหมู่:จักรพรรดินีจีน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันตก หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ซิน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและยิน ลี่หฺวา · ดูเพิ่มเติม »

ยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้

ราชวงศ์เว่ยเหนือ (ฟ้า) และ ราชวงศ์หลิวซ่ง (เลือดหมู) ในปี ค.ศ. 440 ราชวงศ์เหนือ-ใต้ในช่วงปี ค.ศ. 560 ยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้ (Northern and Southern dynasties) ยุค สงครามกลางเมือง และยุคแห่งความวุ่นวายทางการเมืองยุคหนึ่งใน ประวัติศาสตร์จีน อยู่ในช่วงปี ค.ศ. 420 - ค.ศ. 589 ก่อนที่ จักรพรรดิสุยเหวิน ปฐมจักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์สุย จะสามารถพิชิต ราชวงศ์โจวเหนือ และรวบรวมแผ่นดินเป็นปึกแผ่นได้สำเร็จเมื่อปี ค.ศ. 589.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคสามก๊ก

แผ่นที่แสดงอาณาเขตของแต่ละก๊กในปี พ.ศ. 805 (Wei-วุย) (Wu-ง่อ) (Shu-จ๊ก) สามก๊ก (ค.ศ. 220–280; Three Kingdoms) เป็นไตรภาคีระหว่างรัฐวุย (魏) จ๊ก (蜀) และง่อ (吳) หลังการหมดอำนาจโดยพฤตินัยของราชวงศ์ฮั่นในจีน นำสู่การเริ่มหกราชวงศ์ (六朝) แต่ละรัฐปกครองโดยจักรพรรดิซึ่งอ้างการสืบราชสันตติวงศ์โดยชอบจากราชวงศ์ฮั่น ในความหมายทางวิชาการอย่างเคร่งครัด ยุคสามก๊กหมายถึงช่วงเวลาระหว่างการก่อตั้งรัฐวุยใน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและยุคสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ยุคห้าชนเผ่าสิบหกแคว้น

แม่ทัพสือเล่อ แห่งอาณาจักรฮั่นจ้าว ได้นำทัพปิดล้อมเมืองหลวงลัวหยางในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและยุคห้าชนเผ่าสิบหกแคว้น · ดูเพิ่มเติม »

ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร

ตอนปลายราชวงศ์ถังมีการก่อกบฏประชาชนตามชายแดน ขันทีครองอำนาจบริหารบ้านเมืองอย่างเหิมเกริม มีการแย่งชิงอำนาจกัน แม่ทัพจูเวิน (จูเฉวียนจง) สังหารขันทีทรงอำนาจในราชสำนัก แล้วสถาปนาตนเป็นจักรพรรดิ ทำให้ราชวงศ์ถังสิ้นสุด บรรดาหัวเมืองต่างๆมีการแบ่งอำนาจกันเป็นห้าราชวงศ์ สิบอาณาจักร คือ ราชวงศ์เหลียง ถัง จิ้น ฮั่น และโจว โดยปกครองแถบลุ่มน้ำฮวงโหติดต่อกันมาตามลำดับ ส่วนเขตลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียงกับดินแดนทางใต้ลงไปเกิดเป็นรัฐอิสระอีก 10 รัฐ รวมเรียกว่า สิบอาณาจักร การแบ่งแยกอำนาจปกครองยุคนี้ขาดเสถียรภาพ ชีวิตของประชาชนเต็มไปด้วยความลำบากยากแค้น ต่อม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชาง

ราชวงศ์ชาง (Shang dynasty) เป็นราชวงศ์จีนที่ปกครองต่อจากราชวงศ์เซี่ย ปกครองดินแดนแถบแม่น้ำเหลืองเมื่อประมาณ 2000 ปีก่อนคริสตกาล บางครั้งเรียกว่า "ราชวงศ์อิน" (Yin dynasty) ราชวงศ์นี้เป็นยุคแห่งไสยศาสตร์โดยแท้ นิยมการเสี่ยงทายด้วยกระดองเต่ากันมาก จากหลักฐานที่ขุดได้ พบเป็นแผ่นจารึกตัวอักษรโบราณ และเศษกระดองเต่า มีรอยแตกอยู่ทั่วไป แสดงถึงความเชื่อในอำนาจแห่งสวรรค์ ถือว่าทุกสิ่ง สวรรค์เป็นผู้กำหนด ราชวงศ์ชางมีกษัตริย์ 30 องค์ กษัตริย์องค์สุดท้ายชื่อ พระเจ้าอินโจวหรือ โจ้ว (ติวอ๋อง) ซึ่งในประวัติศาสตร์ประณามไว้ว่า เป็นคนโหดร้ายทารุณมาก นิยมการสงคราม และหลงใหลในอิสตรี โดยเฉพาะสนมเอกชื่อ ต๋าจี หรือขันกี ซึ่งเป็นคนวิปริตผิดมนุษย์ คอยยุยงให้โจ้วฆ่าคนเป็นผักปลา สร้างสระเหล้าดงเนื้อขึ้น (เอาน้ำเหล้ามาใส่ในสระ แล้วเอาเนื้อสัตว์มาห้อยไว้ตามต้นไม้) ต่อมาโจวอู่หวัง เจ้าผู้ครองแคว้นโจวทางตะวันตก ได้ยกทัพมาปราบโจ้วอ๋อง โดยอ้างว่า ได้รับ "อาณัติ" หรือ "เทียนมิ่ง" จากสวรรค์ให้มาปราบ และได้ชัยชนะ โจ้วอ๋องจึงฆ่าตัวตายโดยกระโดดลงกองไฟ แต่จริง ๆ แล้ว นักประวัติศาสตร์ยังไม่แน่ใจนัก ว่าโจ้วอ๋องจะโหดร้ายเช่นนั้นจริงหรือไม่ เพราะไม่มีหลักฐานชัดเจน รวมทั้งเรื่องเกี่ยวกับต๋าจีด้วย เรื่องราวในตอนท้ายราชวงศ์ชางนี้ ได้มีการนำไปแต่งเป็นนิยายหลายเรื่อง หนึ่งในเรื่องนั้นก็คือ "นาจา" และ "เทพประยุทธ์พิชิตฟ้า" นั่นเอง และหนังสือพงศาวดารชื่อว่า "ฮ่องสิน" โดยจะเน้นหนักไปทางอิทธิปาฏิหาริย์เสียมาก หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน หมวดหมู่:ราชวงศ์ชาง หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในศตวรรษที่ 16 ก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:สิ้นสุดในศตวรรษที่ 11 ก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์ชาง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สุย

ราชวงศ์สุย (Sui Dynasty, ค.ศ. 581 – ค.ศ. 618) (37 ปี) เป็นราชวงศ์ที่ทรงอำนาจทางการทหารแต่มีระยะเวลาการปกครองที่ค่อนข้างสั้น สถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 581 ภายหลังจากยุคสามก๊ก โดยจักรพรรดิสุยเหวินตี้(หยางเจียน) อดีตแม่ทัพแห่งราชวงศ์โจวเหนือ โดยในรัชกาลของพระองค์ทรงสามารถรวบรวมแผ่นดินจีนให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้ง แต่ราชวงศ์สุยมีอันต้องล่มสลายลงในปี ค.ศ. 617 ในรัชกาลจักรพรรดิสุยหยางตี้(หยางกว่าง) พระราชโอรสองค์รองของสุยเหวินตี้ ฮ่องเต้หยางเจียน ทรงดำเนินนโยบายอย่างแยบยล โดยการหล่อหลอมเอาวัฒนธรรมแต่ละแคว้นเข้าด้วยกัน เพื่อผสมผสานให้แต่ละแคว้นมีความเป็นปึกแผ่น หลังจากที่แตกสลายหลังสิ้นสุดราชวงศ์ฮั่น โดยมีการผสมผสานหลักการของศาสนาพุทธที่หยางเจียนนับถือ เข้ากับลัทธิขงจื๊อและลัทธิเต๋า แล้วนำมาพัฒนาเป็นการสร้างความมั่นคงให้แก่กฎหมายของราชวงศ์ โดยแม้ต่อมา ราชวงศ์ถังจะสถาปนาขึ้น ก็ยังรับเอาวัฒนธรรมการหล่อหลอมคำสอนศาสนามาใช้ต่อเนื่อง หลังจากนั้น ทรงดำเนินนโยบายให้ขุนนางในราชสำนักรวมไปถึงเชื้อพระวงศ์ได้แต่งงานกับชนเผ่าต่าง ๆ เพื่อเป็นการเจริญสัมพันธไมตรี เพราะโดยพื้นเพเดิมนั้น ทั้งหยางเจียนและพระมเหสี ก็ทรงเป็นตระกูลจีนแท้ผสมกับชนเผ่าเติร์กอยู่แล้ว หยางเจียนทรงดำเนินนโยบาย ขุดคลองต้ายุ่นเหอขนาดมหึมา ยาวกว่า 1,800 กิโลเมตร เชื่อมต่อกรุงปักกิ่ง ซึ่งอยู่ในจีนซีกเหนือ กับเมืองหางโจว ซึ่งเป็นจีนซีกใต้ เพื่อเป็นการเชื่อมแม่น้ำฮวงโหกับแม่น้ำแยงซีเกียง เพื่อผูกขาดเศรษฐกิจของจีนให้เป็นหนึ่งเดียว รวมไปถึง การสร้างยุ้งฉางกักตุนสินค้าขนาดใหญ่โต เพื่อรองรับสินค้าเกือบตลอดแนวคลอง มีการริเริ่มการสอบจอหงวน เป็นครั้งแรก ทั่วราชอาณาจักร เพื่อคัดเลือกผู้ที่มีความสามารถเข้ามารับราชการในตำแหน่งขุนนาง ทำให้แต่เดิม ที่ขุนนางจะมีเพียงแต่ชนชั้นสูงที่สืบทอดสกุลต่อกันมา ทำให้อาจจะมีแต่ตำแหน่งแต่ไร้ความสามารถ จึงได้ผู้ที่มีฝีมือและความรู้อย่างแท้จริง ซ้ำยังทำให้ประชาชนได้มีโอกาสมารับราชการในราชวัง นับว่าเป็นการลดการเหลื่อมล้ำทางสังคมอีกด้วย แต่ต่อมา เมื่อหยางกว่างขึ้นครองราชย์ ทรงประกาศสงครามกับชนเผ่าต่าง ๆ ทำให้ทรงขยายพื้นที่ทางด้านตะวันตกได้พอสมควร ซ้ำยังยกทัพไปบุกเกาหลีและแมนจู แต่ไม่ประสบความสำเร็จเพราะด้วยประสบกับความหนาวเหน็บ ซ้ำยังไม่มีการควบคุมทัพที่ดีพอ ทำให้พ่ายศึก ตามพงศาวดารกล่าวไว้ว่า ซึ่งสุยหยางตี้บัญชาให้ยกทัพขนาดมหึมานี้ ถึง 4 ครั้ง ทำให้ราชวงศ์สุย เสียหายอย่างหนัก ด้วยเหตุนี้ จึงการการก่อจลาจลทั่วทุกหัวระแหง ที่ใหญ่ ๆ มี 3 กลุ่ม อันได้แก่ กองกำลังหวากัง นำโดยใจ๋หยางและหลี่มี่ กองกำลังเจียงไหว นำโดยตู้ฝูเว่ย และกองกำลังเหอเป่ย นำโดยโต้วเจี้ยนเต๋อ รวมไปถึงการก่อกบฏในราชสำนักเองอีกด้วย สุดท้าย สุยหยางตี้ถูกลอบปลงพระชนม์โดยพระประยูรฐาติของพระองค์ นำโดยอวี้เหวินฮั่วจี๋ ราชวงศ์สุยถึงกาลอาวสาน เมื่อปีพ.ศ. 1161.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์สุย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ดำรงอยู่เป็นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล และพ่ายแพ้ให้กับราชวงศ์ชิงของชาวแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ที่รุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ในยุคนี้มีการสำรวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็นอาณาจักรที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น ราชวงศ์หมิงถือเป็นหนึ่งในยุคที่ถูกจัดโดยนักวิชาการชาวตะวันตกว่ามีการปกครองที่เป็นระบบและสังคมที่มีเสถียรภาพในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติก่อนที่จะล่มสลาย ราชวงศ์หมิงถือเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองโดยชาวฮั่น ปฐมจักรพรรดิต้าหมิง จูหยวนจาง หรือ จักรพรรดิหงหวู่ หลังจากที่ได้ทรงประกาศปลดแอกชาวฮั่นจากภายใต้การปกครองของราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล ได้สถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พระองค์ได้ทรงพยายามปฏิรูปการปกครองอาณาจักรเสียใหม่ ทรงพยายามสร้างระบบสังคมชุมชนชนบทแบบพึ่งพาตนเอง ปฏิรูประบบราชการ, กฎหมาย จักรพรรดิหงหวู่ได้สร้างระบบที่เป็นระเบียบที่ยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ที่จะสามารถรองรับและสนับสนุนการทหารของราชวงศ์หมิงอย่างยั่งยืน ทำให้ด้านการทหารในช่วงนั้นราชวงศ์หมิงประสบความสำเร็จมีกองทัพภาคพื้นดินเกินกว่า 1 ล้านคนและกองทัพเรือมีอู่ต่อเรือที่หนานจิงเป็นอู่ต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น พระองค์ยังได้ทรงตระหนักถึงการลดทอนอำนาจของเหล่าขันทีในราชสำนักCrawford, Robert.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์หมิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หยวน

ตแดนของจักรวรรดิจีนสมัยราชวงศ์หยวน เครื่องปั้นดินเผา สมัยราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หยวน (หยวนเฉา) (พ.ศ. 1814 - 1911) คือหนึ่งในราชวงศ์ของจักรวรรดิจีน ก่อตั้งขึ้นเมื่อกุบไลข่านผู้นำเผ่าชาวมองโกล ได้โค่นอำนาจราชวงศ์ซ่งลง แล้วเปิดศักราชชาวมองโกลครองประเทศจีน ชาวมองโกลได้เข้ายึดครองภาคเหนือของจีนเป็นเวลากว่าทศวรรษ ได้มีความพยายามเปลี่ยนเป็นจีน ตั้งแต่สมัย มองเกอ ข่าน พระเชษฐาของกุบไลข่าน แต่ไม่สำเร็จ จนกระทั่งในสมัยของกุบไลข่าน ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์หยวน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หลิวซ่ง

ราชวงศ์หลิวซ่ง (Liu Song Dynasty, 963 - 1022) หนึ่งในสี่ราชวงศ์แห่ง ยุคราชวงศ์ใต้ ใน ยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้ ปกครองประเทศจีนระหว่าง พ.ศ. 963 - พ.ศ. 1022 โดยมี จักรพรรดิหลิวซ่งอู่ เป็นปฐมจักรพรรดิ จักรพรรดิราชวงศ์นี้สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์ฮั่นโดยสืบสันติวงศ์มาจากฉู่อ๋องเล่าเจี้ยวพระอนุชาของฮั่นโกโจฮ่องเต้ ราชวงศ์หลิวซ่งสถาปนาขึ้นภายหลังการล่มสลายของ ราชวงศ์จิ้นตะวันออก หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์จีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์หลิวซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮั่น

มเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเกาจู ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ฮั่น เขตแดนของราชวงศ์ฮั่นสมัยสมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ ราชวงศ์ฮั่น (ภาษาจีน: 漢朝 พ.ศ. 337 - พ.ศ. 763) เป็นราชวงศ์จีนที่ปกครองต่อจากราชวงศ์ฉิน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์ฮั่น · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วฮั่น (ค.ศ. 947 - 950) เป็นราชวงศ์ที่ 4 ในยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร ปกครองจีนอยู่เพียง 3 ปี และมีจักรพรรดิปกครองเพียง 2 พระองค์คือ จักรพรรดิเกาจู่แห่งโฮ่วฮั่น และจักรพรรดิฮั่นหยินตี้ ก่อนเสียเอกราชให้กับจักรพรรดิโจวไท่จู่ แห่งราชวงศ์โฮ่วโจว หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก

มื่อพระเจ้าฮั่นเซ่าตี้ขึ้นครองราชย์แล้ว อำมาตย์หยวนเซ่า (อ้วนเสี้ยว) เริ่มกำจัดขันทีกว่า 2000 คน อันเป็นการกวาดล้างอิทธิพลของขันทีทั้งหมด ต่อมาต่งจัว (ตั๋งโต๊ะ) นำกองทหารบุกโจมตีลั่วหยางและปลงพระชนม์พระเจ้าฮั่นเซ่าตี้ แล้วยก พระเจ้าฮั่นเซี่ยนตี้ (เหี้ยนเต้) ขึ้นครองราชย์แทน พร้อมกับบีบให้หยวนเซ่าออกจากเมืองหลวง ไม่นานหยวนเซ่ากับพันธมิตรยกทัพมาตีต่งจัว เขาจึงพาจักรพรรดิลี้ภัยไปฉางอาน (เตียงอัน) ต่อมา หลี่ปู้ (ลิโป้) กับพวก วางแผนลอบสังหารต่งจัวสำเร็จ จักรพรรดิจึงเดินทางกลับลั่วหยัง (ลกเอี๋ยง) แต่ถูกนายทัพเฉาเชา (โจโฉ) ย้ายพระองค์ไปอยู่ที่เมืองสี่ชาง (ฮูโต๋) ตั้งแต่บัดนั้นมาเฉาเชาจึงควบคุมและใช้อำนาจบริหารบ้านเมืองในนามจักรพรรดิ ถือเป็นผู้ครองอำนาจสูงสุดแท้จริง ปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์ฮั่นตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก

ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก (202 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศ. 8) หลิวปังรบชนะฌ้อป๋าอ๋องเซี่ยงหวี่ และตั้งราชวงศ์ฮั่นขึ้น ราชวงศ์ฮั่นเป็นยุคทองของจีน คนจีนในยุคหลังจะเรียกตัวเองว่าเป็นชาวฮั่น ราชวงศ์ฮั่นอยู่ได้เป็นเวลานาน กว่า 400 ปี (ราว ๆ ช่วง พ.ศ. 335 - 763) (หรือราว ๆ ช่วง ก่อนคริสต์ศักราช 206 ปี - ค.ศ. 220) และล่มสลายมาเป็นยุคสามก๊ก (ราว ๆ พ.ศ. 763 - 823)(หรือ ๆ ค.ศ. 220 - 280)มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ เมื่อกองทัพหลิวปังเอาชนะกองทหารของเซี่ยงอี่สำเร็จ จึงสถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์ฮั่นอันยิ่งใหญ่และยาวนาน มีพระนามว่า พระเจ้าฮั่นเกาจู่ โดยตั้งเมืองหลวงที่ ฉางอาน (ใกล้บริเวณเมืองซีอาน มณฑลส่านซีปัจจุบัน) แล้วเรียกชื่อประเทศว่า อาณาจักรฮั่น นักประวัติศาสตร์จีนแบ่งยุคสมัยของราชวงศ์ฮั่นเป็นสองยุคตามที่ตั้งของเมืองหลวง คือ ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก (เริ่มต้นโดยพระเจ้าฮั่นเกาจู่) และราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (เริ่มต้นที่พระเจ้าฮั่นกวงอู่) เนื่องจากความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมืองอันมากด้วยวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ยาวนาน จึงถือเป็นยุคทองของจีน จึงมีศัพท์จีนคำหนึ่งซึ่งได้ยินติดหูและใช้เรียกในชีวิตประจำวัน คือ ชาวฮั่น ภาษาฮั่น ซึ่งหมายถึง ชาวจีน ภาษาจีน นั่นเอง มันแสดงถึงความภาคภูมิใจของคนจีนที่สืบเนื่องกันมาตั้งแต่ยุคอาณาจักรฮั่นโบราณ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์ฮั่นตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จิน

ราชวงศ์จิน เป็นราชวงศ์ที่ถูกก่อตั้งโดยชนเผ่าหนี่เจิน ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของพวกแมนจู ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์จิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จิ้น

ราชวงศ์จิ้น (คริสต์ศักราช 265 – คริสต์ศักราช 420) เป็นราชวงศ์หนึ่งของจีน สถาปนาในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์จิ้น · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จิ้นยุคหลัง

ราชวงศ์จิ้นยุคหลัง (Later Jin Dynasty) ราชวงศ์ที่ 3 ใน ยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร สถาปนาโดยจักรพรรดิจิ้นเกาจู่ (สือจิ้งถัง) เชื้อพระวงศ์องค์หนึ่งในราชวงศ์โฮ่วถัง โดยมีเมืองไคฟงเป็นเมืองหลวง ราชวงศ์นี้มีจักรพรรดิปกครองเพียง 2 พระองค์คือ จักรพรรดิจิ้นเกาจู่ และจักรพรรดิจิ้นฉู่ตี้ และปกครองจีนอยู่เพียง 11 ปี ก่อนเสียเอกราชให้กับจักรพรรดิเกาจู่ (หลิวจื้อหยวน) แห่งราชวงศ์โฮ่วฮั่น หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์จิ้นยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ถัง

ราชวงศ์ถัง (พ.ศ. 1161-1450) ราชวงศ์นี้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้จีนอย่างมาก ทั้งด้านศิลปกรรม วัฒนธรรม และอีกหลาย ๆ ด้าน หลี่ยวนได้ตั้งตัวเองเป็น จักรพรรดิถังเกาจู่ หลังจากรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นแล้ว ก็เกิดการแย่งชิงตำแหน่งรัชทายาทขึ้น ระหว่างโอรสหลี่เจี้ยนเฉิง หลี่ซื่อหมิน และหลี่หยวนจี๋ หลี่ซื่อหมินนั้น มีความดีความชอบมาก เนื่องจากรบชนะมาหลายครั้ง ต่อมา ถังเกาจู่ก็สละราชสมบัติ ตั้งตนเองเป็นไท่ช่างหวง ราชวงศ์ถังปกครองประเทศนานถึง 289 ปีตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์ถัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ถังยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วถัง (Later Tang Dynasty) (ค.ศ. 923 - 936) เป็นราชวงศ์ที่ 2 ในยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร สถาปนาโดย จักรพรรดิถังซวงจง (หลี่คุนซู) เมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์ถังยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฉิน

เขตแดนราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฉิน (Qin Dynasty; 秦朝) หรือจิ๋น เป็นราชวงศ์ที่ปกครองแผ่นดินจีนระหว่าง พ.ศ. 323–พ.ศ. 338 (221 ปีก่อนค.ศ. – 207 ปีก่อนค.ศ.) ก่อนหน้านี้จีนได้แตกแยกออกเป็น 7 รัฐและทำสงครามกันอยู่เนืองๆ ต่อมากษัตริย์แห่งรัฐฉินได้ทำสงครามรวบรวมแผ่นดินให้เป็นหนึ่งเดียว และสถาปนาตนเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ฉินโดยใช้พระนามว่า ฉินสื่อหวงตี้ คนไทยจึงออกเสียงเพี้ยนเป็น จิ๋นซีฮ่องเต้ หรือ ฉินซีฮ่องเต้ จิ๋นซีฮ่องเต้ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 322–พ.ศ. 333 ในช่วงนี้แผ่นดินจีนมีความเป็นปึกแผ่นมั่นคงมาก แต่เมื่อจิ๋นซีฮ่องเต้เสด็จสวรรคต ราชวงศ์ฉินก็สั่นคลอนอย่างหนัก และล่มสลายลงใน พ.ศ. 337 อ๋องแห่งรัฐฉิน ได้รวมประเทศจีนเป็นหนึ่งเดียวเป็นครั้งแรก และสถาปนาตัวเองเป็นจักรพรรดิ (ฮ่องเต้) คือ จิ๋นซีฮ่องเต้ หรือ ฉินซีฮ่องเต้ นั่นเอง นครหลวงอยู่ที่เมืองเสียนหยาง (หรือซีอานในปัจจุบัน) ฉินอ๋องได้หาชื่อใหม่ให้ตนเอง เนื่องจากเห็นว่า ตนสามารถรวบรวมแผ่นดินเป็นปึกแผ่นได้ คำว่า อ๋อง ไม่ยิ่งใหญ่พอ จึงได้เลือกคำว่า หวงตี้ (ฮ่องเต้) ซึ่งแปลว่า "เจ้าแผ่นดิน หวาง หรือ อ๋อง แปลว่า เจ้า ตี๋ลี่ หรือ ตี้ แปลว่า แผ่นดิน" มาใช้ แล้วเรียกชื่อตน ตามชื่อราชวงศ์ว่า ฉินซีฮ่องเต้ ฮ่องเต้เรียกตัวเองว่า "เจิ้น" (เดิมเรียกว่า "กู") เป็นการเปิดฉากโอรสแห่งสวรรค์ครองเมือง มีการปฏิรูประบบตัวอักษร ระบบชั่ง, ตวง, วัด (เช่น เพลารถ) ให้เหมือนกันทั้งประเทศ (สำหรับตัวอักษรนั้น อ่านออกเสียงต่างกันได้ แต่จะต้องเขียนเหมือนกัน เช่นเลข 1 เขียนด้วยขีดแนวนอนขีดเดียว จีนกลางออกเสียงว่า "อิ๊" แต่แต้จิ๋วอ่านว่า "เจ๊ก") และแบ่งการปกครองเป็นระบบจังหวัด, อำเภอ นับเป็นผลงานอันยิ่งใหญ่ของพระองค์ ต่อมาฉินซีฮ่องเต้ได้ให้ขุนศึกเหมิงเถียนหรือเม่งเถียน ยกทัพไปปราบชนเผ่าซ่งหนู (เฉียนหนู) แล้วก่อสร้างกำแพงเมืองจีนขึ้น เพื่อป้องกันการรุกรานของอนารยชน ฉินซีฮ่องเต้ ได้ชื่อว่า เป็นทรราชที่โหดร้ายทารุณมาก ปกครองด้วยความเฉียบขาด อำมหิต กล่าวกันว่า แค่มีคนจับกลุ่มคุยกัน ก็จะถูกจับไปประหารทันที ข้อหาให้ร้ายราชสำนัก มีการยัดเยียดข้อหาแล้วประหารทั้งโคตร การประหารมีทั้งตัดหัว, ตัดหัวเสียบประจาน หรือ "ห้าม้าแยกร่าง" (เอาเชือกมัดแขนขาไว้กับม้าหรือรถม้า 5 ทิศ แล้วให้ม้าควบไป ฉีกร่างออกเป็นชิ้นๆ) และกรณีที่อื้อฉาวมากคือ การเผาตำราสำนักขงจื๊อ แล้วจับบัณฑิตสำนักขงจื๊อสังหารหมู่ ด้วยการเผาทั้งเป็น, ฝังทั้งเป็น หรือฝังดินแล้วตัดหัว แม้แต่รัชทายาทฝูซู (พระโอรสองค์โต) ยังถูกเนรเทศไปชายแดน ไป "ช่วย" เหมิงเถียนสร้างกำแพงเมืองจีน ด้วยข้อหา ขัดแย้งกับพระองค์ จึงมีคนหาทางปลงพระชนม์ตลอดเวลา แม้แต่พระสหายที่สนิทก็ตาม นอกจากนี้ พระองค์ยังกลัวความตายมาก พยายามเสาะแสวงหายาอายุวัฒนะมาทุกวิถีทาง แต่สุดท้าย ฉินซีฮ่องเต้ก็ป่วยหนัก และสิ้นพระชนม์ลง ในระหว่างที่ออกตามหายาอายุวัฒนะ ในแดนทุรกันดารนั่นเอง และได้มีพระราชโองการเรียกฝูซู รัชทายาทกลับมา เพื่อสืบราชบัลลังก์ (โอรสองค์นี้มีนิสัยอ่อนโยนกว่าบิดา และยังเก่งกาจอีกด้วย จึงเป็นที่คาดหวังจากราษฎรเป็นอย่างมาก) แต่หูไห่ โอรสอีกองค์ ได้ร่วมมือกับเจ้าเกา ขันทีและอัครเสนาบดี และหลี่ซือ ปลอมราชโองการ ให้ฝูซูและเหมิงเถียนฆ่าตัวตาย แล้วตั้งหูไห่เป็นฮ่องเต้องค์ถัดมา เรียกว่า พระเจ้าฉินที่สอง หรือฉินเอ้อซื่อ ซึ่งเป็นฮ่องเต้ที่โหดเหี้ยม แต่ไร้สามารถ ผิดกับพระบิดา แถมยังอยู่ใต้การชักใยของขันทีเจ้าเกา ทำให้ราชวงศ์ฉินล่มจม หูไห่ได้ใช้เงินทองจำนวนมหาศาล ในการก่อสร้างสุสานของฉินซีฮ่องเต้ และยังรีดภาษีจากราษฎรอีก ทำให้ประชาชนก่อกบฏขึ้น ในเวลานั้น มีกบฏอยู่หลายชุด มีข้อตกลงกันว่า หากใครบุกเข้าทางกวนจง ของราชวงศ์ฉินได้ก่อน จะได้เป็นใหญ่ หลิวปัง ได้ก่อกบฏต่อต้านราชวงศ์ฉินขึ้น และได้ผู้ช่วยมือดีมา 3 คน คือ หานซิ่น จางเหลียง และเซียวเหอ มาช่วยในการวางแผนรบ และประสานงานต่างๆ จึงโค่นราชวงศ์ฉินลงได้ โดยเจ้าเกาได้ฆ่าหลี่ซือ ปลงพระชนม์หูไห่ แล้วตั้งจื่ออิง หลานของหูไห่เป็นฮ่องเต้แทน แต่เจ้าเกาก็ถูกจื่ออิงฆ่าตาย จื่ออิงยอมสวามิภักดิ์ต่อหลิวปัง เวลาเดียวกัน เซี่ยงอี้ ได้ละเมิดข้อตกลง โดยตั้งตัวเป็นซีฉู่ป้าอ๋อง หรือฌ้อป้าอ๋อง (แปลว่า อ๋องแห่งแคว้นฉู่ ที่ยิ่งใหญ่เหนืออ๋องอื่นๆ ว่ากันว่า เซี่ยงอี้นิยมสงคราม และคิดจะทำให้แผ่นดินแตกแยก กลับไปสู่ยุคจ้านกว๋ออีกครั้ง) เซี่ยงอี้ได้เผาพระราชวังอาฝางกงของฉินซีฮ่องเต้ ปลงพระชนม์จื่ออิง แล้วสู้รบกับหลิวปัง การสู้รบได้ยืดเยื้ออยู่นาน เซี่ยงอี้คิดจะแบ่งแผ่นดินปกครองกับหลิวปัง แต่ในที่สุด หลิวปังได้ยกทัพเข้าสู้รบขั้นเด็ดขาด ทำให้เซี่ยงอี้ต้องฆ่าตัวตายในที่สุด เรื่องราวสมัยราชวงศ์ฉิน มีอยู่ในวรรณกรรมไซ่ฮั่น ซึ่งกล่าวถึงการสิ้นสุดราชวงศ์ฉินและการสถาปนาราชวงศ์ฮั่น ปัจจุบัน ราชวงศ์ฉินได้รับการยอมรับจากนักประวัติศาสตร์ให้เป็นราชวงศ์แรกของจีน ด้วยมีหลักฐานทางโบรารคดีและประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการมากที่สุดและแผ่นดินก็ยงได้ถูกรวมเป็นหนึ่งครั้งแรก และยกให้ จิ๋นซีฮ่องเต้ เป็นจักรพรรดิองค์แรกของจีนด้วย ด้วยคำว่า "China" ในภาษาอังกฤษ หรือคำว่า "จีน" ในภาษาไทยก็ล้วนเพี้ยนมาจากคำว่าฉินนี้ทั้งสิ้น หมวดหมู่:อาณาจักรโบราณ หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน หมวดหมู่:ราชวงศ์ฉิน หมวดหมู่:ยุคเหล็ก หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 323 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่สิ้นสุดในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:สิ้นสุดในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์ฉิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซิน

ราชวงศ์ซิน ถูกสถาปนาโดย จักรพรรดิซินเกาจู่ หรือ หวังหมั่ง (พ.ศ. 543 - 567) ซึ่งสืบเชื้อสายจากขุนนางสกุลหวังในรัชสมัย จักรพรรดิฮั่นเฉิงตี้ เมื่อจักรพรรดิหยูจื่ออิงจักรพรรดิองค์ที่ 12 องค์สุดท้ายแห่ง ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชนม์เพียง 7 พรรษา หวังหมั่งในฐานะ อัครมหาเสนาบดี จึงใช้โอกาสนี้ปลดหยูจื่ออิงออกจากราชสมบัติและสถาปนาตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิซินเกาจู่ ตลอดรัชกาลเป็นรัชกาลที่อ่อนแอและเหี้ยมโหด เมื่อซินเกาจู่สวรรรคตลงในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์ซิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซ่ง

ราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 1503 ถึง ปีพ.ศ. 1822 รัฐบาลซ่งเป็นรัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ เจ้า ควงอิ้น ได้ชื่อว่า พระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมาใหม่ แต่กลับตัดทอนอำนาจทางการทหาร ของแม่ทัพ เนื่องจากความระแวง กลัวจะยึดอำนาจ ทำให้การทหารอ่อนแอ อย่างไรก็ดี ในราชวงศ์นี้ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมรุ่งเรืองมาก การศึกษาของประชาชนดีขึ้น และเปาบุ้นจิ้น ก็ได้มาเกิดในยุคในสมัยของจักรพรรดิซ่งเหรินจง ซึ่งเป็นยุคที่ฮ่องเต้อ่อนแอ อำนาจอยู่ในมือพวกกังฉิน ท่านตัดสินคดีอย่างยุติธรรม และเด็ดขาด ไม่เกรงหน้าอินทร์หน้าพรหมใดๆ จนเป็นที่เลื่องลือมาถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง จีนถูกรุกรานโดยชนเผ่าต่างๆ คือ พวกเซี่ย พวกชิตัน (เมืองเหลียว) จึงมีศึกอยู่ตลอดมา แถมยังต้องยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับ "คนป่าเถื่อน" ต้องส่งบรรณาการให้ ทำให้การเงินไม่คล่องตัว จนมีนักปฏิรูปชื่อ "หวังอั้นจี่" ออกกฎหมายมาควบคุมการใช้เงิน ของบรรดาเชื้อพระวงศ์ แต่สุดท้าย ก็ต้องยกเลิก เพราะไปขัดผลประโยชน์เจ้าใหญ่นายโต ครั้นต่อมา มีชนเผ่าจินหรือกิม (บรรพบุรุษของแมนจู) เข้ามาตี และเนื่องจากมีขุนนางกังฉิน ไปเข้ากับศัตรู (ดังเช่น ฉินไคว่ กังฉินชื่อดัง ซึ่งใส่ความแม่ทัพงักฮุย และสังหารงักฮุยกับลูกชายเสีย ทำให้ชาวจีนเคียดแค้นชิงชังอย่างยิ่ง) บวกกับการทหารที่อ่อนแออยู่แล้ว (ผสมกับฮ่องเต้ที่ไร้สามารถ หูเบา เชื่อฟังกังฉิน) ทำให้พวกจินสามารถบุกจนถึงเมืองไคฟง (เมืองหลวง) จึงต้องย้ายเมืองหลวง ไปอยู่ทางทิศใต้ มีชื่อเรียกว่า ซ่งใต้ ซึ่งพวกจินก็ยังตามล้างผลาญตลอด แต่ต่อมา ในที่สุด พวกจิน, เซี่ยกับชิตันก็ถูกมองโกล ซึ่งนำโดย เจงกิสข่าน (เตมูจิน) เข้าตี แล้วหันมาตีจีนต่อจนถึงปักกิ่ง หลังจากนั้น กุบไลข่าน หลานปู่ของเจงกิสข่าน ได้โจมตีราชวงศ์ซ่งใต้ โดยได้ความร่วมมือจากขุนนาง และทหารของราชวงศ์ซ่งบางคน ที่กลับลำหันมาช่วยเหลือมองโกล โจมตีพวกของตัวเอง จนสิ้นราชวงศ์ในที่สุด แล้วกุบไลข่านจึงตั้งราชวงศ์หยวนขึ้นมาแทน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์ซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โจว

ราชวงศ์โจว หรือ ราชวงศ์จิว (ภาษาอังกฤษ:Zhou Dynasty, ภาษาจีนกลาง:周朝, พินอิน: Zhōu Cháo) ราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์จีน เริ่มประมาณ 1123 ปีก่อนคริสต์ศักราช - 256 ปีก่อนคริสต์ศักราช นับเป็นราชวงศ์ที่ยาวนานที่สุด ด้วยเวลาที่ยาวนานกว่า 867 ปี มีเรื่องราวต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมาย เช่นการสู้รบระหว่างแว่นแคว้น การกำเนิดของปรัชญาเมธีหลายท่าน เช่น ขงจื๊อ, เล่าจื๊อ, ซุนวู เป็นต้น ในยุคชุนชิว.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์โจว · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โจวยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วโจว (ค.ศ. 951 - 960) ราชวงศ์ที่ 5 และราชวงศ์สุดท้ายในยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร จักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์นี้คือจักรพรรดิโจวไท่จู่ ราชวงศ์นี้ปกครองจีนอยู่เพียง 9 ปีก่อนที่ เจ้ากวงยิ่น (จักรพรรดิซ่งไท่จู่) จะโค่นล้มราชวงศ์โฮ่วโจว และสถาปนาราชวงศ์ซ่งเหนือ ขึ้นในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์โจวยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โจวเหนือ

ราชวงศ์โจวเหนือ (北周,Northern Zhou Dynasty) เป็นหนึ่งในราชวงศ์ที่ปกครองจีนในยุคที่เรียกว่า ราชวงศ์เหนือใต้ โดย ขึ้นปกครองจีนตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์โจวเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เว่ยเหนือ

ราชวงศ์เว่ยเหนือ (Northern Wei, 929 – 1078) ราชวงศ์หนึ่งที่ปกครองแผ่นดินจีนในยุคที่เรียกว่า ยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้ โดยปกครองระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์เว่ยเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เหลียว

ราชวงศ์เหลียว (Liao Dynasty; ชี่ตัน: Mos Jælud; มองโกล: Ляо Улс/Lyao Uls) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิชี่ตัน (Khitan Empire; ชี่ตัน: Mos diau-d kitai huldʒi gur; มองโกล: Хятан (Khyatan) Гүрэн, Кидан (Kidan) Гүрэн) เป็นชื่อจักรวรรดิหนึ่งในเอเชียตะวันออก มีอำนาจในมองโกเลีย ภาคตะวันออกไกลบางส่วนของรัสเซีย เกาหลีเหนือ และภาคเหนือของจีนส่วนในตั้งแต่ปี 907 ถึง 1125 พระเจ้าไท่จู่ (Taizu) ข่านแห่งชาวชี่ตัน สถาปนาจักรวรรดินี้ขึ้นหลังจากราชวงศ์ถังของประเทศจีนล่มสลาย และไม่ช้าไม่นานหลังก่อตั้งขึ้น ราชวงศ์เหลียวก็เริ่มขยายดินแดน โดยพระเจ้าไท่จู่ทรงเอาชัยเหนือพวกพัลแฮ (Balhae) เป็นผลสำเร็จ พระเจ้าแผ่นดินองค์ถัด ๆ มายังทรงได้สิบหกมณฑลของจีนไว้โดยใช้วิธียุแยงให้รัฐที่สามส่งการก่อกวนเข้ามา แล้วราชวงศ์เหลียวจึงคอยตีกิน ทำให้ราชวงศ์ถังอวสานลง และราชวงศ์โครยอ (Goryeo) แห่งเกาหลี กับราชวงศ์ซ่ง (Song) แห่งจีน ตกเป็นเมืองออกของราชวงศ์เหลียวในที่สุด คำว่า "เหลียว" นี้ในภาษาจีนหมายความว่า ห่าง หรือไกล จุดเด่นของราชวงศ์เหลียว คือ ความตึงเครียดระหว่างจารีตประเพณีทางสังคมและการเมืองแบบชี่ตันกับแบบจีนซึ่งนำไปสู่วิกฤติการณ์ทางการสืบสันตติวงศ์ เพราะพระเจ้าแผ่นดินเหลียวฝักใฝ่คติบุตรหัวปีเป็นใหญ่ตามแบบจีน แต่ผู้ลากมากดีชาวชี่ตันส่วนใหญ่นิยมประเพณีที่ให้ผู้แข็งแกร่งที่สุดสืบเชื้อสาย ความแตกต่างกันระหว่างจารีตประเพณีชี่ตันและจีนนี้ยังเป็นเหตุให้พระเจ้าไท่จู่แห่งราชวงศ์เหลียวทรงตั้งการปกครองสองแบบขนานกัน ภาคเหนือซึ่งเป็นอาณาเขตชี่ตันให้ปกครองตามประเพณีชี่ตัน ภาคใต้ซึ่งประชากรส่วนใหญ่ไม่ใช่ชี่ตันให้ปกครองตามประเพณีจีน ความแตกต่างทางสังคมแบบชี่ตันกับแบบจีนยังได้แก่ บทบาทของบุคคลแต่ละเพศและยุทธวิธี ชาวชี่ตันเห็นว่า บุคคลเสมอภาคกันไม่ว่าเพศใด ขณะที่ประเพณีทางวัฒนธรรมจีนถือว่า สตรีต้องอยู่ในโอวาทบุรุษ ฉะนั้น หญิงชี่ตันจึงเล่าเรียนการรบ ทั้งยังจัดการทรัพย์สินครัวเรือน และดำรงตำแหน่งทางทหาร ทั้งยังไม่มีการคลุมถุงชน ตลอดจนสตรีไม่จำต้องครองความบริสุทธิ์ทางเพศไว้จนถึงการสมรสครั้งแรก กับมีสิทธิที่จะหย่าและสมรสใหม่ด้วย ในปี 1125 ชาวนฺหวี่เจิน (Jurchen) จากราชวงศ์จิน (Jin) ของพวกแมนจู จับกุมพระเจ้าเทียนจั้ว (Tianzuo) แห่งเหลียวไว้ได้ และทำลายราชวงศ์เหลียวลงสิ้น แต่ชาวชี่ตันที่ยังเหลืออยู่มีเยลฺวี่ ต้าฉือ (Yelü Dashi) เป็นผู้นำ พากันก่อตั้งราชวงศ์ใหม่เรียกว่า "เหลียวตะวันตก" (Western Liao) ปกครองกันอยู่ในเอเชียกลางบางส่วนเป็นเวลายาวนานเกือบหนึ่งศตวรรษ ก่อนจะถูกทัพพระเจ้าไท่จู่ (Taizu) แห่งราชวงศ์หยวนของพวกมองโกล เข้ายึดครอง แม้ความสำเร็จทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับราชวงศ์เหลียวจะสลักสำคัญ กับทั้งเครื่องปั้นและศิลปวัตถุอื่น ๆ ก็มีอยู่ในพิพิธภัณฑ์และสถานสะสมต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก แต่สภาพที่แท้จริงและขอบข่ายของอิทธิพลที่วัฒนธรรมเหลียวมีต่อพัฒนาการในระยะหลัง ๆ เช่น ด้านศิลปะการแสดงและการสังคีตนั้น ยังเป็นที่ถกเถียงกันอย่างยิ่ง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์เหลียว · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เหลียงยุคหลัง

ราชวงศ์โฮ่วเหลียง (เหลียงยุคหลัง) (Later Liang Dynasty) (ค.ศ. 907 - 923) ถูกสถาปนาโดยจูเวินหรือจูเหวียนจง (ค.ศ.852-912) ผู้โค่นล้มราชวงศ์ถัง เดิมเหลียงไท่จู่ (จูเหวียนจง)เป็นหนึ่งในขุนพลของกองทัพกบฏหวงเฉา ต่อมาได้สวามิภักดิ์กับราชวงศ์ และร่วมมือกับหลี่เค่อยัง หัวหน้าเผ่าซาถัวปราบปรามกบฏจนหมดสิ้น และได้รับพระราชทานชื่อใหม่ว่า เหวียนจง แปลว่าผู้ซื่อสัตย์จงรักภักดี ต่อมาเขาเริ่มมีอิทธิพลในราชสำนักและในที่สุดเขาก็ปลดจักรพรรดิถังอัยตี้ จักรพรรดิองค์สุดท้ายลงจากราชบัลลังก์ ทำให้ราชวงศ์ถังสิ้นสุดลง และเขาก็ได้สถาปนาตนเอง ขึ้นเป็นจักรพรรดิองค์แรกแห่งราชวงศ์โฮ่วเหลียง พระนามว่าจักรพรรดิเหลียงไท่จู่ ราชวงศ์นี้เป็นราชวงศ์แรกในยุคที่เรียกว่า ยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร แต่ราชวงศ์นี้มีจักรพรรดิปกครองเพียง 2 พระองค์ หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์เหลียงยุคหลัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เซี่ย

ตแดนราชวงศ์เซี่ย (สีเหลือง) ราชวงศ์เซี่ย (ภาษาอังกฤษ: Xia Dynasty) (ภาษาจีนกลาง: 夏朝) (พินอิน: xià cháo) เป็นราชวงศ์แรกของจีน ปกครองประเทศจีนในช่วง 2100-1600 ปีก่อนคริสตกาล มีอายุอยู่ได้ราว 500 ปี ในอดีตนักวิชาการและบุคคลโดยทั่วไปเชื่อว่าเรื่องราวของราชวงศ์เซี่ยเป็นเพียงเรื่องแต่งหรือปรัมปราที่เล่าสืบต่อกันมา แต่ปัจจุบันมีการขุดค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีที่เชื่อถือได้ ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและราชวงศ์เซี่ย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิจีน

รายพระนามจักรพรรดิจีน รวมถึงรัชทายาทของประเทศจีนที่มีชื่อต่างๆ จากยุคโบราณ จนถึงราชวงศ์ชิง การปกครองมักจะถือกรรมสิทธิ์คือ กษัตริย์ (Chinese: 王 Wáng) มีการแบ่งแยกจีนในรัฐต่อสู้กันแยกเป็นสัดส่วน รายพระนามจักรพรรดิจีน มี ดังนี้ สำหรับลิงก์เหล่านี้เพื่อดูว่าเหล่าราชวงศ์มีความสัมพันธ์กัน ไดแก่ พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในยุคโบราณ → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงต้น → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงกลาง → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงปล.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและรายพระนามจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

วุยก๊ก

วุยก๊ก หรือ เฉาเวย (พินอิน: Cáo Wèi) จัดเป็นก๊กที่ยิ่งใหญ่และมีอำนาจมากที่สุดในบรรดาสามก๊ก ในระหว่างปี พ.ศ. 763 - พ.ศ. 808 (ปี ค.ศ. 220-265) วุยก๊กครอบครองพื้นที่ทางตอนเหนือของประเทศจีน ปกครองโดยโจโฉ ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นราชวงศ์วุยโดยพระเจ้าโจผีและได้สถาปนาโจโฉเป็นปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์วุยอีกพระองค์หนึ่ง วุยก๊กปกครองอาณาจักรโดยจักรพรรดิสืบต่อกันมาทั้งหมด 5 พระองค์ ได้แก่ราชวงศ์วุย, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและวุยก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สนมหลี่ (ซ่งเจินจง)

นมหลี่ (Consort Li; ค.ศ. 987–ค.ศ. 1032) เป็นสนมในพระเจ้าเจินจงแห่งราชวงศ์ซ่งเหนือ และเป็นพระมารดาพระเจ้าเหรินจงผู้เสวยราชย์เป็นรัชกาลต่อมา แต่พระเจ้าเหรินจงทรงเข้าพระทัยว่า สนมหลิวเป็นพระราชมารดาของพระองค์มาตลอด ครั้นเมื่อสนมหลี่ถึงแก่พระชนม์แล้ว จึงทรงทราบความจริง และสถาปนาสนมหลี่เป็น พระพันปีจางอี้ (章懿皇太后 Zhāngyì Huángtàihòu; Empress Dowager Zhangyi).

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและสนมหลี่ (ซ่งเจินจง) · ดูเพิ่มเติม »

หยัน จี

หยัน จี (閻姬; ? – 126) ฐานันดรศักดิ์ จักรพรรดินีอันซือ (安思皇后) เป็นจักพรรดินีสมัยราชวงศ์ฮั่น เป็นมเหสีของจักรพรรดิฮั่นอัน (漢安帝) เป็นที่รู้จักเพราะอุปนิสัยที่เล่นพรรคเล่นพวกและมักลอบวางแผนเล่นงานผู้อื่นจนได้เป็นจักรพรรดินีและเป็นพระพันปี ในช่วงสั้น ๆ แต่ที่สุดแผนการของพระนางล้มเหลวจนถูกประหารยกครัว หมวดหมู่:จักรพรรดินีจีน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและหยัน จี · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ สูเสียน

หลี่ สูเสียนและจักรพรรดิปูยี หลี่ สูเสียน คือ ภรรยาคนที่ 5 ของจักรพรรดิผู่อี๋ จักรพรรดิองค์สุดท้ายของประเทศจีน เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและหลี่ สูเสียน · ดูเพิ่มเติม »

หวัง สีเจี่ย

จักรพรรดินีเซี่ยวตฺวันเสี่ยน (ค.ศ. 1565 – เมษายน ค.ศ. 1620) ชื่อตัวว่า หวัง สีเจี่ย (王喜姐) เป็นมเหสีของจักรพรรดิว่านลี่ (萬曆) แห่งราชวงศ์หมิง ดำรงตำแหน่งจักรพรรดินี 49 ปี นับว่ายาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติจีน หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์หมิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและหวัง สีเจี่ย · ดูเพิ่มเติม »

หฺวัง ไถจี๋

ฉงเต๋อ (28 พฤศจิกายน 1592 – 21 กันยายน 1643) หรือชื่อตัวว่า หฺวัง ไถจี๋ (黃台吉) หรือ หง ไท่จี๋ (洪太極) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ชิง ซึ่งรวมแผ่นดินจีนที่นู่เอ๋อร์ฮาชื่อ (努爾哈赤) บิดา ก่อตั้งขึ้นแต่ตายเสียก่อนการจะสำเร็จ หฺวัง ไถจี๋ ยังได้เปลี่ยนนามชนชาตินฺหวี่เจิน (女眞; Jurchen) เป็นหมั่นจู๋ (滿族; Manchu) คือ แมนจู และเปลี่ยนนามราชวงศ์จินตอนปลายที่บิดาตั้งไว้เป็นราชวงศ์ชิง ราชวงศ์นี้ดำรงอยู่ต่อมาถึงปี 1912 เนื่องจากนู่เอ๋อร์ฮาชื่อยังไม่ทันได้ตั้งตัวเป็นเจ้าขณะมีชีวิตอยู่ หฺวัง ไถจี๋ จึงเฉลิมยศพระมหากษัตริย์ให้บิดาในภายหลัง ฉะนั้น จึงถือกันว่า นู่เอ๋อร์ฮาชื่อเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ชิง และหฺวัง ไถจี๋ เป็นทุติยกษัตร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและหฺวัง ไถจี๋ · ดูเพิ่มเติม »

อาปาไฮ่

อูลาน่าลา อาปาไฮ่ (Ulanara Abahai; 1590–1626) เป็นภริยาของนู่เอ๋อร์ฮาชื่อ (努爾哈赤) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ชิง และเป็นมารดาของอาจี้เก๋อ (阿濟格) ตัวเอ่อร์กุ่น (多爾袞) และตัวโต้ว (多鐸).

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและอาปาไฮ่ · ดูเพิ่มเติม »

ฮกเฮา

ระนางฮกเฮา (Empress Fu Shou) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ทรงเป็นสมเด็จพระอัครมเหสี(ฮองเฮา)ในพระเจ้าฮั่นเหี้ยนเต้ และทรงธิดาของฮกอ้วน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและฮกเฮา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิกวังซฺวี่

ระฉายาลักษณ์สมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี้ จักรพรรดิกวังซฺวี่ พระนามเดิมว่า อ้ายซินเจว๋หลัว ไจ้เถียน (14 สิงหาคม 2414-14 พฤศจิกายน 2451) เป็นพระโอรสในองค์ชายอี้ซวน ซึ่งเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิง พระราชชนนีคือพระขนิษฐาในพระนางซูสีไทเฮา ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมพรรษา 3 พรรษา การขึ้นครองราชย์ของพระองค์เป็นการผิดกฎมณเฑียรบาล เพราะสมเด็จพระจักรพรรดิถงจื้อก่อนสวรรคตได้ทรงแต่งตั้งเจ้าชายไจ้ซู่พระญาติให้เป็นรัชทายาท แต่ในเมื่อพระนางซูสีไทเฮาต้องการให้องค์กวังซฺวี่ขึ้นครองราชย์ก็ไม่มีใครกล้าคัดค้าน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิกวังซฺวี่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง

หวียนฮุ่ยจง (25 พฤษภาคม ค.ศ. 1320 – 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1370) หรือ ถั่วฮฺวัน เทียมู่เอ่อร์ (Toghon Temür) เสด็จสวรรคตแล้วจึงได้พระนามว่า ยฺเหวียนชุ่นตี้ เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หยวน (ยฺเหวียน) ใน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยงเจิ้ง

มเด็จพระจักรพรรดิยงเจิ้ง ทรงพระราชสมภพเมื่อ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2221 (คังซีปีที่ 17) เป็นพระโอรสลำดับที่ 4 ในจักรพรรดิคังซี มีพระนามเดิมว่า อิ้นเจิน, อิ้นเจวิน (ภาษาจีน: 胤禛) เล่ากันว่า พระองค์ร่วมวางแผนกับหลงเคอตัว ปลอมแปลงลายพระหัตถ์ของจักรพรรดิคังซีจากคำว่าองค์ชาย 14 (十四) เป็นคำว่าให้กับองค์ชาย 4 (于四) องค์ชาย 4 ขึ้นครองราชย์สืบต่อ อันเนื่องจากเหตุการณ์ความวุ่นวายในการแย่งชิงราชสมบัติกันเองระหว่างพี่น้อง ปลายรัชสมัยจักรพรรดิคังซี แต่เรื่องนี้เป็นเพียงความเชื่อที่บอกต่อกันมา ไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ยืนยันแต่ประการใด แต่นั่นก็ทำให้พระองค์ได้ฉายาว่าเป็น "จักรพรรดิบัลลังก์เลือด" หรือ "จักรพรรดิทรราช" (ซึ่งความตรงนี้นักประวัติศาสตร์ยุคปัจจุบันมีความเห็นว่าเป็นไปไม่ได้ เพราะพินัยกรรมของจักรพรรดิคังซีแม้จะเปลี่ยนแปลงก็เปลี่ยนได้เฉพาะฉบับที่เป็นตัวอักษรฮั่นเท่านั้น แต่ฉบับอักษรแมนจูที่มีการเขียนคู่กันด้วยไม่สามารถแก้ไขได้ อีกทั้งอักษร 于 นั้นเป็นการเขียนอย่างย่อ ซึ่งปกติจะไม่ใช้ในเอกสารราชการ) เมื่อจักรพรรดิยงเจิ้งขึ้นครองราชย์ สิ่งแรกที่พระองค์กระทำคือ การเปลี่ยนแปลงวิธีการแต่งตั้งองค์รัชทายาทจากการแต่งตั้งโดยเปิดเผยอันเป็นสิ่งปฏิบัติมาแต่อดีตเป็นแต่งตั้งโดยเป็นความลับโดยเงยพระพักตร์ขึ้นทอดพระเนตรเพดานท้องพระโรงและจารึกพระนามขององค์รัชทายาทใช้หลังป้ายแผ่นหนึ่งที่มีชื่อเรียกว่า เจิ้งต้ากวางหมิง (正大光明) 2 ชุด ชุดแรกเก็บไว้กับตัวพระองค์เองอีกชุดนึงเก็บไว้ซึ่งเก็บไว้ในหีบลับปิดผนึกแล้ววางไว้ที่ป้ายโลหะหน้าท้องพระโรง และให้เปิดทั้ง 2 ป้ายนี้อ่านพร้อมกันเมื่อพระองค์สวรรคตแต่ในระหว่างที่ครองราชย์ต้องพบกับปัญหากบฏหลายต่อหลายครั้งจากบรรดาขุนนางและเหล่าองค์ชายทั้งหลายที่เป็นพี่น้องด้วยกันยงเจิ้งนับว่าเป็นจักรพรรดิที่ขยันขันแข็งมากและได้ปฏิรูปรูปแบบการปกครองการบริหารเอาไว้หลายด้านกิจวัตรของพระองค์ที่ปฏิบัติเป็นประจำคือ ตื่นบรรทมแต่ก่อนรุ่ง เข้าบรรทมในยามดึกเพราะอ่านฎีกาจนดึกดื่น รวบอำนาจ จัดสรรระบบภาษี การเงินการคลัง และขจัดการฉ้อราษฎร์บังหลวงจนถือว่าเป็นช่วงสืบทอดยุคความรุ่งเรืองต่อมาใน 3 รัชกาลนี้ (คังซี-ยงเจิ้ง-เฉียนหลง) จนสามารถยังผลให้ประเทศจีนรุ่งเรืองถึงขีดสุดในยุคของจักรพรรดิเฉียนหลง พระโอรสของพระองค์ที่ครองราชสมบัติต่อ ซึ่งในส่วนของเหตุการณ์แย่งชิงราชสมบัติระหว่างพี่น้องด้วยกันเองนั้น ที่เรียกกันว่า "ศึกสายเลือด" ได้ถูกเล่าขานสืบมาจนปัจจุบัน และนำไปเสริมเติมแต่งเพื่อสร้างเป็นละครโทรทัศน์หรือภาพยนตร์หลายต่อหลายครั้ง จักรพรรดิย่งเจิ้งสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2278 ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน โดยมีสาเหตุคล้ายกับการสิ้นพระชนม์ของจิ๋นซีอ่องเต้ รัชทายาทที่สืบทอดบัลลังก์ต่อ คือ องค์ชายลำดับที่ 4 คือ เจ้าชายหงลี่ ซึ่งพระนามเมื่อครั้งขึ้นครองราชย์ คือ จักรพรรดิเฉียนหลง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิยงเจิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิว่านลี่

มเด็จพระจักรพรรดิว่านลี่ (4 กันยายน ค.ศ. 1563 - 18 สิงหาคม ค.ศ. 1620) ประสูติเมื่อวันที่4 กันยายน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิว่านลี่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนหมิงจง

มเด็จพระจักรพรรดิหยวนหมิงจง (22 ธันวาคม ค.ศ. 1300-30 สิงหาคม ค.ศ. 1329) จักรพรรดิองค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์หยวน เป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิหยวนหวู่จง และเป็นพระเชษฐาของจักรพรรดิหยวนเหวินจง ทรงพระนามเดิมว่า คูสาลา ประสูติเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิหยวนหมิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนหนิงจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหยวนหนิงจง (ค.ศ. 1326-1332) จักรพรรดิองค์ที่ 11 แห่งราชวงศ์หยวน ทรงพระนามเดิมว่า รินชินบาล เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิหยวนหมิงจง ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิหยวนหนิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนอิงจง

มเด็จพระจักรพรรดิหยวนอิงจง (พ.ศ. 1846-1866) จักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์หยวน ประสูติเมื่อวันที่ 22 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิหยวนอิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนอู่จง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหยวนอู่จง (4 สิงหาคม ค.ศ. 1281-27 มกราคม ค.ศ. 1311) ทรงพระนามว่า คูลุก ข่าน หรือ จักรพรรดิอู่จง (Emperor Yuan Wuzong) ประสูติเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิหยวนอู่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนไท่ติ้ง

มเด็จพระจักรพรรดิไท่ติ้ง หรือ เยซุน เตมูร์ ข่าน (28 พฤศจิากยน ค.ศ. 1293 - 15 สิงหาคม 1328) จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์หยวน ประสูติเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิหยวนไท่ติ้ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนเหรินจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหยวนเหรินจง หรือ อายูบาร์ดา ข่าน (ค.ศ. 1286-1320) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์หยวน ประสูติเมื่อวันที่ 9 เมษายน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิหยวนเหรินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนเหวินจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหยวนเหวินจง หรือ จายาตู ข่าน (16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1304-2 กันยายน ค.ศ. 1332) จักรพรรดิองค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์หยวน เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ในจักรพรรดิหยวนหวู่จง เมื่อจักรพรรดิเทียนซุนตี้สวรรคตลงในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิหยวนเหวินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหย่งเล่อ

มเด็จพระจักรพรรดิหย่งเล่อ ภาพวาดขณะหย่งเล่อฮ่องเต้ทอดพระเนตรเหล่าขันทีขณะกำลังเล่นคูจู่หรือตะกร้อ โบราณของจีน สมเด็จพระจักรพรรดิหย่งเล่อ (2 พฤษภาคม พ.ศ. 1903 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 1967) พระนามเดิม จู ตี้ (朱 棣) คือฮ่องเต้พระองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์หมิงของจีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิหย่งเล่อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหลงชิ่ง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหลงชิ่ง (4 มีนาคม ค.ศ. 1537 - 23 มกราคม ค.ศ. 1572) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิหลงชิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงอู่

มเด็จพระจักรพรรดิหงอู่ (21 ตุลาคม พ.ศ. 1871 – 24 มิถุนายน พ.ศ. 1941) คือจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์หมิงของจีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิหงอู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงจื้อ

ระสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระจักรพรรดิหงจื้อ สมเด็จพระจักรพรรดิหงจื้อ (30 กรกฎาคม ค.ศ. 1470 – 8 มิถุนายน ค.ศ. 1505) ทรงครองราชย์ระหว่างปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิหงจื้อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงซี

200px สมเด็จพระจักรพรรดิหมิงเหยินจง จูเกาจื้อ พระราชโอรสในหมิงเฉิงจู่ องค์ชายจูเกาจื้อ (朱 高 熾) ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา มีพระนามว่าหมิงเหยินจง (仁 宗)ใช้ศักราชหงซี (洪 熙)พระองค์เลื่อมใสในลัทธิขงจื้อ จึงยกเลิกกองเรือมหาสมบัติของพระราชบิดาและมีพระราชดำริที่จะย้ายเมืองหลวงลงไปอยู่ที่หนานกิง ตามเดิม แต่เนื่องจากทรงครองราชย์เพียงสิบเดือนก็ประชวรสวรรคตไปก่อน แผนการต่างๆ จึงยุติไปโดยปริยาย พระบรมศพถูกอัญเชิญไปบรรจุที่สุสาน เสียนหลิง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1921 หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์หมิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิหงซี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อ

หนูเอ่อร์ฮาชื่อ(แมนจู: 1 30px;; 21 กุมภาพันธ์ 1559 – 30 กันยายน 1626) หรืออ้ายซินเจว๋หลัวหนูเอ่อร์ฮาชื่อ(Chinese: Aixin-Jueluo Nǔ'ěrhāchì 愛新覺羅努爾哈赤)หรือสมเด็จพระจักรพรรดิชิงไท่จู่ เป็นปฐมจักรพรรดิราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิผู่อี๋

มเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 มีพระนามเต็มว่า หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ (พระนามอังกฤษที่เรจินัล จอนสตันถวายให้) เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจูแห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง (นับเริ่มแต่จักรพรรดิซุ่นจื้อ) และเป็นองค์สุดท้าย (末代皇帝) ของประเทศจีนมีพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิผู่อี๋ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจิ่งไท่

องเต้จิ่งไท่ หรือ ฮ่องเต้หมิงไต้จง เป็นจักรพรรดิจีนราชวงศ์หมิง ในคราวที่บ้านเมืองกำลังวิกฤต ทรงยึดบัลลังก์จากพระเชษฐา ฮ่องเต้เจิ้งถง และขึ้นครองบัลลังก์เป็นฮ่องเต้จิ่งไถ่ แต่ภายหลังก็ทรงถูกฮ่องเต้เจิ้งถงยึดอำนาจคืน จูฉีอี้ (朱祁钰) เกิดเมื่อ พ.ศ. 1971 เป็นพระโอรสของ ฮ่องเต้ซวนเต๋อ กับสนมอู๋แต่ต้องอาศัยอยู่นอกวังเพราะสนมอู๋มีอดีตนางรับใช้เก่าของฮั่นอ๋อง ที่เคยก่อกบฏจะแย่งราชบัลลังก์จากฮ่องเต้ซวนเต๋อ จนฮ่องซวนเต๋อจวนจะสิ้นพระชนม์ มีพระราชโองการเรียกตัวสนมอู๋กับจูฉีอี้ยู่เข้าพระราชวังต้องห้าม และฝากฝังให้พระราชวงศ์ทุกพระองค์ยอมรับแม่ลูกคู่นี้ ว่าเป็นสนมและพระโอรสอย่างถูกต้อง เมื่อพระโอรสของพระเจ้าซวนเต๋อ คือ จูฉีเจิน ขึ้นครองราชย์เป็นฮ่องเต้เจิ้งถงใน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิจิ่งไท่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจีน

มเด็จพระเจ้ากรุงจีน หรือ จักรพรรดิจีน (หวงตี้; ฮกเกี้ยน:ฮ่องเต้; แต้จิ๋ว:อ้วงตี่) คือประมุขจักรวรรดิจีน โดยมีจิ๋นซีฮ่องเต้เป็นฮ่องเต้พระองค์แรก ก่อนสมัยราชวงศ์ฉิน ประเทศจีนได้ถูกแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆ มากมาย และแต่ละแคว้นจะมีผู้ปกครอง เรียกว่า อ๋อง (王; พินอิน:wáng) ซึ่งแปลว่า พระมหากษัตริย์ แต่ต่อมาหลังจากอ๋องแห่งแคว้นฉินได้รวบรวมแว่นแคว้นต่าง ๆ เป็นหนึ่งเดียวจึงสถาปนาแผ่นดินเป็นจักรวรรดิจีน และประกาศใช้เป็นพระนามคำนำหน้าว่าจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ คือฉินซือหวงตี้ หรือจิ๋นซีฮ่องเต้ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉิน ฮ่องเต้ได้รับการเคารพในฐานะโอรสแห่งสวรรค์ คือเปรียบเสมือนได้รับอำนาจจากสวรรค์มาให้ปกครองประชาชน ตามหลักการ "สูงสุดโอรสสวรรค์ ล่างสุดนั้นประชาราษฎร" (最高的是天子,最低的是人民) การสืบทอดตำแหน่งฮ่องเต้มักอยู่ในรูปแบบจากบิดาไปยังบุตร โดยคำว่า ฮ่องเต้ หรือ หวงตี้ ถ้าแปลตรงตัวจะสามารถแปลได้ว่า "ผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่" (หวง 皇 - ผู้ทรงศักดิ์/Imperial, ตี้ 帝 - องค์อธิปัตย์/Sovereign) โดยนำมาจากพระนามฮ่องเต้องค์แรก คือ ฉินซือหวงตี้ (秦始皇帝) หลังจากนั้นตำแหน่งฮ่องเต้ก็ดำรงอยู่มานับพันปีซึ่งตั้งแต่ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ราชวงศ์ชิง เนื่องจากบริหารบ้านเมืองล้มเหลว และยังถูกประเทศต่างชาติรุกราน เป็นเหตุให้ประเทศจีนเกิดการปฏิรูปการปกครองจากระบอบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ตำแหน่งฮ่องเต้จึงสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1912 ฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของประเทศจีนคือ จักรพรรดิฮงเซี่ยนหรือหยวน ซื่อไข่ แต่ไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชน โดยฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับจากประชาชนคือ สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋แห่งราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังชาง

ักรพรรดิถังชาง (ค.ศ. 695 หรือ ค.ศ. 698 – 5 กันยายน ค.ศ. 714) จักรพรรดิองค์ที่7แห่งราชวงศ์ถังมีพระนามเดิมว่าหลี่ ฉงเม่า (李重茂) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิถังจงจงเมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิถังชาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังรุ่ยจง

มเด็จพระจักรพรรดิรุ่ยจง (ค.ศ. 662-716) จักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่ง ราชวงศ์ถัง พระนามเดิมว่า หลี่ตั้น (李旦) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิถังรุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังจงจง

มเด็จพระจักรพรรดิถังจงจง (ค.ศ. 656–710) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่ง ราชวงศ์ถัง มีพระนามเดิมว่าหลี่เสี่ยน (李顯) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิถังจงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังซู่จง

มเด็จพระจักรพรรดิซู่จง (ค.ศ. 711-762) จักรพรรดิองค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ถัง มีพระนามเดิมว่าองค์ชายหลี่เฮิง (李亨) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิถังซู่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังไท่จง

มเด็จพระจักรพรรดิถังไท่จง (1170-1186) พระนามเดิม หลี่ซื่อหมิน จักรพรรดิองค์ที่สองแห่งราชวงศ์ถังของประเทศจีน (ราว 1,600 ปี) ได้ยึดถือหลักคำสอนเรื่องนี้ของบรมครูขงจื่อในการ ปกครองประเทศจีน และทำให้ประเทศจีนในยุคที่พระองค์ทรงปกครองรุ่งเรืองที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ 5 เป็นประเทศมหาอำนาจของโลกในยุคสมัยของพระองค์ราชวงศ์ถังนั้นยิ่งใหญ่มากมายนั้นเลยก็ว่าได้ แม้ว่าพระองค์มีพระราชอำนาจสูงสุด สามารถตัดสินพระทัยสั่งการใด ๆ ก็ได้ พระองค์ก็ทรงมิได้ปฏิบัติเช่นนั้น พระองค์จะไต่ถามความเห็นของเหล่าเสนาบดี และที่ปรึกษาของพระองค์ก่อนที่จะตัดสินพระทัยเสมอ โดยเฉพาะที่ปรึกษาท่านหนึ่ง นาม เว่ยเจิง ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นที่ปรึกษาของพี่ชายพระองค์ที่เป็นรัชทายาท และได้แนะนำให้พี่ชายของพระองค์ วางแผนสังหารพระองค์ เนื่องจากที่ปรึกษาท่านนี้มองเห็นว่า พระองค์จะเป็นภัยก่อการขบถยึดราชบัลลังก์ของพี่ชาย เนื่องจากถังไท่จงเหนือชั้นกว่า จึงวางแผนซ้อนแผน แทนที่พระองค์จะถูกสังหาร พี่ชายของพระองค์กลับถูกปลิดพระชนม์ชีพแทน แต่ถังไท่จงรับสั่งมิให้ทหารของพระองค์ทำร้ายที่ปรึกษาผู้นั้น นอกจากไม่ทำร้ายแล้ว พระองค์ยังทรงแต่งตั้งเขาขึ้นเป็นประธานที่ปรึกษา เมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์สืบต่อจากพระราชบิดาอีก ด้วยเหตุผลก็คือ พระองค์ท่านจะได้มีที่ปรึกษาอย่างน้อยหนึ่งท่านที่คิดแตกต่าง หรือไม่เหมือนกับที่พระองค์คิด กล้าคัดค้านพระองค์อย่างตรงไปตรงมาโดยไม่เกรงกลัว หรือหวาดหวั่นต่อพระราชอำนาจ จักรพรรดิถังไท่จงได้รับการยกย่องจากนักประวัติศาสตร์ให้เป็นมหาจักรพรรดิของจีนเพราะพระองค์แตกต่างจากจักรพรรดิทั้งปวง กล่าวคือ ไม่ว่าเชื้อพระวงศ์ก็ดี หรือเสนาบดีก็ดี หรือที่ปรึกษาก็ดีไปแอบนินทา ให้ร้ายพระองค์ลับหลัง พระองค์ก็จะทรงลงพระอาญา เพราะถือว่า พระองค์ทรงให้โอกาสวิพากษ์วิจารณ์อย่างเปิดเผย และถูกต้องแล้วบุคคลเหล่านี้กลับไม่ทำ หรือไม่ใช้โอกาสดังกล่าว กลับมาแอบทำลับหลังพระองค์ จึงต้องถูกลงโทษให้เป็นเยี่ยงอย่าง ส่วนผู้ที่กล้าวิพากษ์วิจารณ์ หรือคัดค้านพระองค์ต่อหน้าพระพักตร์อย่างชนิดตรงไปตรงมา อย่างเช่น อดีตที่ปรึกษาของพระเชษฐาขององค์จักรพรรดิถังไท่จงก็ทรงปูนบำเหน็จรางวัลให้เพื่อให้บรรดาเหล่าขุนนาง หรือข้าราชบริพารมีความกล้าที่จะใช้โอกาสดังกล่าวคัดค้านพระองค์ด้วยเหตุด้วยผล ไม่ใช่ไปแอบทำข้างหลัง นอกจากนั้นพระองค์ก็ทรงปลอมเป็นสามัญชนไปกับประธานที่ปรึกษาออกตระเวนเยี่ยมประชาชนของพระองค์ และตรวจงานการปฏิบัติราชการของ เหล่าข้าราชบริพารเป็นประจำทุกปี เพื่อจะได้ทรงทราบว่า บรรดารายงานของข้าราชการที่ส่งไปให้พระองค์ทรงอ่านที่เมืองหลวงนั้นมีความถูกต้อง สอดคล้องกับความเป็นจริงมากเพียงใด ไม่ใช่ทรงอยู่แต่ในวังหลวงพึ่งพารายงานจากข้าราชการอย่างเดียว บางครั้ง หากพระองค์ประชวร พระองค์ก็จะทรงส่งประธานที่ปรึกษาของพระองค์ออกทำงานแทนพระองค์ จักรพรรดิถังไท่จงถือว่าประชาชนมีความสำคัญกว่าพระองค์ และพระราชวงศ์ เวลาพระองค์จะตัดสินพระทัยทำอะไร ก็มักจะมองไปที่ผลประโยชน์ของประชาชนก่อนเสมอ ก่อนที่จะขึ้นครองราชย์นั้น พระองค์มีพระนามว่า "หลี ซื่อ หมิน" ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิถังไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเกาจง

มเด็จพระจักรพรรดิเกาจง (ค.ศ. 649-683, พ.ศ. 1192-1226) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ถัง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิถังเกาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเสฺวียนจง

thumb จักรพรรดิถังเสฺวียนจง (ค.ศ. 685–762) จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ถัง เป็นโอรสในจักรพรรดิถังรุ่ยจง มีพระนามเดิมว่า หลี่หลงจี ภายหลังรัชกาลของบูเช็กเทียน สภาพการเมืองภายในราชสำนักปั่นป่วนวุ่นวาย เนื่องจากถังจงจงอ่อนแอ อำนาจทั้งมวลตกอยู่ในมือของเหวยฮองเฮา(韦皇后)ที่คิดจะยิ่งใหญ่ได้เช่นเดียวกับบูเช็กเทียน เหวยฮองเฮาหาเหตุประหารรัชทายาท จากนั้นในปี 710 วางยาพิษสังหารถังจงจง โอรสองค์ที่สามของถังรุ่ยจง นามหลี่หลงจี(李隆基)ภายใต้การสนับสนุนขององค์หญิงไท่ผิง(太平公主)ชิงนำกำลังทหารบุกเข้าวังหลวงสังหารเหวยฮองเฮาและพวก ภายหลังเหตุการณ์องค์หญิงไท่ผิงหนุนถังรุ่ยจงขึ้นครองราชย์ แต่งตั้งหลี่หลงจีเป็นรัชทายาท แต่แล้วองค์หญิงไท่ผิงพยายามเข้ากุมอำนาจเบ็ดเสร็จ แต่เกิดขัดแย้งกับรัชทายาทหลี่หลงจี ปี 712 ถังรุ่ยจงสละราชย์ให้กับโอรส หลี่หลงจีเมื่อขึ้นครองราชย์ทรงพระนามว่า ถังเสวียนจง (唐玄宗) สิ่งแรกที่กระทำคือกวาดล้างขุมกำลังขององค์หญิงไท่ผิง นำพาสันติสุขกลับคืนมาอีกครั้ง ตลอด 32 ปีในรัชสมัย ทรงปฏิรูปการปกครองกวาดล้างขุนนางกังฉิน ทรงทำให้ฉางอานกลายเมืองศูนย์กลางของโลกในขณะนั้น ประชากรในเมืองฉางอานสูงกว่า1ล้านคน เป็นปลายทางของเส้นทางสายไหม และยังเป็นจุดหมายปลายทางของพวกพ่อค้าชาวตะวันตก ต้าถังในรัชสมัยของพระองค์เจริญรุ่งเรือง เต็มไปด้วยนักดนตรี นักประพันธ์ เจริญด้วยวรรณกรรม วรรณคดีมากมาย สังคมงสบสุข พระบารมีแผ่ขยายไปกว้างไกล ประวัติศาสตร์ยุคนี้ได้รับการขนานนามว่า "ปฐมศักราชแห่งความรุ่งโรจน์" นอกจากนี้ยังมีนักศึกษาต่างชาติพากันลั่งไหลเข้ามาเรียนรู้ในผ่นดินต้าถังนตลอดไม่ขาดสาย ฉางอานเมืองหลวงของต้าถังในขณะนั้น กลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของโลกมีความเจริญในทุกๆด้าน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิถังเสฺวียนจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเจาจง

สมเด็จพระจักรพรรดิถังเจาจง (ค.ศ. 888-904, พ.ศ. 1431-1447) ทรงครองราชย์ต่อจากจักรพรรดิถังซีจง ตลอดรัชกาลของจักรพรรดิถังเจาจง อำนาจอยู่ในกำมือของจูเหวียนจง หรือจูเวิน ในปีที่ 15 ของรัชกาล ทั้งพระองค์และเสนาบดีชุยยิ่นขอกำลังจากจูเฉวียนจง ให้ปราบปรามขันที เมื่อปราบปรามกวาดล้างขันทีได้แล้วทำให้สิ้นสุดยุคขันทีครองเมือง แต่ในปีต่อมาถังเจาจงทรงถูกสังหารโดยจูเฉวียนจง พร้อมกับเสนาบดีชุยยิ่น จูเฉวียนจงได้ตั้งโอรสชันษา 13 พรรษาของถังเจาจงขึ้นเป็นจักรพรรดิถังไอตี้ หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิถังเจาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเต๋อจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิถังเต๋อจง (ค.ศ. 779-805) ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิถังเต๋อจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถงจื้อ

มเด็จพระจักรพรรดิถงจื้อขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุ 5 พรรษา ถึงแม้ว่าพระองค์จะครองราชย์ได้เพียง 12 ปี พระองค์ก็จัดได้ว่าเป็นจักรพรรดิที่พยายามจะบริหารประเทศให้ดีองค์หนึ่ง แต่ก็ถูกซูสีไทเฮายึดอำนาจไว้ ทำให้พระองค์ไม่สามารถใช้ความสามารถได้อย่างเต็มที่ เพราะพระนาง ซูสีไทเฮาเห็นว่า พระองค์นั้นไร้ซึ่งความสามารถวันๆก็เอาแต่แอบหนีออกไปเที่ยวนอกวัง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิถงจื้อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคังซี

ักรพรรดิคังซี (Enkh Amgalan Khaan) หรือพระนามเต็ม อ้ายซินเจฺว๋หลัวเสฺวียนเย่ (愛新覺羅玄燁 Àixīn-Juéluó Xuányè) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์ชิง เป็นพระโอรสของจักรพรรดิซุ่นจื้อ จักรพรรดิองค์ที่ 3 ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุเพียง 8 พรรษา ในปี พ.ศ. 2204 (ค.ศ. 1661) ภายหลังการสวรรคตของพระราชบิดา จักรพรรดิคังซีมีพระปรีชาสามารถตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ทรงฉายแววความเป็นผู้นำมาตั้งแต่เด็ก โดยโปรดการเรียนรู้ศิลปะ วิทยาการต่าง ๆ ทั้งของในประเทศ และนอกประเทศ โดยพระองค์อยู่ภายใต้การอุปการะดูแลของไท่หวงไทเฮา ผู้เป็นพระอัยยิกาของพระองค์ ในรัชสมัยซุ่นจื่อปีที่ 18 เกิดโรคฝีดาษระบาดที่กรุงปักกิ่ง ได้ระบาดมาในนครต้องห้าม ช่วงนั้นองค์ซุนจื่อ ติดโรคร้ายนี้สวรรคต ก่อนสวรรคตได้ตั้งพระราชโอรสองค์ที่3 เสฺวียนเย เป็นองค์รัชทายาทและได้ตั้งองคมนตรี สี่คนซึ่งเป็นขุนนางที่ไว้ใจที่สุด สี่องคมนตรีได้แก่ เอ๋าไป้ สั่วหนี ซัวเค่อซ่าฮ่า เอ่อปี๋หลง เมื่อพระองค์ทรงออกว่าราชการเองเมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา เมื่อพระชนมายุได้ 19 พรรษา สั่วหนี ประธานองคมนตรีได้ถึงแก่กรรม เอ๋าไป้ (鳌拜) ซึ่งเป็นขุนนางที่รับราชการมาแต่ครั้งจักรพรรดิไท่จง จักรพรรดิองค์ที่ 2 ของราชวงศ์ชิง เอ๋าไป้ เป็นขุนนางที่สำคัญตนว่าเป็นผู้นำองคมนตรีในตอนนั้นมีผู้ให้การยอมรับนับถือจำนานมาก จึงได้กระทำการอย่างไม่เหมาะสมทั้งต่อหน้าและลับหลังพระองค์หลายครั้ง จนในที่สุดก็ก่อการกบฏขึ้น แต่แผนการทั้งหมดได้ถูกทำลายลงโดย อู๋หลิวยิ สั่วเอ๋อถู และกลุ่มขุนนางภักดี รัชสมัยของจักรพรรดิคังซีนับเป็นระยะเวลาวิกฤตของราชวงศ์ชิง เพราะมีการต่อสู้ระหว่างชาวฮั่นที่ต้องการกู้ราชวงศ์หมิง รวมถึงชนเผ่าอื่น ๆ ที่ต้องการก่อกบฏ จักรพรรดิคังซีทำสงครามภายในประเทศยาวนานถึง 8 ปี จึงพิชิตแคว้นต่าง ๆ ได้ราบคาบ ก่อนที่พระองค์จะมีพระชนมายุ 30 พรรษา ทั้งขยายอาณาเขตถึงมองโกเลียและทิเบต หนึ่งในนโยบายสร้างความมั่นคงก็คือ สร้างสัมพันธ์กับชาวแมนจูที่อาศัยทางเหนือแต่เดิมให้แข็งแกร่ง ส่งอาวุธและกำลังพลไปรักษาชายแดนแถบนี้บ่อยครั้งเพื่อป้องกันการรุกรานจากชนเผ่าอื่น อีกทั้งยังทรงออกทัพเอง และได้ทำสงครามกับรัสเซียในยุคสมัยของพระเจ้าปีเตอร์มหาราช และได้รับชัยชนะด้วย ซึ่งสงครามได้จบลงที่การสร้างสัมพันธไมตรีต่อกัน รวมถึงการยกทัพบุกพม่า ทำให้จีนในยุคนี้เข้มแข็งและยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ริ้วขบวนบางส่วนของจักรพรรดิคังซีเสด็จนิวัติกรุงปักกิ่ง หลังจากเสด็จประพาสแดนใต้ ขณะเดียวกันเสด็จประพาสดินแดนทางใต้ถึง 6 ครั้ง เพื่อทอดพระเนตรความเจริญ รุ่งเรืองด้านศิลปะและวิชาการของแดนใต้ และสำรวจปัญหาน้ำท่วมไร่นาของชาวนา ซึ่งต่อมาทรงส่งเสริม การสร้างเขื่อนและให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตรกับชาวนา จักรพรรดิคังซีฉลองพระองค์เครื่องแบบทหาร จักรพรรดิคังซีนับเป็นอัจฉริยบุคคล ทรงศึกษาความผิดพลาดของพวกมองโกล ช่วงที่ปกครองชาวฮั่น จึงเปลี่ยนจากวิธีการใช้ไม้แข็งเป็นไม้อ่อน เกลี้ยกล่อมให้เหล่าปราชญ์ราชบัณฑิตที่หนีภัยยุคต้นราชวงศ์สิ้นอำนาจกลับมารับราชการใหม่ ทรงสถาปนากรมจิตรกรรมที่รู้จักในนาม สถาบันจิตรกรรมหัวหยวน คล้ายที่เคยมีในสมัยราชวงศ์ซ่ง นอกจากนี้ทรงดูแลเหล่าปราชญ์และศิลปินอย่างเกษมสำราญ มอบหมายงานให้ทำอย่างเต็มที่ ไม่ว่าด้านสถาปัตยกรรมหรือประวัติศาสตร์ โดยชิ้นที่สำคัญที่สุด คือการจัดทำ พจนานุกรมรวบรวมภาษาจีน ที่เรียกกันว่า พจนานุกรมคังซี ชีวิตส่วนพระองค์ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นจักรพรรดินักรักพระองค์หนึ่ง มีพระสนมราว 35 คน พระโอรสและพระธิดาราว 55 องค์ จนปลายรัชสมัยเกิดการชิงบัลลังก์เป็นที่วุ่นวาย ผลสุดท้ายองค์ชาย 4 ได้ขึ้นครองบัลลังก์เป็นจักรพรรดิหย่งเจิ้งในเวลาต่อมา รัชสมัยของจักพรรดิคังซีตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและราชวงศ์บ้านพลูหลวงของอาณาจักรอยุธยา จักรพรรดิคังซีสวรรคตในปี พ.ศ. 2265 (ค.ศ. 1722) รวมระยะเวลาครองราชย์ยาวนานถึง 61 ปี นับเป็นจักรพรรดิที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดพระองค์หนึ่งในประวัติศาตร์จีน ในยุคสมัยของพระองค์มีเรื่องการเกิดขึ้นต่าง ๆ มากมายเช่น ในนวนิยายต่างๆ ระบุว่าพระองค์นั้นสวรรคตจากการปลงพระชนม์ขององค์ชายสี่ หรือหย่งเจิ้น แต่ปัจจุบันมีการสันนิษฐานว่าพระองค์สวรรคตจากชราภาพเอง เป็นที่เลื่องลือจนถึงปัจจุบัน มีวรรณกรรมต่าง ๆ มากมายที่บอกเล่าถึงยุคสมัยนี้ ไม่ว่าจะเป็น นิยาย ละครโทรทัศน์ หรือ ภาพยนตร์ ที่มีการจัดสร้างหลายต่อหลายครั้งแม้ในปัจจุบัน เรื่องที่มีชื่อเสียงมากคือ นิยายกำลังภายในอิงประวัติศาสตร์ของ กิมย้ง เรื่อง อุ้ยเสี่ยวป้อ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิคังซี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฉงเจิน

ักรพรรดิฉงเจิน (6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1610-25 เมษายน ค.ศ. 1644) จักรพรรดิองค์ที่ 17 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์หมิง เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิไท่ชาง และเป็นพระราชอนุชาในจักรพรรดิเทียนฉี เมื่อพระเชษฐาสวรรคตในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิฉงเจิน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซุ่นจื้อ

มเด็จพระจักรพรรดิซุ่นจื้อ จักรพรรดิองค์ที่ 3 ของราชวงศ์ชิง แต่ในบางครั้งจะนับพระองค์เป็น ปฐมจักรพรรดิ ของราชวงศ์ชิง ด้วยทรงเป็นจักรพรรดิแมนจูพระองค์แรกที่ได้ประทับในพระราชวังต้องห้ามที่กรุงปักกิ่ง และราชวงศ์หมิงถึงกาลสิ้นสุดอย่างแท้จริง มีพระนามเดิมว่า อ้ายซินเจี๋ยว์หลอ ฝูหลิน (爱新觉罗福临) ซึ่งเป็นพระโอรสคนที่ 9 ของหวงไท่จี๋ ทรงขึ้นครองราชย์เพียงพระชนมพรรษา 6 ขวบ ในปี พ.ศ. 2186 (ค.ศ. 1643) หลังการสวรรคตของจักรพรรดิหวงไถจี๋ พระราชบิดา และ เซี่ยวจวงก็เลื่อนศักดิ์ขึ้นมาเป็นไทเฮา โดยมีตัวเอ่อกุ่นที่มีศักดิ์เป็นพระปิตุลาเป็นผู้สำเร็จราชการ (摄政王) และมีเจิ้งชินหวัง (郑亲王) คอยให้การช่วยเหลือ ตั่วเอ่อกุ่นได้พยายามยึดกุมอำนาจปกครองอันแท้จริงเอาไว้ อีกทั้งยังตั้งตนเองเป็นพระราชบิดา ควบคุมกองทัพกองธงไว้ถึง 3 กองธง ในขณะที่ฮ่องเต้ปกครองอยู่เพียง 2 กองธง พระองค์ต้องอยู่ใต้การสำเร็จราชการแผ่นดินของตั่วเอ่อกุ่น พระอนุชาต่างพระมารดาของพระราชบิดา ซึ่งตั่วเอ่อกุ่นนับว่าเป็นบุคคลที่มีอิทธิพลอย่างมาก อีกทั้งยังมีสิทธิ์ที่จะได้ขึ้นครองราชย์อีกด้วย ตั่วเอ่อกุ่นได้กระทำการหลายอย่างที่จะไม่ให้พระองค์เจริญชันษามาด้วยความปรีชาสามารถ เช่น ไม่สนับสนุนให้ทรงเล่าเรียน เป็นต้น แต่ทว่า อำนาจของตั่วเอ่อกุ่นก็ถูกคานจาก พระนางเสี้ยวจวงไทเฮา (孝庄太后)พระมารดา กระทั่งปี..1650 เมื่อตัวเอ่อกุ่นเสียชีวิตลง ซุ่นจื้อที่เริ่มหลุดจากการเป็นหุ่นเชิด ได้ประกาศราชโองการยกเลิกตำแหน่ง บรรดาศักดิ์ และริบทรัพย์ทั้งหมดของตัวเอ่อกุ่นเป็นการลงโทษในข้อหาใช้อำนาจบาตรใหญ่ในขณะที่มีชีวิตอยู่ นอกจากนั้นยังลือกันว่ามีการขุดศพของตัวเอ่อกุ่นขึ้นมาทำการตีด้วยไม้และโบยด้วยแส้อีกด้วย หลังจากนั้น เพื่อให้อำนาจกลับคืนสู่ฮ่องเต้อย่างแท้จริง ซุ่นจื้อยังได้ทำการปลดองค์ชายและเชื้อพระวงศ์หลายคนที่เคยดูแลหน้าที่ในกระทรวงต่างๆ อีกทั้งเพื่อลดความขัดแย้งระหว่างชนชาติ จึงทรงมีรับสั่งให้มีการหยุดการเวนคืนที่ดินจากประชาชน ผ่อนปรนกฎหมายคนหลบหนี ผลักดันวัฒนธรรมชาวฮั่น ซึ่งการยกย่องวัฒนธรรมของชาวฮั่นกับความคิดในการปฏิรูปเพื่อให้แมนจูกับชาวฮั่นสามารถอยู่ร่วมกันของซุ่นจื้อ ได้ก่อให้เกิดความขัดแย้งกับขุนนางใหญ่จำนวนไม่น้อย ความผิดหวังในทางการเมือง ได้ทำให้ซุ่นจื้อหันมาทุ่มเทให้กับความรักให้กับพระมเหสีต่งเอ้อ พระสนมต่งเอ้อ โดยเล่าขานกันว่า พระมเหสีต่งเอ้อเดิมเป็นน้องสะใภ้ของซุ่นจื้อ เป็นภรรยาของป๋อมู่ป๋อกั่วเอ่อ (博穆博果尔) แต่มีความสนิทสนมใกล้ชิดกับซุ่นจื้อมาก หลังป๋อกั่วเอ่อเสียชีวิตในปีซุ่นจื้อที่ 13 ฮ่องเต้ซุ่นจื้อจึงได้แต่งตั้งนางให้เป็นพระสนมของตน หลังจากเป็นสนมของซุ่นจื้อได้หนึ่งปี พระมเหสีต่งเอ้อก็ได้ให้กำเนิดพระโอรส ซึ่งเดิมจะได้รับการแต่งตั้งเป็นรัชทายาท ทว่าพระโอรสพระองค์นี้กลับเสียชีวิตไปเมื่ออายุได้เพียง 3 เดือน ทำให้พระมเหสีต่งเอ้อตรอมใจจนสิ้นพระชนม์ และได้รับการอวยยศตามหลังจากเซี่ยวจวงฮองไทเฮา ให้เป็นเสี้ยวเซี่ยนตวนจิ้งฮองเฮา จักรพรรดิซุ่นจื้อครองราชย์ถึงปีที่ 18 (ค.ศ. 1661) ก็สวรรคตไปด้วยพระชนมายุเพียง 24 พรรษา ทว่าการสวรรคตของพระองค์กลับเป็นปริศนาถูกกล่าวขานไว้หลายรูปแบบ โดยบ้างระบุว่าพระองค์เสียพระทัยกับการสูญเสียพระสนมและพระโอรส ทำให้ร่างกายและจิตใจได้รับความกระทบกระเทือน และสิ้นพระชนม์ด้วยโรคฝีดาษ (ไข้ทรพิษ)ในปี พ.ศ. 2204 (ค.ศ. 1661) ในขณะที่บันทึกของชาวบ้านกลับระบุว่า พระองค์ทรงมีความฝักใฝ่ในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า สุดท้ายเมื่อสูญเสียพระสนมอันเป็นที่รัก จึงได้ออกผนวช ณ เขาอู่ไถ (五台山) และต่อมาพระโอรสลำดับที่ 3 ของพระองค์ ที่ประสูติแต่ พระมเหสีคัง คือ องค์ชายเสวียนเยว่ (玄燁) พระชนมายุเพียง 8 พรรษา ได้ขึ้นครองราชย์เป็นฮ่องเต้คังซีตามพระพินัยกรรมของซุ่นจื้อในนาม จักรพรรดิคังซี ซึ่งต่อมาทรงเป็นจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ของราชวงศ์ชิง และพระนางเสี้ยวจวงก็เป็นผู้อุปการะพระองค์มาโดยตลอด และได้เลื่อนพระอิสริยยศเป็นไท่หวงไท.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซุ่นจื้อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งชินจง

thumb จักรพรรดิซ่งชินจง (ค.ศ.1100 - 1161, พ.ศ. 1643 - 1704) จักรพรรดิองค์ที่ 9 แห่ง ราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นพระราชโอรสองค์โตของจักรพรรดิ ซ่งฮุ่ยจง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งชินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งกวงจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกวงจง (พ.ศ. 1732 - 1737)ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งกวงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งลี่จง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งลี่จง เป็นจักรพรรดิองค์ที่14แห่งราชวงศ์ซ่งและองค์ที่5แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ทรงขึ้นครองราชย์แทนซ่งหนิงจงพระราชบิดา ที่สวรรคตลงในปี..1224(พ.ศ. 1767)ทรงครองราชย์ 40ปี โดยสิริพระชนมายุ 59 ปี ซ่งลี่จงพระนามเดิม จ้าว หยูอิง เดิมทีพระองค์ทรงมิใช่ราชทายาท แต่เป็นพระญาติของซ่งหนิงจง โดยพระองค์ทรงเป็นลูกหลานรุ่นที่ 10 ของจ้าว ควงอิ้นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ซ่งและสืบเชื้อสายมาจากจ้าว เต๋อเจ้า(เหยียนหวาง 燕王) จ้าว หยูอิงเป็นบุตรของจ้าว ซีหลู่(赵希瓐) จ้าว ซีหลู่เป็นเพียงขุนนางเล็กๆ ไม่มียศฐาบรรดาศักดิ์ใดๆใช้ชีวิตไม่ต่างจากประชาชนธรรมดาโดยทั่วไป จ้าว หยูอิงอายุได้ 7 ขวบจ้าว ซีหลู่ก็ตายจากไปแม่ของจ้าว หยูอิงจึงได้พาเขากับน้องชาย(จ้าว หยู่รุย)กลับไปอยู่บ้านทางฝ่ายแม่ที่เซาซิง จนอายุได้ 16 ปี โดยซ่งหนิงจงมีราชโองการให้อำมาตย์สือ หมี่หยวนไปเสาะหาเชื้อสายของราชวงศ์ สือ หมี่หยวนได้สั่งให้หยู เทียนซีไปดำเนินการ ในระหว่างทางทีหยู เทียนซีกลับไปบ้านเกิดก็ได้พบกับพี่น้องจ้าว หยูอิงจึงได้สอบถามพบว่าจ้าว หยูอิงมีเชื้อสายของราชวงศ์แท้จริง จึงได้นำพาจ้าว หยูอิงกับน้องชาย(จ้าว หยู่รุย)กลับมารายงานต่ออำมาตย์สือ หมี่หยวนที่เมืองหลินอัน ในปี..1221 จ้าว หยูอิงถูกเรียกตัวเข้าวังและได้รับพระราชทานนามใหม่ กุ่ยเฉิง(贵诚)และขึ้นครองราชย์ในเวลาต่อม.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งลี่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งหนิงจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งหนิงจง(1711-1767)ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งหนิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งอิงจง

thumb จักรพรรดิซ่งอิงจง เป็นเชื้อพระวงศ์ที่ ซ่งเหยินจง ทรงนำมาเป็นพระราชบุตรบุญธรรม ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งอิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง

thumb ซ่งฮุ่ยจง (ค.ศ. 1100 - ค.ศ. 1126, พ.ศ. 1643- พ.ศ. 1669)ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งตู้จง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งตู้จง ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 15 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งตู้จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งไท่จู่

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จู่ จ้าว ควงอิ้น ตามสำเนียงกลาง หรือ เตียคังเอี๋ยน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระบรมราชสมภพ 21 มีนาคม ค.ศ. 927 – เสด็จสวรรคต 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 976) หรือมักเรียกด้วยนามพระอารามประจำรัชกาลว่า ไท่จู่ ตามสำเนียงกลาง หรือ ไทโจ๊ว ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (Tàizǔ) เป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ซ่งในจักรวรรดิจีนโบราณ เสวยราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งไท่จู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งไท่จง

220px สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จง (1482-1540) มีพระนามเดิมว่า เจ้ากวงอี้ ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเกาจง

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งเกาจง (12 มิถุนายน ค.ศ. 1107 – 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1187) พระนามเดิม "เจ้าโก้ว" ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ซ่งของประเทศจีน และเป็นจักรพรรดิองค์แรกของแห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งเกาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเสินจง

ักรพรรดิซ่งเสินจง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งเสินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเสี้ยวจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิเสี้ยวจง (พ.ศ. 1705-1732) จักรพรรดิองค์ที่ 11 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งเสี้ยวจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเหรินจง

หรินจง เป็นจักรพรรดิรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์ซ่งเหนือของจีน ประสูติเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งเหรินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเจินจง

มเด็จพระจักรพรรดิเจินจง (23/12/968年-23/3/1022年) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิซ่งไท่จง (เจ้า ควงอี้) และเป็นพระราชภาติยะในจักรพรรดิซ่งไท่จู่ (เจ้า ควงอิ้น) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ซ่งเหนือ เมื่อพระราชบิดาสวรรคตลง ทรงขึ้นครองราชย์แทนในปี ค.ศ. 997 (พ.ศ. 1540) ขณะพระชนม์ 29 พรรษา พระองค์เสด็จสวรรคต ค.ศ. 1022 (พ.ศ. 1565) สิริพระชนมายุได้ 54 พรรษา ทรงครองราชย์ได้ 25 ปี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งเจินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเจ๋อจง

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง (ค.ศ. 1075 - ค.ศ. 1100, ทรงครองราชย์ ค.ศ. 1085 - ค.ศ. 1100) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิซ่งเสินจง กับพระสนมซู ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1075 (พ.ศ. 1618) และเมื่อจักรพรรดิซ่งเสินจงพระราชบิดาเสด็จสวรรคตลงขณะพระชันษา 10 พรรษา พระองค์จึงขึ้นครองราชย์แทนในปี ค.ศ. 1085 (พ.ศ. 1628) แต่เนื่องจากพระองค์ยังทรงพระเยาว์พระพันปีหลวง เกาจึงทรงเป็นผู้สำเร็จราชการและที่ปรึกษาราชกิจ และเมื่อทรงบรรลุนิติภาวะทรงสนับสนุนแนวทางอนุรักษ์แบบเก่าที่นำโดยซือหม่ากวงและทำให้แนวทางปฏิรูปของหวังอันสือยุติลง ส่วนเกาไทเฮาสิ้นพระชนม์ลงในปี ค.ศ. 1093 (พ.ศ. 1636) อันเป็นปีที่ 8 ในรัชกาล องค์จักรพรรดิซ่งเจ๋อจงครองราชย์ได้ 15 ปี สวรรคตลงเมื่อปี ค.ศ. 1100 (พ.ศ. 1643) ขณะพระชนม์เพียง 25 พรรษาจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจงพระราชอนุชาจึงขึ้นครองราชย์สืบต่อ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีบอร์จิกิต

มเด็จพระจักรพรรดินีบอร์จิกิต (世祖废后Borjigit, Demoted Empress)ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์ที่แรกในสมเด็จพระจักรพรรดิซุ่นจื้อโดยพระนางทรงมาจาก ราชสกุล เบอร์จิกิต ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระจักรพรรดินีของจีนในช่วงระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีบอร์จิกิต · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีพาน

ักรพรรดินีพาน หรือ จักรพรรดินีพัว (Empress Pan, ? – ค.ศ. 252) จักรพรรดินีแห่งราชวงศ์ง่อและเป็นพระพันปีใน พระเจ้าซุนเหลียง จักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์ง่อพระนางนับเป็นจักรพรรดินีองค์แรกและองค์เดียวใน พระเจ้าซุนกวน ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ง่อโดยพระนางได้รับการสถาปนาเป็นจักรพรรดินีภายหลังจากพระโอรสคือ ซุนเหลียง ได้รับการสถาปนาเป็นรัชทายาท หลังจากพระเจ้าซุนกวนเสด็จสวรรคตใน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีพาน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีกั้ว (ซ่งเหรินจง)

ักรพรรดินีกั้ว (Empress Guo; 1012 — 1035) จักรพรรดินีจีนแห่ง ราชวงศ์ซ่ง อภิเษกเข้ามาเป็นจักรพรรดินีองค์แรกของ จักรพรรดิซ่งเหรินจง พระนางเป็นหลานสาวของ กั้วชง ได้ถูกคัดเลือกให้เข้ามาเป็นจักรพรรดินีของจักรพรรดิหนุ่มเหรินจงโดย จักรพรรดินีหลิว พระราชมารดาของจักรพรรดิเหรินจงใน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีกั้ว (ซ่งเหรินจง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีวั่นหรง

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวเค่อหมิ่น หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงหรือชื่อเล่น ๆ ว่า วั่นจิง หรือพระนามแรกประสูติว่า โกวปู้โลว วั่นหรง (13 พฤศจิกายน 2449 - 20 มิถุนายน 2489) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของประเทศจีนด้วยเหตุที่เป็นสมเด็จพระมเหสีในผู่อี๋ฮ่องเต้ สมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของจีน จักรพรรดินีวั่นหรงทรงสืบเชื้อสายจากวงศ์สกุลด๋าหว่อ (Daur People) จากมองโกเลียลึกตั้งแต่ครั้งโบราณกาล สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงนั้นต่อมาได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งแมนจูกัว (หรือเป็นที่รู้จักกันในนามของ "จักรวรรดิแมนจูกัว") สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงกับฉลองพระองค์สมเด็จพระจักรพรรดินีแบบแมนจู.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีวั่นหรง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีสฺวี (ราชวงศ์หมิง)

ักรพรรดินีสฺวี (Empress Xu; สิ้นพระชนม์ กรกฎาคม พ.ศ. 1950) จักรพรรดินีในจักรพรรดิหย่งเล่อ และจักรพรรดินีองค์ที่สามของราชวงศ์หมิงของจีน จักรพรรดินีสฺวีประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีสฺวี (ราชวงศ์หมิง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหม่า

สมเด็จพระจักรพรรดินีหม่า (馬皇后, พ.ศ. 1875-1925) หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีเซี่ยวฉีเกา เป็นพระอัครมเหสีใน จักรพรรดิหงหวู่ หรือ จูหยวนจาง ปฐมจักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์หมิง พระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ. 1875 มีพระนามเดิมว่า หม่าชิวเซียง เป็นธิดาบุญธรรมของ กัวจื่อซิง หนึ่งในผู้นำกบฏช่วงปลาย ราชวงศ์หยวน เสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 1925 ขณะพระชนมายุ 50 พรรษา หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์หมิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีหม่า · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหลิว (ซ่งเจินจง)

หลิวเอ๋อ (ค.ศ. 968–ค.ศ. 1033) หรือพระนามอย่างเป็นทางการว่า จางเสี้ยนหมิงสู้ เป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าเจินจงแห่งราชวงศ์ซ่งเหนือ เมื่อพระเจ้าเหรินจงเสวยราชย์ต่อมา พระนางหลิวก็ได้เป็นผู้สำเร็จราชการและทรงปฏิบัติพระราชกิจอย่างมีประสิทธิภาพเป็นเวลาเก้าปีตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีหลิว (ซ่งเจินจง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหลี่ (จักรพรรดิซ่งไท่จง)

ักรพรรดินีหลี่ (Empress Li; 960 — 1004) จักรพรรดินีแห่งราชวงศ์ซ่งของจีนโดยพระนางอภิเษกกับ จักรพรรดิซ่งไท่จง เมื่อพระสวามีสวรรคตพระนางได้เป็น ฮองไทเฮา หรือพระพันปีหลวงให้กับพระโอรสบุญธรรมของพระนาง จักรพรรดิซ่งเจินจง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีหลี่ (จักรพรรดิซ่งไท่จง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหลงยฺวี่ พระพันปีหลวง

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวติ้งจิ่ง (จีน:孝定景皇后叶赫那拉氏) พระองค์ทรงเป็นที่รู้จักในพระนาม สมเด็จพระพันปีหลงยฺวี่ (จีน:隆裕皇后) (พระนามเดิม:จิงเฟิน 靜芬) (พ.ศ. 2406 - พ.ศ. 2456) พระนางหลงยฺวี่เป็นพระอัครมเหสีในจักรพรรดิกวางซวีแห่งจีน สมัยราชวงศ์ชิง พระนางทรงมาจากเผ่าแมนจูเยเฮ่อน่าลา และพระองค์ยังเป็นพระญาติกับจักรพรรดิกวางซวี ผู้ซึ่งครองราชสมบัติตั้งแต่ พ.ศ. 2418 ถึง พ.ศ. 2451 พระนางเป็นพระนัดดาในซูสีไทเฮา พระนางไม่มีพระโอรสธิดา และทรงเป็นที่รู้จัก เนื่องจากได้ลงพระนามาภิไธยในพระราชโองการแทนจักรพรรดิผู่อี๋ประกาศสละราชบัลลังก์ใน พ.ศ. 2454 นับเป็นการสิ้นสุดระบอบกษัตริย์ในประเทศจีนที่ยืนยาวมากว่า 2,000 ปี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีหลงยฺวี่ พระพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหวัง (จักรพรรดิถังเกาจง)

จักรพรรดินีหวัง (王皇后_(唐高宗)Empress Wang (Gaozong), ?-ค.ศ.655)เป็นจักรพรรดินีในสมัยราชวงศ์ถังโดยทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีองค์แรกของจักรพรรดิถังเกาจงต่อมาถูกถอดและสิ้นพระชนม์ในปีค.ศ.655 หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:ตัวละครในบูเช็คเทียน จอมนางเหนือแผ่นดิน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีหวัง (จักรพรรดิถังเกาจง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีหวังจื้อ

จักรพรรดินีหวังจื้อ (王娡,?-126 ปีก่อนค.ศ.) ต่อมาได้เป็น จักรพรรดินีเสี้ยวจิง (孝景皇后)ทรงเป็น จักรพรรดินี ในสมัย ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก เป็นจักรพรรดินีองค์ที่ 2 ของ จักรพรรดิฮั่นจิง และเป็นพระชนนีของจักรพรรดิฮั่นอู่ หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีหวังจื้อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีฮั่นเกา

ักรพรรดินีฮั่นเกา มีพระนามเดิมว่า ลฺหวี่จื้อ (呂雉, 241-180 ปีก่อนค.ศ.) เป็นจักรพรรดินีพระองค์แรกแห่งราชวงศ์ฮั่น เมื่อจักรพรรดิฮั่นเกาจู่ พระราชสวามี และจักรพรรดิฮั่นฮุ่ยตี้ พระราชโอรส เสด็จสวรรคตลงพระองค์จึงขึ้นมามีอำนาจด้วยการตั้งพระราชนัดดาขึ้นเป็นจักรพรรดิหุ่นเชิดถึง 2 พระองค์ ก่อนจะสิ้นพระชนม์เมื่อ 180 ปีก่อน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีฮั่นเกา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีจวงเล่อหมิน

จักรพรรดินีจวงเล่อหมิน (Empress Zhuangliemin; 10 พฤษภาคม 1611 — 24 เมษายน 1644) ฐานันดรศักดิ์หลังสิ้นพระชนม์ จักรพรรดินีเซี่ยวเจี๋ยเล่อ (Empress Xiaojielie) พระนางมีพระนามอย่างสามัญคือ จักรพรรดินีโจว (Empress Zhou) จักรพรรดินีองค์สุดท้ายของ ราชวงศ์หมิง อภิเษกกับ จักรพรรดิฉงเจิน หมวดหมู่:จักรพรรดินีจีน หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์หมิง หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์หมิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีจวงเล่อหมิน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีจางมู่

จักรพรรดินีจางมู่ (ค.ศ. 975-ค.ศ. 1007) เป็นฮองเฮาองค์แรกของซ่งเจินจง และเป็นธิดาของกัว โช่วเหวิน (郭守文) หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ซ่ง หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ซ่ง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีจางมู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีจี้

ักรพรรดินีจี้ ตระกูลอูลาน่าลา (繼皇后烏喇納喇氏 Jì Huánghòu Wūlānàlā Shì) หรือที่รู้จักกันในไทยว่า "จี้ฮองเฮา " จากภาพยนตร์ชื่อดังเรื่อง องค์หญิงกำมะลอ เป็นพระอัครมเหสีพระองค์ที่สองในจักรพรรดิเฉียนหลง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีจี้ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีคี

มเด็จพระจักรพรรดินีตระกูลคี หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีตระกูลฉี (ภาษาจีน: 奇皇后; ภาษาเกาหลี: 기황후; ค.ศ. 1315 - ค.ศ. 1369) หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีโอลชีคูตูค (ภาษาจีน: 完者忽都; ภาษามองโกล: Ölǰei Khutugh) เป็นพระจักรพรรดินีในพระจักรพรรดิหยวนฮุ่ยจง (ภาษาจีน: 惠宗 Huizong) ทอคอนเตมูร์ (ภาษามองโกล: toγan temür) มีพื้นเพเดิมเป็นชาวเกาหลีในสมัยอาณาจักรโครยอ เป็นสตรีที่ทรงอำนาจของจีนในสมัยราชวงศ์หยวนตอนปลาย นางสาวคีเกิดที่เมืองแฮงจู (ภาษาเกาหลี: Haengju; ปัจจุบันอยู่ทางตอนเหนือของโซล) ในค.ศ. 1315 เป็นบุตรสาวของคีจาโอ (ภาษาเกาหลี: Ki Ja-o 奇子敖) ขุนนางฝ่ายทหารคนหนึ่งของอาณาจักรโครยอ ไม่ปรากฏว่านางสาวคีนั้นมีชื่อเดิมเป็นภาษาเกาหลีว่าอย่างไร นางสาวคีมีพี่ชายชื่อว่า คี ชอล (ภาษาเกาหลี: Ki Cheol 奇轍) ในค.ศ. 1332 ทางฝ่ายราชวงศ์หยวนมีพระจักรพรรดิพระองค์ใหม่ขึ้นครองราชย์คือ พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ นางสาวคีอายุสิบเจ็ดปีได้รับการคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในบรรดาสาวดรุณีที่ราชสำนักโครยอต้องส่งมอบให้แก่ราชสำนักหยวนเป็นบรรณาการ นางสาวคีจึงจำต้องจากบ้านเกิดของตนเองไปยังกรุงต้าตู (Dadu) อันเป็นราชธานีของราชวงศ์หยวน หรือปักกิ่งในปัจจุบัน เพื่อเป็นนางในคอยปรนนิบัติรับใช้พระจักรพรรดิโทคนเตมือร์ ด้วยความช่วยเหลือของโคยงโบ (ภาษาเกาหลี: Go Yongbo 고용보) ขันทีชาวเกาหลีในราชสำนักหยวน ทำให้นางในคีได้มีโอกาสทำหน้าที่ถวายเครื่องดื่มและน้ำชาแด่พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์อย่างใกล้ชิด จนเป็นที่ต้องพระเนตรของจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ ในค.ศ. 1340 พระสนมตระกูลคีได้ให้กำเนิดพระโอรสองค์แรกแด่พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ คือ เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ (ภาษามองโกล: Ayushiridara) พระสนมตระกูลคีจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระจักรพรรดินีตระกูลคี หรือ พระจักรพรรดินีโอลชีคูตูค แม้ว่าในขณะนั้นพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์จะทรงมีพระจักรพรรดินีอยู่แล้วก็ตามคือ พระจักรพรรดินี บายันคูตูค (ภาษามองโกล: Bayan Khutugh) เท่ากับว่าในเวลานั้นราชวงศ์หยวนมีพระจักรพรรดินีในเวลาเดียวกันสองพระองค์ พระจักรพรรดินีดีทรงมีขันทีชาวเกาหลีคนสนิทคือ พัคบุลฮวา (ภาษาเกาหลี: Bak Bulhwa 박불화) ที่คอบรับใช้พระจักรพรรดินีทำงานต่างๆ ในค.ศ. 1353 พระจักรพรรดินีคีวางแผนร่วมกับพัคบุลฮวา และขุนนางมองโกลชื่อว่าฮามา (Hama) ทำการโน้มน้าวให้พระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์แต่งตั้งเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์พระโอรสของพระนางเป็นไท่จื่อหรือเจ้าชายรัชทายาท แต่แผนการนี้ถูกอัครเสนาบดีทอคตอค (Toghtogha) คัดค้าน พระจักรพรรดินีคีจึงทรงกำจัดทอคตอคด้วยการสร้างข้อกล่าวทุจริตฉ้อฉลแก่โทคตา เป็นเหตุให้ทอคตอคถูกปลดจากตำแหน่งและเนรเทศออกไปในค.ศ. 1354 และเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าชายรัชทายาทในปีเดียวกัน ด้วยฐานะพระจักรพรรดินีแห่งหยวน ทำให้ตระกูลคีของพระนางเรืองอำนาจอยู่ในอาณาจักรโครยอบ้านเกิด พระเชษฐาคีชอลกลายเป็นผู้กุมอำนาจการปกครองที่แท้จริงและมีชื่อเสียงในด้านความทุจริตฉ้อฉล เป็นตัวแทนของมองโกลคอยกำกับดูแลให้ราชสำนักโครยอปฏิบัติตามนโยบายของหยวน แม้แต่พระมารดาของจักรพรรดินีคีนั้นก็มีศักดิ์สูงกว่าพระเจ้าคงมินแห่งโครยอ (Gongmin of Goryeo) จนกษัตริย์เกาหลีต้องทรงทำความเคารพมารดาของพระนาง พระเจ้าคงมินทรงตัดสินพระทัยนำทัพเข้ายึดอำนาจจากตระกูลคี สังหารคีชอลรวมทั้งมารดาและสมาชิกครอบครัวคีไปจนหมดสิ้นในค.ศ. 1356 สร้างความพิโรธแค้นให้แก่จักรพรรดินีคีเป็นอย่างมากจึงส่งทัพบุกไปยังอาณาจักรโครยอเพื่อปลดพระเจ้าคงมินจากบัลลังก์แล้วตั้งเจ้าชายทัชเตมูร์ (Tash Temür) เป็นกษัตริย์เกาหลีพระองค์ใหม่ แต่ทัพมองโกลก็ได้ถูกทัพเกาหลีตีแตกพ่ายไป ในค.ศ. 1364 เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์เจริญชันษาขึ้นมาจึงคิดชิงราชบัลลังก์หยวนจากพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์พระบิดา แต่ทว่าแผนการล่วงรู้ไปถึงพอดลัดเตมูร์ (Bolad Temür) ผู้เป็นพระบิดาของพระจักรพรรดินีบายันคูตูค พอดลัดเตมูร์จึงนำกองกำลังเข้ายึดเมืองต้าตูข่านบาลิกเป็นเหตุให้เจ้าชายรัชทายาทต้องเสด็จหนีออกจากเมือง พอดลัดเตมูร์จับองค์จักรพรรดินีคีไว้เป็นตัวประกันและสังหารขันทีพัคบุลฮวา เมื่อทราบว่าเจ้าชายอายูร์ชีรีดาด้วยการสนับสนุนของโคเกเตมูร์ (Köke Temür) หมายจะยกทัพเข้ามายึดเมืองคืน พอดลัดเตมูร์จึงได้บังคับให้พระจักรพรรดินีดีออกพระราชเสาวนีย์เรียกให้พระโอรสมาเข้าเฝ้าตัวเปล่า แต่เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ก็มิได้ทำตาม ยกทัพเข้ายึดเมืองต้าตูคืนได้สำเร็จ พอดลัดเตมูร์ถูกลอบสังหารโดยคนที่พระจักรพรรดิทรงส่งมา พระจักรพรรดินีคีและเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ประสงค์จะให้พระจักรพรรดิโทคนเตมือร์สละราชบัลลังก์ ซึ่งพระจักรพรรดิไม่ทรงยอมแต่มอบตำแหน่งทางทหารให้แก่พระโอรสจนเป็นที่พอพระทัย ในค.ศ. 1365 พระจักรพรรดินีบายันคูตูคสิ้นพระชนม์ พระจักรพรรดินีคีจึงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระจักรพรรดินีเพียงหนึ่งเดียวของราชวงศ์หยวน อีกเพียงสามปีต่อมาค.ศ. 1368เมืองต้าตูข่านบาลิกเสียให้แก่พระจักรพรรดิหงหวู่ (Hongwu Emperor) จูหยวนจาง (ภาษาจีน: 朱元璋 Zhu Yuanzhang) แห่งราชวงศ์หมิง พระจักรพรรดิตอคอนเตมูร์พร้อมทั้งพระจักรพรรดินีคีและพระโอรสเจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ทั้งสามพระองค์เสด็จหนีไปยังเมืองซ่างตู (ภาษาจีน: 上都 Shangdu ปัจจุบันอยู่ในเขตมองโกเลียใน) ต่อมาค.ศ. 1370 เมืองซ่างตูเสียให้แก่ราชวงศ์หมิง ทั้งสามพระองค์จึงเสด็จหนีต่อไปยังเมืองอิงชาง (ภาษาจีน: 應昌 Yingchang) ซึ่งพระจักรพรรดิทอคอนเตมูร์ประชวรสวรรคตที่นั่น ในปีเดียวกันทัพราชวงศ์หมิงตามมาถึงเมืองอิงชาง พระจักรพรรดินีคีพร้อมพระโอรสจึงเสด็จหนีต่อไปยังเมืองคาราโครุม (Karakorum) หลังจากที่เสด็จหนีไปยังมองโกเลียแล้วไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับพระจักรพรรดินีคีอีกเลย นักประวัติศาสตร์คาดการณ์ว่าหลังจากที่เจ้าชายอายูร์ชีรีดาร์ทรงก่อตั้งราชวงศ์หยวนเหนือ ขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิหยวนเจ้าจง (ภาษาจีน: 昭宗 Zhaozong) พระจักรพรรดินีคีน่าจะดำรงตำแหน่งเป็นไทเฮาอยู่ช่วงเวลาหนึ่ง ก่อนจะสิ้นพระชนม์ไปโดยที่ไม่ทราบว่าเป็นปีใ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีคี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเกา (ซ่งอิงจง)

จักรพรรดินีเกา (ค.ศ. 1032–ค.ศ. 1093) หรือ จักรพรรดินีซวนเหริน เป็นพระอัครมเหสีในจักรพรรดิซ่งอิงจงแห่งราชวงศ์ซ่ง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1575 หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ซ่ง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเกา (ซ่งอิงจง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเมิ่ง

จักรพรรดินีเมิ่ง (孟皇后; 1073–1131) หรือ จักรพรรดินีหยันโย่ว (元祐皇后) เป็นจักรพรรดินีจีนช่วงราชวงศ์ซ่ง สมรสกับพระเจ้าเจ๋อจง (哲宗) ได้เป็นผู้สำเร็จราชการแห่งจักรวรรดิจีนสองช่วง คือ ในปี 1127 และตั้งแต่ปี 1129–1131 หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ซ่ง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเมิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเว่ย์ จื่อฟู

เว่ย์ จื่อฟู (สิ้นพระชนม์ 91 ปีก่อน ค.ศ.) เมื่อสิ้นพระชนม์แล้วได้ชื่อว่า เซี่ยวอู๋ซือหวงโฮ่ว (孝武思皇后) และ เว่ย์ซือโฮ่ว (衛思后) เป็นราชนารีจีนสมัยราชวงศ์ฮั่น โดยเป็นมเหสีองค์ที่สองของหลิว เช่อ (劉徹) ผู้ซึ่งต่อมาเป็นจักรพรรดิฮั่นอู่ (汉武帝) และสถาปนานางเป็นจักรพรรดินี นางอยู่ในตำแหน่งนี้ถึง 38 ปี และมีชีวิตสมรสอยู่กับจักรพรรดิฮั่นอู่ยาวนานถึง 49 ปี นับเป็นมเหสีที่ดำรงตำแหน่งจักรพรรดินียาวนานเป็นลำดับที่สองในประวัติศาสตร์ รองจาก หวัง สีเจี่ย (王喜姐) มเหสีของจักรพรรดิว่านลี่ (萬曆) ที่อยู่ในตำแหน่ง 42 ปี อนึ่ง เว่ย์ จื่อฟู ยังเป็นมารดาของหลิว จฺวี้ (劉據) รัชทายาทของจักรพรรดิฮั่นอู่ เป็นพี่สาวของขุนพลเว่ย์ ชิง (衛青) เป็นป้าของขุนพลฮั่ว ชฺวี่ปิ้ง (霍去病) กับฮั่ว กวาง (霍光) และเป็นทวดของหลิว ปิ้งอี่ (劉病已) ผู้ต่อมาเป็นจักรพรรดิฮั่นเซฺวียน (汉宣帝) หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันตก.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเว่ย์ จื่อฟู · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเสี่ยวติง พระพันปีหลวง

ักรพรรดินีเสี่ยวติง พระพันปีหลวง (馬皇后, ไม่ปรากฏ-1614) เดิมเป็นพระมเหสีใน จักรพรรดิหลงชิ่งโดยทรงถวายตัวเป็นราชบาทบริจาริกา ในปี..1567 และทรงได้รับการสถาปนาพระยศเป็น เซิงหวนหวงกุ้ยเฟย และมีพระประสูติกาล องค์ชายจูอี้จุน หลังจาก..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเสี่ยวติง พระพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเสี่ยนซู่

พระสาทิสลักษณ์ของจักรพรรดินีเสี่ยนซู่ จักรพรรดินีเสี่ยนซู่ เป็นพระอัครมเหสีพระองค์ที่สองในจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจงแห่งราชวงศ์ซ่ง หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์ซ่ง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเสี่ยนซู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเหรินหฺวาย

ระสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระจักรพรรดินีเหรินหฺวาย สมเด็จพระจักรพรรดินีเหรินหฺวาย (仁怀皇后; Empress Renhuai) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีในสมเด็จพระจักรพรรดิซ่งชินจง สมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ซ่งในประวัติศาสตร์จีน ทรงเป็น ฮองเฮา ที่น่าเห็นใจที่สุดในราชวงศ์ซ่ง แม้นกระทั่งในประวัติศาสตร์จีน น้อยครั้งที่พระนางทรงได้รับความสุขสมบูรณ์ในฐานะ ฮองเฮา เมื่อจักรวรรดิล่มสลาย พระนางก็ต้องรับเคราะห์ทรงทนทุกข์ยากติดตาม ฮ่องเต้ ในฐานะพระราชสวามี ไปในฐานะเชลยตัวประกัน ทรงติดตามพระราชสวามี เริ่มต้นใช้ชีวิตที่ถูกกดขี่เยี่ยงข้าทาสในจักรวรรดิจิน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเหรินหฺวาย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเหวย์

ักรพรรดินีเหวย์ ชื่อตัวไม่ทราบ เป็นฮองเฮา (皇后) แห่งราชวงศ์ถังของประเทศจีน เป็นมเหสีองค์ที่สองของจักรพรรดิถังจงจง (唐中宗) ซึ่งครองราชย์สองครั้ง เมื่อถังจงจงสิ้นพระชนม์โดยร่ำลือกันว่า เป็นผลมาจากการวางยาขอพระนางเหวย์ และองค์หญิงอันเล่อ (安樂公主) ผู้เป็นธิดา พระนางเหวย์ก็ยึดอำนาจการปกครองแผ่นดินและพยายามขึ้นเป็นกษัตริย์หญิงทำนองเดียวกับพระนางอู่ เจ๋อเทียน (武則天) ผู้เป็นแม่ผัว แต่ไม่สำเร็จ ในไม่ช้า องค์หญิงไท่ผิง (太平公主) น้องสาวของถังจงจง และหลี่ หลงจี (李隆基) หลานชายของถังจงจง รวมกำลังกันมาปราบปราม พระนางเหวย์ถูกทหารตัดศีรษะสิ้นพระชนม.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเหวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเฉา (ซ่งเหรินจง)

ักรพรรดินีเฉา (ค.ศ. 1032–ค.ศ. 1093) หรือ จักรพรรดินีฉือเชิ่ง เป็นพระอัครมเหสีพระองค์ที่สองของซ่งเหรินจงแห่งราชวงศ์ซ่ง และเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเฉา (ซ่งเหรินจง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเฉินเจี่ยว

ักรพรรดินีเฉินอู่ หรือ อดีตจักรพรรดินีเฉิน (Deposed Empress Chen) จักรพรรดินีองค์แรกของ จักรพรรดิฮั่นอู่ ดำรงพระยศเมื่อ 141 ปีก่อนคริสตกาลตรงกั..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเฉินเจี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวกงเหริน

ักรพรรดินีเซี่ยวกงเหริน (ค.ศ. 1660-1723) เป็นพระมเหสีในจักรพรรดิคังซีแห่งราชวงศ์ชิง และพระราชชนนีพันปีหลวงในจักรพรรดิยงเจิ้ง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวกงเหริน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวมู่เฉิง

ระสาทิสลักษณ์พระจักรพรรดินีเสี้ยวมู่เฉิงในฉลองพระองค์ในงานพระราชพิธี จักรพรรดินีเสี้ยวมู่เฉิง (孝穆成皇后; Empress Xiaomucheng) เป็นพระวรชายาเอกในจักรพรรดิเต้ากวงขณะทรงดำรุงพระยศเป็นมงกุฎรัชกุมาร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวมู่เฉิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวอัน

สมเด็จพระจักรพรรดินี้เซี่ยวอัน (孝安皇后) เป็นฮองเฮาใน จักรพรรดิหลงชิ่ง จักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์หมิง หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์หมิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวอัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวอี้เหริน

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวอี้เหริน (孝懿仁皇后Empress Xiaoyiren)ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์ที่สามในจักรพรรดิคังซีทรงมาจากราชสกุล ถงจีห.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวอี้เหริน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวอี๋ฉุน

องค์ชายหยงเหยี๋นพระราชโอรส จักรพรรดินีเสี้ยวอี้ฉุน (孝儀純皇后Empress_Xiaoyichun ') หรือที่รู้จักกันในไทยขณะทรงพระยศเป็นพระมเหสีว่า "พระมเหสีหลิง " จากภาพยนตร์ชื่อดังเรื่อง องค์หญิงกำมะลอ เป็นพระมเหสีในจักรพรรดิเฉียนหลง และเป็นพระราชมารดาในจักรพรรดิเจียชิ่ง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวอี๋ฉุน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวฮุ่ย

ักรพรรดินีเซี่ยวฮุ่ย (Empress Xiaohui) จักรพรรดินีแห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ดำรงพระยศช่วงระหว่างปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวฮุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวฮุ่ยจาง

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวฮุ่ยจาง (孝惠章皇后Empress Xiaohuizhang)ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์ที่สองในสมเด็จพระจักรพรรดิซุ่นจื้อโดยพระนางมาจาก ราชสกุล เบอร์จิกิต.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวฮุ่ยจาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวจิง พระพันปีหลวง

ักรพรรดินีเสี่ยวจิง พระพันปีหลวง (孝靖太后,ค.ศ. 1565 - ค.ศ. 1612) เดิมเป็นพระมเหสีใน จักรพรรดิว่านลี่โดยทรงถวายตัวเป็นราชบาทบริจาริกา ในปี..1578 และทรงได้รับการสถาปนาพระยศเป็น จิงเฟย และมีพระประสูติกาล พระโอรสซึ่งต่อมาคือ จักรพรรดิไท่ชาง หมวดหมู่:พระพันปีหลวงแห่งราชวงศ์หมิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวจิง พระพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวจิงอี้

สมเด็จพระจักรพรรดินี้เสี้ยวจิงยี่ (-zh,ค.ศ. 1492-ค.ศ. 1535) เป็นพระอัครมเหสีใน จักรพรรดิเจิ้งเต๋อ จักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์หมิง หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์หมิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวจิงอี้ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวจิ้งเฉิง

ักรพรรดินีเสี้ยวจิ้งเฉิง(จีน: 孝静成皇后; พินอิน:Xiaojingcheng) (19 มิถุนายน 1812 - 21 สิงหาคม 1855) เดิมเป็นพระสนมในจักรพรรดิเต้ากวงแห่งราชวงศ์ชิง แม้ว่าพระนางจะไม่เคยเป็นจักรพรรดินีตอนที่พระนางยังมีพระชนม์ชีพอยู่ พระนางก็ได้รับพระราชทานพระราชอิสริยยศนั้นในปี 1855 โดยจักรพรรดิถงจื้อ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวจิ้งเฉิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวจิ้งเซี่ยน

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวจิงเซี่ยน (孝敬宪皇后Empress Xiaojingxian; ค.ศ. 1722- ค.ศ1731-) เป็นพระอัครมเหสีในจักรพรรดิยงเจิ้ง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวจิ้งเซี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวจฺวัง พระพันปีหลวง

ระพันปีเซี่ยวจฺวัง (จีน: 孝莊文皇后; พินอิน: Xiaozhuang Tàihòu; ประสูติ: 26 มีนาคม 1613; ทิวงคต: 27 มกราคม 1688) เป็นราชนิกุลชาวแมนจูในประวัติศาสตร์จีนสมัยต้นราชวงศ์ชิง ซึ่งมีบทบาทในฐานะพระราชมารดาในจักรพรรดิซุ่นจื้อ และพระราชอัยยิกาในจักรพรรดิคังซี พระพันปีเซี่ยวจฺวังมีชื่อเดิมว่า ปูมู่ปูไท่ เป็นลูกสาวของ ไจ้ซาง หัวหน้ามองโกลเผ่าเคอร์ฉิน ราชตระกูลสายบิดาของพระพันปีเซี่ยวจฺวังนั้น เป็นตระกูลป๋อจื่อจิน ที่สืบเชื้อสายมาแต่เจงกีสข่าน (หัวหน้ามองโกลในสมัยนั้น มาจากตระกูลนี้หรือไม่ก็อ้างว่าสืบสายมาแต่เจงกีสข่านกันทั้งสิ้น) อย่างไรก็ตามเผ่าเคอร์ฉินนั้นมีอิทธิพลจำกัดอยู่ทางตะวันออกของทุ่งหญ้าเท่านั้น ไม่ได้ถือว่าทรงอำนาจอะไรมากมาย ในยุคที่นูร์ฮาร์ชี๋กำลังเรืองอำนาจในเจี้ยงโจวนั้น ปู่ของพระพันปีเซี่ยวจฺวังที่ชื่อว่า หนูว์เอี้ยน เป็นหัวหน้าเผ่าเคอร์ฉินอยู่ เขาก็เห็นว่าควรจะผูกมิตรกับสกุลอ้ายซินเจี๋ยหรอเอาไว้ เพื่ออาศัยอิทธิพลของนูร์ฮาร์ชีด้วย เลยส่งลูกสาวคือ เจอเจอ มาแต่งงานกับหวงไท่จี๋เพื่อผูกสมัครเป็นญาติกันในปี 1614 ต่อมาเมื่อบิดาของพระพันปีเซี่ยวจฺวังขึ้นเป็นหัวหน้าเผ่าแทนปู่ของนาง ก็เลยส่งลูกสาวคือ ปูมู่ปูไท่มาแต่งกับหวงไท่จี๋อีกคนในปี 1625 เพื่อผูกเป็นญาติกันสองชั้น พระพันปีเซี่ยวจฺวังให้กำเนิดพระราชธิดา 3 องค์แก่หวงไท่จี๋ และพระราชโอรส 1 องค์คือฝูหลิน ส่วนฮองเฮาเจอเจอ ที่เป็นอาหญิงของนางนั้นมีแต่พระราชธิดากับหวงไท่จี๋ เมื่อจักรพรรดิหวงไถจี๋สวรรคต เจ้าชายฝูหลินได้ครองราชย์เป็นจักรพรรดิซุ่นจื้อในปี 1643 ทั้งฮองเฮาเจอเจอและสนมปูไท่จึงขึ้นเป็นพระพันปีพร้อม ๆ กัน แต่อำนาจปกครองประเทศจะอยู่ในมือของตวนเอ่อร์กุนเสียมาก ตวนเอ่อร์กุนก็ตรงอำนาจอยู่หลายปีจนเขาตาย และพอดีกับที่จักรพรรดิซุ่นจื้อ ทรงเจริญพระชันษาพอดี พระองค์จึงทรงปกครองประเทศเอง พระพันปีเซี่ยวจฺวังจะเริ่มเข้ามามีบทบาทในช่วงหลัง ๆ ของรัชกาล จักรพรรดิซุ่นจื้อ และก็มีส่วนอย่างมากตอนเปลี่ยนรัชกาลเป็นคังซี ในการสนับสนุนให้องค์ชายเสียนเยี่ย ขึ้นเป็นฮ่องเต้ และร่วมดูแลราชกิจกับ 4 ผู้สำเร็จราชการ พอจักรพรรดิคังซีเริ่มว่าราชการเอง พระนางก็หยุดการข้องเกี่ยวราชกิจไป และใช้ชีวิตบั้นปลายอย่างสงบจนเสด็จทิวงคตในปี 1688.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวจฺวัง พระพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวคังจาง

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวคังจาง (孝康章皇后Empress Xiaokangzhang) เดิมทรงเป็นสมเด็จพระมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิซุ่นจื้อโดยพระนางทรงมาจาก ราชสกุล ทังกิยา และพระนางทรงที่รู้จักในฐานะของพระราชมารดาของสมเด็จพระจักรพรรดิคังซี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวคังจาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวคังจิง

สมเด็จพระจักรพรรดินี้เสี้ยวคังจิง (-zh,ค.ศ. 1471-ค.ศ. 1541) เป็นพระอัครมเหสีใน จักรพรรดิหงจี่ จักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์หมิง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2014 หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์หมิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวคังจิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวตฺวันเหวิน

ักรพรรดินีเสี้ยวตฺวันเหวิน (孝端文皇后Empress Xiaoduanwen) พระจักรพรรดินีในจักรพรรดิหวงไถจี๋และพระนางเป็นพระปิตุจฉาเจ้า(อาหญิง)ของสมเด็จพระจักรพรรดินีเซี่ยวจวงเหวินและเป็นพระมาตุจฉาเจ้า(ยายอา)ในสมเด็จพระจักรพรรดิจักรพรรดิซุ่นจื้อทรงพระนามเดิม เจอเจอ (哲哲Jerjer) ในราชสกุล บอร์จิกิต.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวตฺวันเหวิน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวฉือเกา (ราชวงศ์ชิง)

ซี่ยวฉือเกา (1575–1603) เป็นพระสนมเอกพระองค์แรกในจักรพรรดินู่เอ๋อร์ฮาชื่อผู้เป็นปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์ชิงและเป็นพระราชมารดาของ จักรพรรดิหวงไท่จี๋.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวฉือเกา (ราชวงศ์ชิง) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวซูรุ่ย

ระสาทิสลักษณ์สมเด็จพระจักรพรรดินีเซี่ยวซู่ ใน จักรพรรดิเจียชิ่งในฉลองพระองค์ช่วงพระราชพิธีช่วงเช้า สมเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวซู่รุ่ย (孝淑睿皇后; Empress Xiaoshurui) เป็นพระจักรพรรดินีพระองค์แรกในจักรพรรดิเจียชิ่งและพระราชมารดาในจักรพรรดิเต้ากวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวซูรุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวเชิ่งเซี่ยน

ักรพรรดินีเสี้ยวเชิ่งเซี่ยน (1 มกราคม 1693 - 2 มีนาคม 1777) เป็นพระมเหสีในจักรพรรดิยงเจิ้งและเป็นที่รู้จักดีในฐานะพระราชมารดาในจักรพรรดิเฉียนหลง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวเชิ่งเซี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวเสียนฉุน

ระสาทิสลักษณ์พระอัครมเหสีฟู่ฉาในฉลองพระองค์ช่วงพระราชพิธีช่วงเช้า พระสาทิสลักษณ์พระอัครมเหสีเสี้ยวเสียนชุน จักรพรรดินีเสี้ยวเสียนชุน เป็นพระอัครมเหสีพระองค์แรกในจักรพรรดิเฉียนหลง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวเสียนฉุน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวเหอรุ่ย พระพันปีหลวง

ระสาทิสลักษณ์พระอัครมเหสีหนิวฮูหลู่ขณะทรงพระยศเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีในจักรพรรดิเจียชิ่ง พระสาทิสลักษณ์พระพันปีหลวงกงฉือ พระพันปีหลวง ใน จักรพรรดิเต้ากวงในฉลองพระองค์ช่วงพระราชพิธีช่วงเช้า สมเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวเหอรุ่ย พระพันปีหลวง (孝和睿皇后; Empress Xiaoherui) เป็นพระจักรพรรดินีพระองค์ที่สองในจักรพรรดิเจียชิ่งและสมเด็จพระพันปีหลวงในจักรพรรดิเต้ากวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวเหอรุ่ย พระพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวเจาเหริน

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวเจาเหริน (孝昭仁皇后Empress Xiaozhaoren)ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์ที่สองในจักรพรรดิคังซีทรงมาจากราชสกุล หนิวฮุหลู.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวเจาเหริน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวเจี๋ยซู่

สมเด็จพระจักรพรรดินี้เสี้ยวเจี๋ยสู้ แห่งราชวงศ์หมิง (孝潔肅皇后, พ.ศ. 1522-1528) เป็นฮองเฮาใน จักรพรรดิเจียจิ้ง จักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์หมิง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2051 หมวดหมู่:จักรพรรดินีราชวงศ์หมิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวเจี๋ยซู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวเจ๋ออี้

ักรพรรดินีเสี้ยวเจ๋ออี้ (孝哲毅皇后阿鲁特氏; 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2397 - 27 มีนาคม พ.ศ. 2418) ทรงเป็นที่รู้จักในพระนาม จักรพรรดินีเจียซุ่น (เจียซุ้นหวงโฮ่ว) เป็นพระอัครมเหสีในจักรพรรดิถงจื้อ พระนางทรงมาจากดินแดนมองโกล ทรงเป็นหนึ่งในผู้ที่ถูกพิจารณาคัดเลือกให้เป็นจักรพรรดินีจีนในราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวเจ๋ออี้ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวเต๋อเสี่ยน

ระสาทิสลักษณ์ของพระนางสะโกตา จักรพรรดินีเสี้ยวเต๋อเสี่ยน(孝德显皇后Empress Xiaodexian) (12 เมษายน ค.ศ.1831 - 24 มกราคม ค.ศ.1850) พระวรชายาเอกในจักรพรรดิเสียนเฟิงขณะทรงดำรงพระยศเป็นมกุฎราชกุมาร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวเต๋อเสี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวเฉิงเหริน

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวเฉิงเหริน (孝誠仁皇后Empress Xiaochengren)ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์แรกในจักรพรรดิคังซีทรงมาจากราชสกุล เฮ่อเซ่อหลี่ อภิเษกสมกับจักรพรรดิคังซีตั้งพระชันษายังน้อย และสิ้นพระชนม์เมื่อพระชนมายุ 20 พระชันษา ซึ่งเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินี ในฐานะสมเด็จพระอัครมเหสีที่พระชนม์น้อยที่สุดในราชสมบัติในราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวเฉิงเหริน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวเฉฺวียนเฉิง

ักรพรรดินีเสี้ยวเฉฺวียนเฉิง (孝全成皇后; Empress Xiàoquánchéng) เป็นพระอัครมเหสีพระองค์ที่สองในจักรพรรดิเต้ากวง และพระราชมารดาในจักรพรรดิเสียนเฟิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวเฉฺวียนเฉิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวเซิ่นเฉิง

ระสาทิสลักษณ์พระอัครมเหสีทังกิยาในฉลองพระองค์ช่วงพระราชพิธีช่วงเช้า พระสาทิสลักษณ์พระอัครมเหสีทังกิยาพักผ่อนพระอิริยาบถ พระสาทิสลักษณ์พระมเหสีหลิงในฉลองพระองค์พักผ่อนอิริยาบถ พระสาทิสลักษณ์พระมเหสีหลิงในฉลองพระองค์ช่วงพระราชพิธี จักรพรรดินีเสี้ยวเซิงเฉิง (孝慎成皇后; Empress_Xiaoshencheng) เป็นพระอัครมเหสีพระองค์แรกในรัชกาลจักรพรรดิเต้ากวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวเซิ่นเฉิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยวเซี่ยนตวน

มเด็จจักรพรรดินีเซี่ยวเซี่ยนตวน (孝獻端敬皇后Empress Xiaoxian zhuan)(ค.ศ.1639–1660) เป็นพระมเหสีในจักรพรรดิซุ่นจื้อแห่ง ราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยวเซี่ยนตวน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเซี่ยง

ระสาทิสลักษณ์ของจักรพรรดินีเสียง จักรพรรดินีเซี่ยง (ค.ศ.1047–ค.ศ. 1102) หรือ จักรพรรดินีชินเชิ่ง เป็นพระอัครมเหสีของซ่งเสินจง และเป็นพระพันปีในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดินีเซี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไท่ชาง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิไท่ชาง หรือ กวงจงฮ่องเต้ (ประสูติ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2163 - 26 กันยายน พ.ศ. 2163) จักรพรรดิพระองค์ที่ 14 แห่ง ราชวงศ์หมิง ของ จีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิไท่ชาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเสียนเฟิง

มเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิงขณะทรงแก้ไขพระราชกิจ สมเด็จพระจักรพรรดิเสียนฟงขณะทรงพักผ่อนพระอิริยาบถ จักรพรรดิเสียนเฟิง พงศาวดารไทยเรียก สมเด็จพระเจ้าฮำหอง เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 9 (นับจากจักรพรรดินู่เอ๋อร์ฮาชื่อ) แห่งราชวงศ์ชิง เป็นราชโอรสองศ์ที่ 4 ของจักรพรรดิเต้ากวง มีนามเดิมว่า อ้ายซินเจว๋หลัว อี้จู่ หรือองค์ชาย อี้จู่ ประสูติเมื่อปี พ.ศ. 2374 (ค.ศ. 1831) ขึ้นครองราชย์ได้ทั้ง ๆ ที่มิใช่รัชทายาทองค์เอกที่วางตัวไว้ แต่ว่าพระองค์สามารถเอาชนะใจพระราชบิดาได้ด้วยการออกล่าสัตว์ และพระองค์ไม่สังหารสัตว์ที่มีลูกอ่อน นอกจากนี้ยังมีคนกล่าวกันว่าพระราชวรกายของพระองค์อ่อนแอมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์แล้ว จึงมักประชวรบ่อย ๆ ขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 2393 (ค.ศ. 1850) ทันทีที่จักรพรรดิเต้ากวงสวรรคต ด้วยพระชนมายุ 19 พรรษา ซึ่งในระหว่างที่พระองค์ขึ้นครองราชย์ใหม่ ๆ พระราชประเพณีจีนห้ามจักรพรรดิองค์ใหม่มีมเหสีหรือพระสนม และต้องไว้ทุกข์เป็นเวลานานถึง 27 เดือน แต่ก่อนที่จักรพรรดิเต้ากวงจะสวรรคตมีพระมเหสีองค์แรกแล้ว คือ พระชายาสะโกตา ซึ่งสิ้นพระชนม์ก่อนที่จักรพรรดิเต้ากวงจะสวรรคต เมื่อจักรพรรดิเสียนเฟิงครองราชย์แล้วทรงสถาปนานางสะโกตะเป็น สมเด็จพระจักรพรรดินีเสี่ยวเต๋อเซียน เมื่อผ่านช่วงไว้ทุกข์ไปแล้ว จึงมีการเลือกพระสนม โดยองค์ประธาน คือ พระนางคังฉินไท่เฟย(康慈皇贵太妃) พระมเหสีองค์หนึ่งของสมเด็จพระจักรพรรดิเต้ากวง ที่ทรงดูพระราชวังหลัง ซึ่งพระอัครมเหสีองค์แรกของสมเด็จพระจักรพรรดิเสียงเฟิง คือ พระอัครมเหสีหนิวฮู่ลู่ หรือ ซูอันไทเฮา ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก พระนางคังฉินไท่เฟย ในสมัยพระองค์เกิดสงครามฝิ่นครั้งที่ 2 ซึ่งส่งผลให้เกาะฮ่องกงตกเป็นของจักรวรรดิอังกฤษโดยสมบูรณ์ และมาเก๊าตกเป็นของโปรตุเกส และกบฏไท่ผิง โดย หง ซิ่วฉวน ซึ่งล้วนแต่ส่งผลต่อความมั่นคงของประเทศและราชวงศ์ จักรพรรดิเสียนเฟิง มีพระมเหสีองค์รองอีกหนึ่งพระองค์ ที่ต่อมามีบทบาทอย่างมากในประวัติศาสตร์ภายหลัง คือ พระมเหสีเย่เฮ่อนาลา หรือ ซูสีไทเฮา พระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2440 (ค.ศ. 1861) ด้วยพระชนมายุเพียง 30 พรรษา ด้วยพระโรคที่รุมเร้าจากทรงกลัดกลุ้มในปัญหาของบ้านเมือง และจักรพรรดิองค์ใหม่ คือ องค์ชายไจ้ฉุน หรือพระนามตอนขึ้นครองราชย์ คือ จักรพรรดิถงจื้อ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิเสียนเฟิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจิ้งถ่ง

ู ฉีเจิ้น (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1427 – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1464) เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หมิง เสวยราชย์ 2 ครั้ง ครั้งแรกระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิเจิ้งถ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจิ้งเต๋อ

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิเจิ้งเต๋อ (26 ตุลาคม ค.ศ. 1491 - 20 เมษายน ค.ศ. 1521) ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิเจิ้งเต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจียชิ่ง

มเด็จพระจักรพรรดิเจียชิ่ง (จักรพรรดิชิงเหรินจง) (13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2303 – 2 กันยายน พ.ศ. 2363) เป็นโอรสองค์ที่ 15 ของจักรพรรดิเฉียนหลง เดิมมีพระนามว่า หย่งเยี๋ยน (顒琰) เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2339 (ค.ศ. 1796) เมื่อพระชนมายุได้ 37 พรรษา ภายหลังการสละราชสมบัติของจักรพรรดิเฉียนหลง พระราชบิดา แต่อำนาจในการปกครองแผ่นดินแท้จริงยังอยู่ในจักรพรรดิเฉียนหลง เมื่อจนถึงปีที่ 3 ที่ทรงครองราชย์ พ.ศ. 2342 (ค.ศ. 1799) จักรพรรดิเฉียนหลงได้สวรรคต และพระองค์จึงได้อำนาจในการปกครองอย่างแท้จริง เมื่อทรงได้อำนาจเต็มแล้ว ทรงได้กำจัดเหอเซิน ที่เป็นขุนนางกังฉิน โกงกินชาติ ซึ่งเป็นคนสนิทของจักรพรรดิเฉียนหลง ทรงรวบรวมขุนนางและบรรดาผู้ที่จงรักภักดีเพื่อกำจัดเหอเซิน โดยบุคคลสำคัญผู้หนึ่งที่มีบทบาทในการครั้งนี้คือ อ๋องเฉิน ซึ่งเป็นพระเชษฐา (พี่ชาย) ของพระองค์และเป็นพระโอรสลำดับที่ 11 ของจักรพรรดิเฉียนหลง เมื่อได้ยึดทรัพย์เหอเซินแล้ว พบว่าเงินจำนวนที่เหอเซินยักยอกไว้นั้นมีมูลค่าเท่ากับรายได้ประเทศชาติถึง 10 ปี แต่เมื่อจับกุมเหอเซินได้แล้วกลับลังเลพระทัยที่จะประหารชีวิต เนื่องจากทรงเคยรับคำพระราชบิดา จักรพรรดิเฉียนหลงเอาไว้ว่าจะไว้ชีวิตเหอเซิน เมื่อพระองค์สวรรคต แต่ได้ถูกอ๋องเฉินและบรรดาขุนนางทูลทัดทาน จึงได้ตัดสินพระทัยบังคับให้เหอเซินผูกคอตาย ตลอดรัชสมัย ทรงพบกับการก่อกบฏและเรื่องทางความมั่นคงมากมาย เช่น กบฏพรรคบัวขาว, กบฏโจรสลัดไต้หวัน กบฏพรรคเที่ยงธรรม เป็นต้น ซึ่งกบฏเหล่านี้ส่วนใหญ่ เป็นกบฏชาวฮั่นที่รวบรวมคนไว้เพื่อโค่นล้มราชวงศ์ชิงกอบกู้ราชวงศ์หมิงนั่นเอง มีพระโอรส 3 พระองค์ พระโอรสองค์โตเกิดจากพระอัครมเหสีฮีตียา ซึ่งเป็นพระอัครมเหสีที่ทรงรักยิ่ง แต่พระนางสิ้นพระชนม์ไปก่อนเมื่ออายุยังน้อย และพระโอรสอีก 2 พระองค์ ที่เกิดจากพระมเหสีหนิวฮูลู่ พระอัครมเหสีองค์ใหม่ที่ทรงแต่งตั้งขึ้นมาจากการเป็นพระมเหสี ซึ่งพระองค์ไม่เคยโปรดพระนางเลย แต่ต้องทรงสถาปนาเนื่องจากเหตุผลทางการเมือง ด้วยต้องการให้เหล่าขุนนางและประชาราษฎร์เห็นถึงพระทัยเมตตาของพระองค์ เหตุที่ไม่โปรดพระมเหสีหนิวฮูลู่ นี้ เพราะพระนางเป็นบุตรสาวของขุนนางที่เคยเป็นพรรคพวกเหอเซินมาก่อน จึงไม่ไว้วางพระทัย ในรัชสมัยของจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง ปรากฏกรณีที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติมาตลอด เช่น เกิดกบฏต่างๆ การที่เวียดนามขอแยกออกไปเป็นประเทศเอกราช เป็นต้น ซึ่งพระองค์ทรงใช้ทั้งนโยบายที่ผ่อนปรนและแข็งกร้าวสลับกันไป เช่น การห้ามชาวแมนจูแต่งงานกับชาวฮั่นเด็ดขาด หรือ การห้ามชาวคริสต์เผยแพร่ศาสนาเด็ดขาด รวมทั้งการห้ามราษฎรสูบฝิ่นด้วย เป็นต้น ซึ่งสิ่งทั้งหมดเหล่านี้จะส่งผลต่อความมั่นคงตามมาในภายหลัง ในปลายรัชสมัย มีพระพลานามัยอ่อนแอ ด้วยทรงสูงพระชันษาประกอบกับการกลัดกลุ้มพระทัยอยู่บ่อยครั้งเกี่ยวกับราชภารกิจ สวรรคตในปี พ.ศ. 2363 (ค.ศ. 1820) พระชนมายุ 61 พรรษา รวมระยะเวลาที่ได้ทรงครองราชย์ 24 ปี และผู้ที่ครองราชย์สืบต่อมาคือ องค์ชายเหมี่ยนหนิง ภายหลังขึ้นครองราชย์ทรงพระนามว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเต้ากวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิเจียชิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจียจิ้ง

ักรพรรดิเจียจิ้ง จักรพรรดิหมิงเจียจิ้ง (16 กันยายน ค.ศ. 1507 - 23 มกราคม ค.ศ. 1567) เป็นพระราชภาดา ในจักรพรรดิเจิ้งเต๋อเพราะพระบิดาของพระองค์กับจักรพรรดิหงจื้อที่ทรงเป็นพระราชบิดาของจักรพรรดิเจิ้งเต๋อเป็นพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมพระราชบิดาเดียวกัน เมื่อจักรพรรดิเจิ้งเต๋อสวรรคตลงในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิเจียจิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจี้ยนเหวิน

มเด็จพระจักรพรรดิเจี้ยนเหวิน หรือ เจี้ยนเหวินฮ่องเต้ (เจี้ยนเหวิน) พระนามเดิม จู หยุ่นเหวิน (朱 允炆) คือจักรพรรดิพระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์หมิงของจีน รวมระยะเวลาที่อยู่ในราชสมบัติ 4 ปีกว.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิเจี้ยนเหวิน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเทียนฉี่

ทียนฉี่ (23 ธันวาคม ค.ศ. 1605 – 30 กันยายน ค.ศ. 1627) ประสูติเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิเทียนฉี่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเต้ากวัง

ักรพรรดิเต้ากวัง พงศาวดารไทยเรียก สมเด็จพระเจ้าเตากวาง เป็นองค์ชายรองในจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง เดิมมีพระนามว่า เหมียนหนิง (綿寧) (แปลว่า อาทิตย์อัสดง) แต่ได้เปลี่ยนพระนามใหม่ภายหลังขึ้นครองราชย์ว่า หมิ่นหนิง (旻宁) (แปลว่า ท้องฟ้า หรือ จักรวาล) จักรพรรดิเต้ากวัง ประสูติจากมเหสีที่มีชื่อว่า จักรพรรดินีเซี่ยวซูรุ่ย(孝淑皇后) แต่พระมารดาได้สิ้นพระชนม์ไปตั้งแต่พระองค์ยังเยาว์วัย จักรพรรดิเจี่ยชิงพระราชบิดาจึงได้สถาปนาพระมเหสีองค์ใหม่ขึ้นเป็นจักรพรรดินีเซี่ยวเหอรุ่ย (孝和皇后) ซึ่งเป็นบุตรสาวของอูนาลา ขุนนางพวกเดียวกับเหอเซิน ที่ทรงไม่ไว้วางพระทัย แต่ทรงทำไปด้วยด้วยเหตุผลทางการเมือง นั่นทำให้จักรพรรดิเต้ากวังเมื่อยังทรงพระเยาว์ก็ไม่โปรดในตัวพระนางด้วยเช่นกัน แม้จะมีศักดิ์เป็นพระมารดาเลี้ยงก็ตาม แต่ได้ทรงเปลี่ยนทัศนะที่มีต่อพระนางใหม่ เมื่อครั้งหนึ่งที่ได้เสด็จไปไหว้บรรพกษัตริย์ที่สุสานราชวงศ์ชิงด้วยกัน และได้มีโจรกบฏกลุ่มหนึ่งมาจับตัวพระองค์และพระนางไปพร้อมกับสามัญชนกลุ่มหนึ่ง พวกกบฏบังคับให้พระองค์และพระนางบอกว่าใครเป็นใคร หากเงียบ ก็จะให้จ้วงแทงพระนางด้วยมีด พระนางก็ปิดปากเงียบไม่ยอมบอก นั่นจึงทำให้พระองค์ซาบซึ้งในน้ำพระทัยของพระนางเสี้ยวเหอมากและยอมรับพระนางในที่สุด จักรพรรดิเต้ากวัง ขึ้นครองราชย์ภายหลังการสวรรคตอย่างกะทันหันของจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง ในปี พ.ศ. 2363 (ค.ศ. 1820) ระหว่างเสด็จแปรพระราชฐานหลบร้อนไปยังเมืองเฉิงเต๋อ ซึ่งได้มีพระราชโองการแต่งตั้งไว้ในพินัยกรรม แต่เนื่องจากการที่สวรรคตในที่ห่างไกลเมืองหลวง จึงทำให้ องค์ชายสี่ เหมี่ยนซิน พระโอรสองค์เล็กพระนางเสี้ยวเหอของคัดค้านว่า เป็นพินัยกรรมปลอม และเตรียมการจะก่อกบฏ พระองค์จึงทรงวางแผนโยนไปให้พระนางเสี้ยวเหอตัดสินและได้ขอกำลังทหารส่วนหนึ่งมาคุ้มกัน ซึ่งพระนางเสี้ยวเหอได้ยอมรับว่า พินัยกรรมนั้นเป็นของจริง และได้พระราชทานอภัยโทษประหารองค์ชายเหมี่ยนซินไว้ ในรัชสมัยจักรพรรดิเต้ากวัง ได้ทรงหาทางกำจัดขุนนางกังฉินและบรรดาขุนนางที่ไม่เอาการเอางาน จึงทำให้เหล่าขุนนางลับหลังจะนินทาพระองค์อยู่เสมอ ๆ และทำให้ขุนนางแบ่งแยกกันเป็นฝักเป็นฝ่ายต่างก็สนับสนุนพระโอรสอันเกิดจากพระมารดาที่เป็นชนเผ่าเดียวกับตน แต่พระองค์ก็ได้หาทางบริหารประเทศอย่างเต็มที่ ในรัชสมัยของพระองค์ประเทศเป็นปึกแผ่น ดูเหมือนเข้มแข็ง แต่ภายในอ่อนแออันเกิดจากการฉ้อราฎร์บังหลวงที่เป็นระบบกันมานานแต่สมัยจักรพรรดิเฉียนหลง ในรัชสมัยนี้พระองค์ได้ออกนโยบายให้ทุกคนในวังประหยัด โดยมีพระองค์เป็นแบบอย่าง และเหตุการณ์ที่สำคัญที่สุดคือ สงครามฝิ่นกับอังกฤษในปี พ.ศ. 2382 (ค.ศ. 1839) และ พ.ศ. 2383 (ค.ศ. 1840) ยุคล่าอาณานิคม ซึ่งเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก และนำมาสู่การสูญเสียเกาะฮ่องกงและการล่มสลายของราชวงศ์ชิงในภายหลัง จักรพรรดิเต้ากวังมีอุปนิสัยส่วนพระองค์คือ โปรดปรานปืนเป็นพิเศษ ได้สวรรคตในปี พ.ศ. 2393 (ค.ศ. 1850) และผู้ครองราชย์สืบไปคือ องค์ชายอี้จู่ภายหลังขึ้นครองราชย์ใช้พระนามว่า จักรพรรดิเสียนเฟิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิเต้ากวัง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเฉิงฮว่า

มเด็จพระจักรพรรดิเฉิงฮว่า จักรพรรดิเฉิงฮว่า (Chenghua Emperor, 9 ธันวาคม 1447 – 9 กันยายน 1487) พระราชโอรสในจักรพรรดิเจิ้งถง ประสูติเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิเฉิงฮว่า · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเฉียนหลง

มเด็จพระจักรพรรดิเฉียนหลง (จักรพรรดิชิงเกาจง) (เฉียนหลง) จักรพรรดิองค์ที่ 6 ของราชวงศ์ชิง ประสูติเมื่อ ปี พ.ศ. 2254 (ค.ศ. 1711) เดิมมีพระนามว่าหงลี่ (ภาษาจีน: 弘曆) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิยงเจิ้ง และเป็นพระราชนัดดาองค์โปรดของจักรพรรดิคังซี เพราะมีความเฉลียวฉลาดมาแต่ยังเด็ก จักรพรรดิเฉียนหลงขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 2278 (ค.ศ. 1735) ขณะมีพระชนมายุได้ 25 พรรษา ทรงพระนามว่า ชิงเกาจงฮ่องเต้ และใช้ชื่อศักราชว่า เฉียนหลง จักรพรรดิเฉียนหลงได้สร้างความเจริญมากมายให้กับประเทศจีน โดยเฉพาะการจัดทำสารานุกรม ซื่อคู่เฉวียนซู ขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2316 (ค.ศ. 1773) - พ.ศ. 2325 (ค.ศ. 1782) ถือเป็นมรดกโลกที่สำคัญชิ้นหนึ่ง รัชสมัยของจักรพรรดิเฉียนหลงมีเรื่องราวที่เป็นสีสัน เล่าขาน เป็นตำนานต่าง ๆ มากมาย ทั้งเรื่องที่ลือกันว่าแท้ที่จริงแล้วมิได้เป็นพระโอรสของจักรพรรดิหย่งเจิ้น หรือเรื่องราวที่ชอบแปลงตนเองเป็นสามัญชนท่องเที่ยวไปในสถานที่ต่าง ๆ จนได้ฉายาว่า "จักรพรรดิเจ้าสำราญ" ส่วนเรื่องคำกล่าวที่ว่าสมเด็จพระพันปีหลวงซึ่งเป็นพระราชมารดาของสมเด็จพระจักรพรรดิเฉียนหลงไม่โปรดพระมเหสีหรง ถึงขั้นสั่งประหาร ก็ไม่เป็นความจริงเช่นกัน เพราะสมเด็จพระพันปีหลวงเสด็จสู่สวรรคาลัยไปก่อนพระมเหสีหรงเฟยถึง11ปี ฉะนั้น สมเด็จพระพันปีหลวงจึงมาสั่งประหารไม่ได้แน่นอน จักรพรรดิเฉียนหลงมีคนสนิทที่ทรงใกล้ชิดอยู่คนหนึ่ง ชื่อ เหอเซิน ที่มักคอยเอาอกเอาใจอยู่ตลอด และมักชวนจักรพรรดิเฉียนหลงเสเพลอยู่เสมอ ๆ จักรพรรดิเฉียนหลงโปรดเหอเซินมากถึงขนาดยกพระธิดาองค์หนึ่งให้เป็นคู่หมั้นของลูกชายเหอเซินตั้งแต่ยังเด็ก ทำให้เหอเซินเหิมเกริม กระทำการทุจริตต่าง ๆ นานา ยิ่งโดยเฉพาะในปลายรัชสมัยมีการจับจ่ายใช้เงินทองจำนวนมากเพื่อความสำราญของคนในพระราชวัง กล่าวว่า นี่เป็นส่วนหนึ่งของความอ่อนแอลงเรื่อย ๆ ของราชวงศ์ชิงด้วย หลังจากรัชสมัยของจักรพรรดิเฉียนหลงแล้ว จักรพรรดิเฉียนหลงมีพระโอรสที่ปรีชาสามารถมากคือเจ้าชายหย่งฉี พระโอรสองค์ที่ 5 ซึ่งประสูติแต่พระชายาหยู (愉貴妃) เจ้าชายหย่งฉีเป็นผู้ที่ปรีชาสามารถทั้งบุ๋นและบู๊ เป็นความหวังว่าจะได้ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระองค์ แต่กลับสิ้นพระชนม์เสียก่อนตั้งแต่ยังหนุ่ม ในปี พ.ศ. 2338 (ค.ศ. 1795) ปีที่ 60 ที่ทรงครองราชย์จักรพรรดิเฉียนหลงได้สละราชสมบัติให้พระโอรสที่ชื่อ หย่งเยี๋ยน พระโอรสองค์ที่ 15 ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง ด้วยไม่ทรงปรารถนาจะครองราชย์ยาวนานเกินกว่าจักรพรรดิคังซีผู้เป็นพระอัยกา (ปู่) อย่างไรก็ตามแม้จะสละราชบัลลังก์แล้วแต่อำนาจที่แท้จริงยังคงอยู่กับพระองค์ โดยทรงขึ้นดำรงตำแหน่งเป็น พระบิดาหลวง หรือ จักพรรดิสูงสุด (ไท่ซั่งหวง, 太上皇帝) ในปี พ.ศ. 2342 (ค.ศ. 1799) จักรพรรดิเฉียนหลงเสด็จสวรรคต จักรพรรดิเจี่ยชิ่งจึงได้ครองราชย์อย่างแท้จริง และพระองค์ก็เริ่มกำจัดเหอเซินทันที และบังคับให้เขาฆ่าตัวตาย หลังสิ้นสุดยุคของจักรพรรดิเฉียนหลงแล้ว จักรพรรดิองค์ต่อ ๆ มาของราชวงศ์ชิงต่างไม่มีองค์ไหนมีความสามารถโดดเด่น ทำให้ราชวงศ์ชิงอ่อนแอลงเรื่อยๆ และประเทศจีนเริ่มถูกต่างชาติเข้าแทรกแซงยึดครอง ตลอดยุคสมัยที่ยาวนานกว่า 60 ปี ของจักรพรรดิเฉียนหลงเต็มไปด้วยเรื่องราวที่มีสีสันจนเลื่องลือมาถึงปัจจุบัน มีวรรณกรรมมากมายที่บอกเล่าถึงยุคสมัยของพระองค์ รวมทั้งภาพยนตร์ และละครโทรทัศน์ ที่จัดสร้างหลายครั้งหลายหนกล่าวถึงเนื้อหาต่างๆ เช่น เรื่องที่เล่าลือกันว่า พระองค์แท้ที่จริงมิใช่พระโอรสของจักรพรรดิหย่งเจิ้น แต่เป็นบุตรชายของอำมาตย์คนหนึ่ง เมื่อพระมเหสีของจักรพรรดิหย่งเจิ้นให้ประสูติกาลบุตรออกมาเป็นบุตรสาว จึงสลับลูกกันกับอำมาตย์ผู้นี้ ดังที่ปรากฏในเรื่อง จอมใจจอมยุทธ์และ เรื่องราวในรัชสมัยพระองค์ยังถูกนำมาแสดงเป็นภาพยนตร์เรื่อง องค์หญิงกำมะลอ ซึ่งเป็นเรื่องขององค์หญิงหวนจู ซึ่งดัดแปลงมาจากพระธิดาบุญธรรมขององค์จักรพรรดิมาเป็นองค์หญิงหวนจู.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิเฉียนหลง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเซฺวียนเต๋อ

วาดจักรพรรดิซวนเต๋อ Ming Dynasty Xuande Archaic Porcelain Vase and Six -Character Mark สมเด็จพระจักรพรรดิหมิงซวนจง หรือ จูเจียนจี หรือ องค์ชายจู (ค.ศ. 1426-1435) ครองราชย์ทรงพระนามว่าหมิงซวนจง (宣 宗) รัชศกซวนเต๋อ (宣 徳) ทรงเป็นจักรพรรดิที่พระทัยอ่อน ในตอนต้นรัชกาลมีพระญาติก่อกบฏเมื่อปราบปรามได้สำเร็จพระองค์ก็มิได้ลงโทษ ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรพรรดิเซฺวียนเต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิจีน

ักรวรรดิจีนก่อตั้งโดยราชวงศ์ฉินนำโดยฉินซื่อหวงตี้ซึ่งได้รวบรวมรัฐของจีนที่แตกออกเป็น 7 รัฐให้เป็นหนึ่งเดียวได้ ฉินซื่อหวงตี้บริหารประเทศโดยใช้ระบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางซึ่งจักรวรรดิจีนมีอายุยืนยาวมากประมาณ 2113ปี โดยเริ่มตั้งแต่ ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ ราชวงศ์ชิง     เขตแดน'''ราชวงศ์ฉิน''' เขตแดนของ'''ราชวงศ์ฮั่น''' เขตแดนของ'''ราชวงศ์ถัง''' เขตแดน'''ราชวงศ์ซ่ง''' เขตแดน'''ราชวงศ์หยวน''' เขตแดนราชวงศ์หมิง เขตแดนราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจักรวรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

จาง ยฺหวินฟ่าง

ง ยฺหวินฟ่าง จาง ยฺหวินฟ่าง เป็นภรรยาของยวี่เหยียน อดีตประมุขราชสกุลอ้ายซินเจว๋หลัว ทั้งสองสมรสกันในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจาง ยฺหวินฟ่าง · ดูเพิ่มเติม »

จ๊กก๊ก

กก๊ก หรือ สู่ฮั่น (พินอิน: Shǔ Hàn) เป็นหนึ่งในอาณาจักรสามก๊ก สถาปนาโดยพระเจ้าเล่าปี่ เชื้อพระวงศ์แห่งราชวงศ์ฮั่น ปกครองในระหว่างปี พ.ศ. 764 - พ.ศ. 806 (ปี ค.ศ. 221-263) จ๊กก๊กครอบครองพื้นที่ทางภาคตะวันตกของประเทศจีน บริเวณมณฑลเสฉวน มีแม่น้ำทั้งหกสายไหลผ่าน จ๊กก๊กปกครองอาณาจักรโดยจักรพรรดิสืบต่อกันมาทั้งหมด 2 พระองค์ ได้แก่ราชวงศ์ฮั่น, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและจ๊กก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ถู ยั่นหลิง

ู ยั่นหลิง ถู ยั่นหลิง เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและถู ยั่นหลิง · ดูเพิ่มเติม »

ง่อก๊ก

ง่อก๊ก หรือ ตั้งอู๋ (東吳) เป็นหนึ่งในอาณาจักรสามก๊ก ปกครองโดยพระเจ้าซุนกวน ในระหว่างปี พ.ศ. 765 - พ.ศ. 823 (ปี ค.ศ. 222-280) ง่อก๊กครอบครองพื้นที่ทางด้านตะวันออกของประเทศจีน ทางบริเวณตอนใต้ของแม่น้ำแยงซี ซึ่งคือพื้นที่บริเวณรอบ ๆ เมืองหนานจิงในปัจจุบัน ง่อก๊กปกครองอาณาจักรโดยจักรพรรดิสืบต่อกันมาทั้งหมด 4 พระองค์ ได้แก่ราชวงศ์ซุน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและง่อก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

ตังไทฮอ

ตังไทฮอ (Empress Dowager Dong) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก มารดาบุญธรรมของพระเจ้าฮั่นเลนเต้ ต่อมาพระนางได้เลี้ยงดูองค์ชายหองจูเหียบผู้เป็นพระนัดดาที่ประสูติมาจากพระนางอองบีหยินหลังพระนางสิ้นพระชนม์ หลังจากพระเจ้าเลนเต้สวรรคต พระนางต้องการให้องค์ชายหองจูเหียบขึ้นครองราชย์เป็นฮ่องเต้ จึงได้สั่งให้เกียนสิด หนึ่งในสิบขันทีไปสังหารโฮจิ๋นผู้เป็นพี่ชายของพระนางโฮเฮาและเป็นแม่ทัพใหญ่เพื่อกุมอำนาจแต่ล้มเหลว โฮจิ๋นและพระนางโฮเฮากลับชิงสถาปนาองค์ชายหองจูเปียนเป็นฮ่องเต้ไป ทำให้ตังไทฮอไม่พอพระทัย แต่ด้วยคำแนะนำจากสิบขันที จึงได้สถาปนาองค์ชายหองจูเหียบเป็นตันหลิวอ๋องและพระนางก็ออกว่าราชการแทนและให้ตำแหน่งแม่ทัพตังตงผู้เป็นพระอนุชาและคืนตำแหน่งบริหารให้กับสิบขันทีอีกด้วย โฮจิ๋นและพระนางโฮเฮาเห็นว่า ตังไทฮอคิดจะมาแย่งชิงอำนาจจากพวกตน พระนางโฮเฮาได้ตักเตือนแต่ตังไทฮอกลับไม่ฟังแถมยังมีกล่าวตำหนิเสียดสีใส่ ทำให้พระนางโฮเฮาและแม่ทัพโฮจิ๋นร่วมมือกันปลงพระชมน์ด้วยการแต่งตั้งพระบรมราชโองการว่า ตังไทเฮาแต่เป็นชายาอ๋อง เมื่อพระเจ้าเลนเต้ผู้เป็นโอรสบุญธรรมสิ้นแล้ว จึงไม่สิทธิ์อยู่ในพระราชวังและต้องกลับไปอยู่ภูมิลำเนาเดิม หลังจากนั้นเมื่อกลับไปยังบ้านเกิดของพระนาง แม่ทัพโฮจิ๋นได้ส่งคนนำน้ำจัณฑ์ยาพิษไปให้เสวยเป็นเหตุให้ตังไทฮอสวรรคต พระศพก็ได้มาลำเลียงฝังที่พระนครลกเอี้ยงอย่างสมพระเกียรต.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและตังไทฮอ · ดูเพิ่มเติม »

ฉาปี้

ฉาปี้ (1227–1281) เป็นฮองเฮาของกุบไล ข่าน ปฐมจักรพรรดิราชวงศ์หยวน พระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและฉาปี้ · ดูเพิ่มเติม »

ซูสีไทเฮา

ฉือสี่ไท่โฮ่ว ตามภาษาจีนมาตรฐาน หรือ ซูสีไทเฮา ตามภาษาจีนฮกเกี้ยน (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908) เป็นสตรีชาวแมนจูจากตระกูลเย่เฮ่อน่าลา (葉赫那拉氏) ดำรงตำแหน่งไท่โฮ่ว (พระราชชนนีพันปีหลวง) และสำเร็จราชการแทนจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ในช่วงปลายราชวงศ์ชิง พระนางจึงควบคุมการปกครองจักรวรรดิจีนโดยพฤตินัยเป็นเวลา 47 ปีตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและซูสีไทเฮา · ดูเพิ่มเติม »

ซูอันไทเฮา

ักรพรรดินีเซี่ยวเจินเสี่ยน หรือ จักรพรรดินีฉืออัน พระพันปีหลวง หรือที่รู้จักกันในไทยว่า "พระพันปีหลวงฉืออัน" หรือ "ฉืออันไท่โฮ่ว" หรือตามสำเนียงฮกเกี้ยนว่า "ซูอันไทเฮา" (ประสูติ: 12 สิงหาคม 1837; ทิวงคต: 8 เมษายน 1881) เป็นราชนิกุลชาวแมนจูในประวัติศาสตร์จีนสมัยราชวงศ์ชิง ซึ่งมีบทบาทคู่กับ "พระนางซูสีไทเฮา" และเชื่อกันว่าทรงถูกพระพันปีหลวงฉือสี่ทรงปลงพระชนม์เพราะความขัดแย้งระหว่างทั้งสองพระองค์ด้ว.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและซูอันไทเฮา · ดูเพิ่มเติม »

โฮเฮา

มเด็จพระจักรพรรดินีเหอ (Empress He (Ling)) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ฮองเฮาในพระเจ้าฮั่นเลนเต้ มีพระเชษฐาร่วมพระบิดามารดาเดียวกันคือโฮจิ๋น ดำรงตำแหน่งขุนนางผู้ใหญ่ซึ่งเป็นที่ปรึกษา มีพระราชบุตรชื่อหองจูเปียน ภายหลังจากพระเจ้าฮั่นเลนเต้เสด็จสวรรคต โฮจิ๋นได้แต่งตั้งหองจูเปียนขึ้นเป็นพระเจ้าฮั่นเซ่าตี้ โฮเฮาซึ่งเป็นพระมารดาจึงมีฐานะตามตำแหน่งเป็นไทเฮาแห่งราชวงศ์ฮั่น ต่อมาตั๋งโต๊ะสถาปนาหองจูเหียบขึ้นเป็นพระเจ้าเหี้ยนเต้ และควบคุมตัวหองจูเปียน โฮเฮาและพระสนมไปคุมขังและลอบสังหารด้วยการนำไปมัดจนถึงแก่ความตายในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและโฮเฮา · ดูเพิ่มเติม »

โจเฮา

ระนางโจเฮา (Empress Cao Jie獻穆皇后)หรือสมเด็จพระจักรพรรดินีโจเซียน เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก เป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าฮั่นเหี้ยนเต้ และพระธิดาในโจโฉ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและโจเฮา · ดูเพิ่มเติม »

เหิง เจิ้น

องค์ชายเหิง เจิ้น ในพิธีเคารพบรรพบุรุษ เหิง เจิ้น เกิด ณ กรุงปักกิ่ง เมื่อปี ค.ศ. 1944 เป็นพระประมุขราชสกุลอ้ายซินเจว๋หลัว ต่อจากยวี่เหยียน โดยสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิเต้ากวง รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์ชิง และเป็นญาติกับจักรพรรดิผู่อี๋ จักรพรรดิต้าชิงพระองค์สุดท้าย ปัจจุบันนี้ถึงแม้เขาจะไม่ค่อยออกสื่อมากนัก เพราะมีกฏเหล็กข้อห้ามให้อดีตพระราชวงศ์ทุกคนห้ามแสดงปฏิกิริยาออกหน้าออกตาหรือออกสื่อ เพราะจะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐบาล แต่ถึงแม้อย่างไรก็ตามพระองค์และราชวงศ์ก็ได้รับความนิยมต่อประชาชนไม่น้อย ปัจจุบันนี้มีมูลนิธิในพระอุปถัมภ์ของราชวงศ์ชิงอยู่มากมายที่ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนและยังได้รับการอุปถัมภ์จากรัฐบาลจีนด้วย ทั้งนี้ทั้งนั้นราชวงศ์ชิงยังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ถึงขนาดมีการตั้งองค์กรขึ้นมาเพื่อช่วยเหลือสมาชิกราชวงศ์ที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามถึงแม้เขาและญาติจะไม่มีอำนาจเหมือนดังแต่ก่อน แต่ก็ยังได้รับพระเกียรติและความเคารพจากรัฐบาลให้พระองค์และพระญาติอาศัยในพระราชวังกู้กงได้ในพื้นที่ที่รัฐบาลจัดให้เท่านั้น และทุก ๆ วันชาติจีนรัฐบาลและประชาชนองค์กรต่าง ๆ จะมีการจัดพิธีเคารพบรรพบุรุษที่เสียสละเพื่อชาติบ้านเมือง เขาและญาติก็จะเสด็จมาร่วมในการนี้ด้วยทุกๆปี ปัจจุบันหากเขาและญาติจะออกงานต่าง ๆ ที่ได้ทรงรับเชิญนั้น จะต้องได้รับการอนุญาตจากรัฐบาลจีนเท่านั้นถึงจะไปได้ ยกเว้นในศาสนพิธีตามโบราณราชประเพณีเท่านั้นซึ่งจะมีการจัดขึ้นทุก ๆ ปี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและเหิง เจิ้น · ดูเพิ่มเติม »

เตมูร์ ข่าน

thumb เตมูร์ ข่าน หรือ สมเด็จจักรพรรดิหยวนเฉินจง (15 ตุลาคม ค.ศ. 1265 - 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1307) พระบรมราชสมภพเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและเตมูร์ ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

เติ้ง ซุย

ติ้ง ซุย (鄧綏; ค.ศ. 81–121) ฐานันดรศักดิ์ จักรพรรดินีเหอซี (和熹皇后) เป็นจักรพรรดินีสมัยราชวงศ์ฮั่น เป็นมเหสีองค์ที่สองของจักรพรรดิฮั่นเหอ (漢和帝) และต่อมาเป็นพระพันปีสำเร็จราชการแทนโอรสของตน คือ จักรพรรดิฮั่นชาง (漢殤帝) รวมถึงหลานของตน คือ จักรพรรดิฮั่นอัน (漢安帝) ในช่วง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและเติ้ง ซุย · ดูเพิ่มเติม »

เซี่ยตะวันตก

ซี่ยตะวันตก (Western Xia) เป็นชื่ออาณาจักรแห่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ตั้งแต่ปี 1038 ถึงปี 1227 ณ บริเวณที่ปัจจุบันเป็นเขตกานซู ชิงไห่ ซินเจียง มองโกเลียนอก มองโกเลียใน ส่านซี และหนิงเซี่ย ของสาธารณรัฐประชาชนจีน กินพื้นที่ราวแปดแสนตารางกิโลเมตร อาณาจักรเซี่ยตะวันตกถูกพวกมองโกลจากอาณาจักรมองโกลทำลายโดยสิ้นเชิง เป็นเหตุให้บันทึกและสถาปัตยกรรมล้วนดับสูญ ฉะนั้น ประวัติศาสตร์ของอาณาจักรนี้จึงเป็นที่โต้เถียงเรื่อยมา จนกระทั่งมีการสำรวจขนานใหญ่จากฝรั่งและคนจ?ีนเอง จึงพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกประสบความส??سเร็จอย่างใหญ่หลวงในด้านน?าฏกรรม วรรณกรรม ศิลปกรรม และสถาปัตยกรรม ชนิดที่นักประวัติศาสตร์ถือกันว่า เป็นผลงานที่ "รุ่งโรจน์เรืองรอง" (shining and sparkling) อนึ่ง ยังพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกสามารถจัดระเบียบกองทัพอย่างเป็นระบบ กองทัพเซี่ยมีทั้งพลธนู พลปืน (ติดตั้งปืนใหญ่ไว้บนหลังอูฐ) พลม้า พลรถ พลโล่ และทแกล้??اทหารที่เก่งทั้งน้ำและบก อาณาจักรเซี่ยตะวันตกจึงรุกรานอาณาจัก?รรอบข้าง เช่น จิน ซ่ง และเหลียว ?ได้อย่างมีประสิท.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและเซี่ยตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤศจิกายน

วันที่ 13 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 317 ของปี (วันที่ 318 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 48 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและ13 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

16 มิถุนายน

วันที่ 16 มิถุนายน เป็นวันที่ 167 ของปี (วันที่ 168 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 198 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและ16 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

17 ตุลาคม

วันที่ 17 ตุลาคม เป็นวันที่ 290 ของปี (วันที่ 291 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 75 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและ17 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

20 มิถุนายน

วันที่ 20 มิถุนายน เป็นวันที่ 171 ของปี (วันที่ 172 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 194 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและ20 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

28 กุมภาพันธ์

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 59 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและ28 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

3 เมษายน

วันที่ 3 เมษายน เป็นวันที่ 93 ของปี (วันที่ 94 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 272 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและ3 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 มิถุนายน

วันที่ 9 มิถุนายน เป็นวันที่ 160 ของปี (วันที่ 161 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 205 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดินีจีนและ9 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายพระนามสมเด็จพระจักรพรรดินีและพระพันปีหลวงแห่งจีน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »