สารบัญ
15 ความสัมพันธ์: กลุ่มภาษาจีนกัว เวย์ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักรรัฐประหารราชวงศ์ฮั่นยุคหลังราชวงศ์ซ่งลัทธิขงจื๊อลัทธิเต๋าศาสนาพุทธจักรพรรดิจักรพรรดิซ่งไท่จู่จักรพรรดิไท่จู่ไคเฟิงไฉ หรงไฉ จงซฺวิ่น
- ยุคห้าวงศ์สิบรัฐ
- รัฐสิ้นสภาพในประวัติศาสตร์จีน
- ราชวงศ์จีน
กลุ่มภาษาจีน
ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.
ดู ราชวงศ์โจวยุคหลังและกลุ่มภาษาจีน
กัว เวย์
กัว เวย์ (郭威; 10 กันยายน 944 – 22 กุมภาพันธ์ 954) หรือเป็นที่รู้จักตามชื่อวัดประจำรัชกาลว่า ปฐมกษัตริย์ (太祖) เป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์โจวยุคหลังในประเทศจีนสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร อยู่ในสมบัติตั้งแต่ปี 951 จนสิ้นชีวิต กัว เวย์ มีฉายว่า นกน้อยกัว (郭雀兒) เพราะสักรูปนกน้อยไว้ที่ท้ายทอย เขาเป็นแม่ทัพในราชวงศ์ฮั่นยุคหลังซึ่งมีหลิว เฉิงโย่ว (劉承祐) ปกครอง หลิว เฉิงโย่ว ฆ่าคนจำนวนมากตามอำเภอใจ ในปี 951 เขาฆ่าครอบครัวกัว เวย์ ทั้งโคตร กัว เวย์ จึงยึดอำนาจ และฆ่าหลิว เฉิงโย่ว ในปีนั้น แล้วตั้งราชวงศ์โจวยุคหลังขึ้นแทน.
ดู ราชวงศ์โจวยุคหลังและกัว เวย์
ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร
ตอนปลายราชวงศ์ถังมีการก่อกบฏประชาชนตามชายแดน ขันทีครองอำนาจบริหารบ้านเมืองอย่างเหิมเกริม มีการแย่งชิงอำนาจกัน แม่ทัพจูเวิน (จูเฉวียนจง) สังหารขันทีทรงอำนาจในราชสำนัก แล้วสถาปนาตนเป็นจักรพรรดิ ทำให้ราชวงศ์ถังสิ้นสุด บรรดาหัวเมืองต่างๆมีการแบ่งอำนาจกันเป็นห้าราชวงศ์ สิบอาณาจักร คือ ราชวงศ์เหลียง ถัง จิ้น ฮั่น และโจว โดยปกครองแถบลุ่มน้ำฮวงโหติดต่อกันมาตามลำดับ ส่วนเขตลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียงกับดินแดนทางใต้ลงไปเกิดเป็นรัฐอิสระอีก 10 รัฐ รวมเรียกว่า สิบอาณาจักร การแบ่งแยกอำนาจปกครองยุคนี้ขาดเสถียรภาพ ชีวิตของประชาชนเต็มไปด้วยความลำบากยากแค้น ต่อม..
ดู ราชวงศ์โจวยุคหลังและยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร
รัฐประหาร
รัฐประหาร (coup d'état กูเดตา) เป็นการใช้กำลังยึดอำนาจและเปลี่ยนแปลงรัฐบาลอย่างฉับพลันและไม่ชอบด้วยกฎหมาย ปกติเกิดจากสถาบันของรัฐที่มีอยู่เดิมขนาดเล็กเพื่อโค่นรัฐบาลซึ่งเป็นที่ยอมรับแล้วเปลี่ยนเป็นองค์การปกครองใหม่ ไม่ว่าเป็นพลเรือนหรือทหาร รัฐประหารพิจารณาว่าสำเร็จแล้วเมื่อผู้ยึดอำนาจสถาปนาภาวะครอบงำ รัฐประหารไม่จำเป็นต้องเกิดความรุนแรงหรือเสียเลือดเนื้อ ศาลฎีกาตีความว่า รัฐประหารมิได้ขัดต่อกฎหมาย เพราะ "กฎหมายคือคำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์".
ดู ราชวงศ์โจวยุคหลังและรัฐประหาร
ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง
ราชวงศ์โฮ่วฮั่น (ค.ศ. 947 - 950) เป็นราชวงศ์ที่ 4 ในยุคห้าราชวงศ์และสิบอาณาจักร ปกครองจีนอยู่เพียง 3 ปี และมีจักรพรรดิปกครองเพียง 2 พระองค์คือ จักรพรรดิเกาจู่แห่งโฮ่วฮั่น และจักรพรรดิฮั่นหยินตี้ ก่อนเสียเอกราชให้กับจักรพรรดิโจวไท่จู่ แห่งราชวงศ์โฮ่วโจว หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร หมวดหมู่:ราชวงศ์จีน.
ดู ราชวงศ์โจวยุคหลังและราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง
ราชวงศ์ซ่ง
ราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ.
ดู ราชวงศ์โจวยุคหลังและราชวงศ์ซ่ง
ลัทธิขงจื๊อ
หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.
ดู ราชวงศ์โจวยุคหลังและลัทธิขงจื๊อ
ลัทธิเต๋า
ัญลักษณ์ หยิน-หยาง ลัทธิเต๋า หรือ ศาสนาเต๋า (道教 Dàojiao; Taoism) เป็นปรัชญาและศาสนาที่มีต้นกำเนิดในประเทศจีน เน้นการใช้ชีวิตกลมกลืนกับเต๋า ซึ่งเป็นแนวคิดหลักในสำนักปรัชญาจีนส่วนใหญ่ แต่ในศาสนาเต๋า เต๋าหมายถึงต้นกำเนิด แบบแผน และสารัตถะของสรรพสิ่ง ไม่เน้นเรื่องพิธีกรรมซับซ้อนและระเบียบสังคมอย่างลัทธิขงจื๊อ แม้แต่ละนิกายมีคำสอนด้านจริยธรรมแตกต่างกัน แต่โดยทั่วไปเน้นหลักการเดียวกันคือ "อู๋เหวย์" ความเป็นธรรมชาติ ความเรียบง่าย ศาสนาเต๋ากำเนิดขึ้นราวศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช โดยรับแนวคิดทางจักรวาลวิทยาจากสำนักยินหยาง และแนวปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับวัฏจักรของธรรมชาติตามคัมภีร์อี้จิง ต่อมาใช้เต้าเต๋อจิงของเล่าจื๊อและคัมภีร์จวงจื๊อเป็นคัมภีร์หลักประจำศาสนา ถึงสมัยราชวงศ์ฮั่น ลัทธิเต๋าในจ๊กก๊กเริ่มมีองค์กรและพิธีกรรมเป็นระบบ จนถึงปัจจุบันศาสนาเต๋าแบ่งเป็น 2 นิกายหลักคือ สำนักฉวนเจินและสำนักเจิ้งอี หลังสมัยของเล่าจื๊อและจวงจื๊อ มีการจัดสารบบวรรณกรรมศาสนาเต๋าต่าง ๆ และรวมทุกศาสตร์ทุกแขนงที่เกี่ยวกับเต๋าทั้งหมดเข้าไว้ด้วยกัน เช่น พงศาวดาร ประวัติการสร้างศาสนา ตำรายาสมุนไพร ประวัติเทพเซียน องค์การ เพลงสรรเสริญ คู่มือการทำพิธีกรรมทางศาสนา ตำราการทำฮู้(ยันต์) ตำราการทำนายดวงชะตา(อี้จิง) หลักธรรมคำสอนของเล่าจื๊อ,จวงจื๊อ,เลี่ยจื๊อ,และปรมาจารย์ในประวัติศาสตร์ทุกท่านที่ศึกษาเต๋า(ซึ่งบางท่านอาจเกิดก่อนเล่าจื๊อ) บทสวดศาสนา และอื่นๆอีกมากมายเข้าไว้ด้วยกัน จนได้เป็นคัมภีร์เต้าจ้างและพิมพ์เผยแพร่ตามรับสั่งของจักรพรรดิจีน และเป็นศาสนาประจำชาติจีนมาตลอดจนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 17 จึงไม่ได้อยู่ในอุปถัมภ์ของราชสำนัก ปัจจุบัน ศาสนาเต๋าเป็นหนึ่งในห้าศาสนาที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในประเทศจีนและประเทศไต้หวัน แม้ศาสนานี้จะไม่แพร่หลายนอกประเทศจีนนัก แต่ก็พบว่ามีศาสนิกชนจำนวนหนึ่งในฮ่องกง มาเก๊า และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.
ดู ราชวงศ์โจวยุคหลังและลัทธิเต๋า
ศาสนาพุทธ
ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.
ดู ราชวงศ์โจวยุคหลังและศาสนาพุทธ
จักรพรรดิ
ักรพรรดิ หรือ พระราชาธิราช หมายถึง ประมุขของจักรวรรดิ หากเป็นสตรีเรียกว่า จักรพรรดินี (Empress) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดิ” มีฐานันดรสูงกว่า “พระราชา”.
ดู ราชวงศ์โจวยุคหลังและจักรพรรดิ
จักรพรรดิซ่งไท่จู่
มเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จู่ จ้าว ควงอิ้น ตามสำเนียงกลาง หรือ เตียคังเอี๋ยน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระบรมราชสมภพ 21 มีนาคม ค.ศ.
ดู ราชวงศ์โจวยุคหลังและจักรพรรดิซ่งไท่จู่
จักรพรรดิไท่จู่
ักรพรรดิไท่จู่ มีความหมายว่า "great ancestor" หมายถึง จักรพรรดิที่เป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์จีน สามารถหมายถึง.
ดู ราชวงศ์โจวยุคหลังและจักรพรรดิไท่จู่
ไคเฟิง
ไคเฟิง ตามสำเนียงกลาง หรือ คายฮอง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นเมืองในมณฑลเหอหนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน อยู่ริมฝั่งด้านใต้ของแม่น้ำฮวงโห (หรือแม่น้ำเหลือง) เป็นหนึ่งในเมืองหลวงเก่าของจีน ไคเฟิงแต่เดิมนั้นมีชื่อว่าเปี้ยนโจว ในสมัยราชวงศ์โฮ่วเหลียงเปลี่ยนชื่อเป็น เปี้ยนจิง ครั้งมา พอมาถึงสมัยหลังได้เปลี่ยนเป็น ไคเฟิง นครไคเฟิงเป็นที่รู้จักกันดีเพราะเคยเป็นที่ทำงานของเปาบุ้นจิ้น หมวดหมู่:เมืองในมณฑลเหอหนาน.
ไฉ หรง
ฉ หรง (柴榮; 27 ตุลาคม 921 – 27 กรกฎาคม 959) หรือชื่อใหม่ว่า กัว หรง (郭榮) indicates that he was called Guo Rong at least since 950.
ไฉ จงซฺวิ่น
ฉ จงซฺวิ่น ตามสำเนียงกลาง หรือ จิวซาซือ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (柴宗訓; 14 กันยายน 953 – 973) หรือชื่ออื่นว่า กัว จงซฺวิ่น (郭宗訓) และเมื่อตายแล้วได้นามว่า ปูชนียกษัตริย์ (恭帝) เป็นกษัตริย์องค์ที่สามและองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โจวยุคหลังในประเทศจีนสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร ไฉ จงซฺวิ่น เป็นบุตรของไฉ หรง (柴榮) ไฉ หรง ตายฉับพลันในปี 959 ไฉ จงซฺวิ่น จึงสืบบัลลังก์ต่อ แต่ต้นปีถัดมา แม่ทัพเจ้า ควงอิ้น (趙匡胤) ยึดอำนาจแล้วตั้งราชวงศ์ซ่งขึ้น ไฉ จงซฺวิ่น ถูกฆ่าระหว่างถูกส่งไปขังไว้ที่เมืองซีจิง (西京).
ดู ราชวงศ์โจวยุคหลังและไฉ จงซฺวิ่น
ดูเพิ่มเติม
ยุคห้าวงศ์สิบรัฐ
- ราชวงศ์จิ้นยุคหลัง
- ราชวงศ์ถังยุคหลัง
- ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง
- ราชวงศ์เหลียงยุคหลัง
- ราชวงศ์โจวยุคหลัง
- อาณาจักรฮั่นเหนือ
รัฐสิ้นสภาพในประวัติศาสตร์จีน
- ง่อก๊ก
- จักรวรรดิจีน (ค.ศ. 1915–1916)
- จักรวรรดิมองโกล
- จามปา
- จ๊กก๊ก
- ซฺยงหนู
- ประเทศแมนจู
- ยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้
- ยุคสามก๊ก
- ราชวงศ์จิน
- ราชวงศ์จิ้น
- ราชวงศ์จิ้นยุคหลัง
- ราชวงศ์ชาง
- ราชวงศ์ชิง
- ราชวงศ์ซิน
- ราชวงศ์ซ่ง
- ราชวงศ์ถัง
- ราชวงศ์ถังยุคหลัง
- ราชวงศ์สุย
- ราชวงศ์หมิง
- ราชวงศ์หยวน
- ราชวงศ์หยวนเหนือ
- ราชวงศ์หลิวซ่ง
- ราชวงศ์ฮั่น
- ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง
- ราชวงศ์เซี่ย
- ราชวงศ์เหงียน
- ราชวงศ์เหลียงตะวันตก
- ราชวงศ์เหลียงยุคหลัง
- ราชวงศ์เหลียว
- ราชวงศ์โจว
- ราชวงศ์โจวยุคหลัง
- ราชวงศ์โจวเหนือ
- วุยก๊ก
- หนานเยฺว่
- อาณาจักรน่านเจ้า
- อาณาจักรพัลแฮ
- อาณาจักรพูยอ
- อาณาจักรรีวกีว
- อาณาจักรล้านช้าง
- อาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง
- อาณาจักรฮั่นเหนือ
- เฉียนฉิน
- เซี่ยตะวันตก
- เหมิ่งเจียง
- ไท่ผิงเทียนกั๋ว
ราชวงศ์จีน
- ง่อก๊ก
- จ๊กก๊ก
- ยุคราชวงศ์เหนือ-ใต้
- ยุคสามก๊ก
- ราชวงศ์จิน
- ราชวงศ์จิ้น
- ราชวงศ์จิ้นยุคหลัง
- ราชวงศ์ฉิน
- ราชวงศ์ชาง
- ราชวงศ์ชิง
- ราชวงศ์ซิน
- ราชวงศ์ซ่ง
- ราชวงศ์ถัง
- ราชวงศ์ถังยุคหลัง
- ราชวงศ์สุย
- ราชวงศ์หมิง
- ราชวงศ์หยวน
- ราชวงศ์หยวนเหนือ
- ราชวงศ์หลิวซ่ง
- ราชวงศ์ฮั่น
- ราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง
- ราชวงศ์เซี่ย
- ราชวงศ์เหลียงตะวันตก
- ราชวงศ์เหลียว
- ราชวงศ์โจว
- ราชวงศ์โจวยุคหลัง
- ราชวงศ์โจวเหนือ
- วุยก๊ก
- อาณาจักรฮั่นเหนือ
- เฉียนฉิน
- เซี่ยตะวันตก
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ราชวงศ์โฮ่วโจว