โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายพระนามจักรพรรดิจีน

ดัชนี รายพระนามจักรพรรดิจีน

รายพระนามจักรพรรดิจีน รวมถึงรัชทายาทของประเทศจีนที่มีชื่อต่างๆ จากยุคโบราณ จนถึงราชวงศ์ชิง การปกครองมักจะถือกรรมสิทธิ์คือ กษัตริย์ (Chinese: 王 Wáng) มีการแบ่งแยกจีนในรัฐต่อสู้กันแยกเป็นสัดส่วน รายพระนามจักรพรรดิจีน มี ดังนี้ สำหรับลิงก์เหล่านี้เพื่อดูว่าเหล่าราชวงศ์มีความสัมพันธ์กัน ไดแก่ พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในยุคโบราณ → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงต้น → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงกลาง → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงปล.

246 ความสัมพันธ์: บูเช็กเทียนพ.ศ. 2449พ.ศ. 2450พ.ศ. 2461พ.ศ. 2467พ.ศ. 2504พ.ศ. 2510พ.ศ. 2537พ.ศ. 2542พระเจ้าชางโจ้วพระเจ้าฟาพระเจ้าหมางพระเจ้าหยางเจี่ยพระเจ้าหยงจี่พระเจ้าหวัวติงพระเจ้าหวัวเจี่ยพระเจ้าหนานเกิงพระเจ้าอวี่พระเจ้าผันเกิงพระเจ้าจิ่นพระเจ้าจูอี่พระเจ้าจูติงพระเจ้าจูซินพระเจ้าจู้พระเจ้าจียงพระเจ้าจงเหรินพระเจ้าจ้งคังพระเจ้าขงเจี่ยพระเจ้าฉี่พระเจ้าปู้เจี้ยงพระเจ้าโจวกงพระเจ้าโจวมู่พระเจ้าโจวอวี่ (จี เสีย)พระเจ้าโจวอวี่ (จี เจี้ยน)พระเจ้าโจวอู่พระเจ้าโจวฮวนพระเจ้าโจวผิงพระเจ้าโจวจวงพระเจ้าโจวคังพระเจ้าโจวนันพระเจ้าโจวโยวพระเจ้าโจวเหวินพระเจ้าโจวเจ้าพระเจ้าโจวเฉิงพระเจ้าโจวเซี่ยวพระเจ้าไว่เหรินพระเจ้าไหวปิงพระเจ้าไหฺวพระเจ้าไท่คังพระเจ้าไท่เกิง...พระเจ้าไท่เจี่ยพระเจ้าเกาพระเจ้าเสี่ยวซินพระเจ้าเหยาพระเจ้าเจี๋ยพระเจ้าเซียงพระเจ้าเซี่ยวเจี่ยพระเจ้าเซ่าคังกลุ่มภาษาจีนกัว เวย์กุบไล ข่านฝูซีมณฑลชานซียวี่เหยียนยฺเหวียน ชื่อไข่ราชวงศ์ชิงราชวงศ์จิ้นวุยก๊กสุมาเอี๋ยนหรูจึอิงหลิว หงหลิว จือ-ยฺเหวี่ยนหลี่ จื้อเฉิงหลี่ ฉุนซฺวี่หลี่ ฉงโฮ่วหลี่ ฉงเคอหลี่ ซื่อเยฺวี๋ยนหวัง หมั่งหวงตี้หองจูเหียบหองจูเปียนหฺวัง ไถจี๋ผู่เจี๋ยจักรพรรดิกวังซฺวี่จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจงจักรพรรดิยงเจิ้งจักรพรรดิว่านลี่จักรพรรดิสุยกงจักรพรรดิสุยหยางจักรพรรดิสุยเหวินจักรพรรดิหยวนหมิงจงจักรพรรดิหยวนหนิงจงจักรพรรดิหยวนอิงจงจักรพรรดิหยวนอู่จงจักรพรรดิหยวนไท่ติ้งจักรพรรดิหยวนเหรินจงจักรพรรดิหยวนเหวินจงจักรพรรดิหยวนเทียนชุ่นจักรพรรดิหย่งเล่อจักรพรรดิหลงชิ่งจักรพรรดิหงอู่จักรพรรดิหงจื้อจักรพรรดิหงซีจักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อจักรพรรดิฮั่นชางจักรพรรดิฮั่นชุ่นจักรพรรดิฮั่นชงจักรพรรดิฮั่นกวังอู่จักรพรรดิฮั่นยฺเหวียนจักรพรรดิฮั่นหมิงจักรพรรดิฮั่นหลิงจักรพรรดิฮั่นหฺวันจักรพรรดิฮั่นอันจักรพรรดิฮั่นอู่จักรพรรดิฮั่นฮุ่ยจักรพรรดิฮั่นผิงจักรพรรดิฮั่นจางจักรพรรดิฮั่นจิงจักรพรรดิฮั่นจื้อจักรพรรดิฮั่นไอจักรพรรดิฮั่นเกาจู่จักรพรรดิฮั่นเกิงฉื่อจักรพรรดิฮั่นเหวินจักรพรรดิฮั่นเหอจักรพรรดิฮั่นเจาจักรพรรดิฮั่นเฉิงจักรพรรดิฮั่นเฉียนเฉ่าจักรพรรดิฮั่นเซฺวียนจักรพรรดิผู่อี๋จักรพรรดิจิ่งไท่จักรพรรดิจิ้นหมิงจักรพรรดิจิ้นหมิ่นจักรพรรดิจิ้นหยวนจักรพรรดิจิ้นหวยจักรพรรดิจิ้นฮุ่ยจักรพรรดิจิ้นเฉิงจักรพรรดิถังชางจักรพรรดิถังชุนจงจักรพรรดิถังมู่จงจักรพรรดิถังยี่จงจักรพรรดิถังรุ่ยจงจักรพรรดิถังอู่จงจักรพรรดิถังจิงจงจักรพรรดิถังจงจงจักรพรรดิถังซวนจงจักรพรรดิถังซู่จงจักรพรรดิถังซีจงจักรพรรดิถังไอจักรพรรดิถังไท่จงจักรพรรดิถังไต้จงจักรพรรดิถังเกาจู่จักรพรรดิถังเกาจงจักรพรรดิถังเสฺวียนจงจักรพรรดิถังเสียนจงจักรพรรดิถังเหวินจงจักรพรรดิถังเจาจงจักรพรรดิถังเต๋อจงจักรพรรดิถงจื้อจักรพรรดิคังซีจักรพรรดิฉินที่ 2จักรพรรดิฉินที่ 3จักรพรรดิฉงเจินจักรพรรดิซุ่นจื้อจักรพรรดิซ่งชินจงจักรพรรดิซ่งกวงจงจักรพรรดิซ่งกงจักรพรรดิซ่งลี่จงจักรพรรดิซ่งหนิงจงจักรพรรดิซ่งอิงจงจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจงจักรพรรดิซ่งตู้จงจักรพรรดิซ่งตี้ปิงจักรพรรดิซ่งต้วนจงจักรพรรดิซ่งไท่จู่จักรพรรดิซ่งไท่จงจักรพรรดิซ่งเกาจงจักรพรรดิซ่งเสินจงจักรพรรดิซ่งเสี้ยวจงจักรพรรดิซ่งเหรินจงจักรพรรดิซ่งเจินจงจักรพรรดิซ่งเจ๋อจงจักรพรรดิโจวหมิงจักรพรรดิโจวอู่จักรพรรดิโจวจิ้งจักรพรรดิโจวเสวียนจักรพรรดิไท่ชางจักรพรรดิเว่ยหมิงจักรพรรดิเสียนเฟิงจักรพรรดิเสี้ยวหมินจักรพรรดิเหลียวมู่จงจักรพรรดิเหลียวจิ่งจงจักรพรรดิเหลียวต้าวจงจักรพรรดิเหลียวซิ่งจงจักรพรรดิเหลียวซื่อจงจักรพรรดิเหลียวไท่จู่จักรพรรดิเหลียวไท่จงจักรพรรดิเหลียวเทียนจั้วจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจงจักรพรรดิเหลียงอู่จักรพรรดิเจิ้งถ่งจักรพรรดิเจิ้งเต๋อจักรพรรดิเจียชิ่งจักรพรรดิเจียจิ้งจักรพรรดิเจี้ยนเหวินจักรพรรดิเทียนฉี่จักรพรรดิเต้ากวังจักรพรรดิเฉิงฮว่าจักรพรรดิเฉียนหลงจักรพรรดิเซฺวียนเต๋อจิ๋นซีฮ่องเต้จู โหย่วกุยจู โหย่วเจินจู เวินความเชื่อเรื่องการสร้างโลกของจีนตี้ อี่ฉือ จิ้งถังฉือ จ้งกุ้ยซางทังซุนกวนซุนฮิว (ง่อก๊ก)ซุนโฮซุนเหลียงนฺหวี่วาโจมอโจฮวนโจฮองโจผีไห่ฮุนโหวไท่ อู้ไท่ช่างหฺวังไฉ หรงไฉ จงซฺวิ่นเล่าปี่เล่าเสี้ยนเสินหนงเหวิน ติงเหิง เจิ้นเตมูร์ ข่านเป่ย์เซียงโหว12 กรกฎาคม16 เมษายน17 พฤษภาคม17 ตุลาคม18 มกราคม28 กุมภาพันธ์7 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (196 มากกว่า) »

บูเช็กเทียน

อู่ เจ๋อเทียน ตามสำเนียงกลาง หรือ บูเช็กเทียน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระราชสมภพ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 624ปีประสูตินี้ ได้มาจากการเอาพระชนม์กับปีสวรรคตที่ระบุไว้ใน นวพงศาวดารถัง (New Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 1045–1060 มาบวกลบกัน ผลลัพธ์ดังกล่าวนี้เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์สมัยใหม่ แต่ถ้าคำนวณตามที่ระบุไว้ใน พงศาวดารถัง (Book of Tang) ฉบับ ค.ศ. 941-945 จะได้ปีประสูติเป็น ค.ศ. 623; สวรรคต 16 ธันวาคม ค.ศ. 705)Paludan, 100 บางทีเรียก อู่ เจ้า หรือ อู่ โฮ่ว ในราชวงศ์ถังมักออกพระนามว่า พระนางสวรรค์ และในสมัยต่อมาว่า พระนางอู่ ทรงเป็นสตรีพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์จีนอันยาวนานกว่า 4,000 ปี ที่ได้เป็น "ฮ่องเต้" ในแผ่นดินของพระภัสดาและพระราชบุตรของพระนางระหว่างปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและบูเช็กเทียน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพ.ศ. 2449 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2450

ทธศักราช 2450 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1907 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพ.ศ. 2450 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2467

ทธศักราช 2467 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1924 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพ.ศ. 2467 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชางโจ้ว

้ว ตามสำเนียงกลาง หรือ ติว ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นชื่อเชิงเหยียดหยามสำหรับใช้เรียก ตี้ ซิน (帝辛) พระเจ้าแผ่นดินจีนพระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ชาง คำว่า "โจ้ว" นี้หมายถึง เตี่ยวรั้งก้นม้า (horse crupper) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอานม้าที่ม้ามักทำสกปรก พระเจ้าโจ้วยังมีพระนามอื่นอีก คือ โจ้ว ซิน (紂辛).

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าชางโจ้ว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟา

ระเจ้าฟา เป็นกษัตริย์จีนรัชกาลที่ 16 แห่งราชวงศ์เซี่ย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเกา ทรงครองราชย์ระหว่าง 1747 ปีก่อนคริสตกาล - 1728 ปีก่อนคริสตกาล รวมปีรัชกาลได้ 11 ปี ในปี 1728 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระราชโอรสของพระองค์ พระเจ้าเจี่ยขึ้นสืบราชวงศ์ ในรัชสมัยของพระองค์เกิดแผ่นดินไหวขึ้นในอาณาจักร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าฟา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหมาง

ระเจ้าหมาง (Mang of Xia) เป็นพระมหากษัตริย์จีนโบราณรัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์เซี่ย พระองค์อาจทรงปกครอง 18 ปีเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าไหฺว รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์เซี่ย กับพระมเหสีไม่ทราบพระนามในพระเจ้าไหฺว.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าหมาง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหยางเจี่ย

ระเจ้าหยางเจี่ย เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 18 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1324 - 1307 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 17 ปี เมื่อ 1307 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าผันเกิง พระอนุชาขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าหยางเจี่ย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหยงจี่

ระเจ้าหยงจี่ เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1567 ปีก่อนคริสตกาล - 1555 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 12 ปี เมื่อ 1555 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าไท่อู่ พระอนุชาขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าหยงจี่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหวัวติง

ระเจ้าหวัวติง เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1628 ปีก่อนคริสตกาล - 1609 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 19 ปี เมื่อ 1609 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าไท่เกิง พระอนุชาขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าหวัวติง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหวัวเจี่ย

ระเจ้าหวัวเจี่ย เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 15 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1410 - 1385 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 25 ปี เมื่อ 1385 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าจูติง พระราชโอรสในพระเจ้าจูซินขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าหวัวเจี่ย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหนานเกิง

ระเจ้าหนานเกิง เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 17 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1353 - 1324 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 29 ปี เมื่อ 1324 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าหยางเจี่ย พระราชโอรสในพระเจ้าจูติงขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าหนานเกิง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอวี่

ระเจ้าอวี่ (2194 ปีก่อนคริสตกาล - 2149 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์เซี่ย ซึ่งนับเป็นราชวงศ์แรกของจีนที่มีการสืบราชบัลลังก์โดยสายโลหิต เกิดเมื่อปีที่ 2059 ก่อนคริสตกาล ที่หมู่บ้านเป่ยฉวน ปัจจุบันอยู่ในมณฑลเสฉวน ได้รับยกย่องเป็นหนึ่งในสามกษัตริย์ห้าจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ของจีน เดิมเขาเป็นขุนนางในสมัยที่พระเจ้าซุ่นเป็นกษัตริย์ปกครองประเทศจีน มีผลงานที่โด่งดังคือการคิดค้นระบบชลประทานเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วม.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าอวี่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าผันเกิง

ระเจ้าผันเกิง เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 19 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1290 - 1263 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 28 ปี เมื่อ 1263 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าเซี้ยวซิน พระอนุชาขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าผันเกิง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจิ่น

ระเจ้าจิ่น เป็นกษัตริย์จีนรัชกาลที่ 13 แห่งราชวงศ์เซี่ย เป็นพระราขโอรสของพระเจ้าจียง ทรงครองราชย์ระหว่าง 1810 ปีก่อนคริสตกาล - 1789 ปีก่อนคริสตกาล รวมปีรัชกาลได้ 21 ปี ในปีที่ 8 ของรัชกาลเกิดภัยแล้งรุนแรง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าจิ่น · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจูอี่

ระเจ้าจูอี่ เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 13 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1445 - 1426 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 19 ปี เมื่อ 1426 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าจูซิน พระราชโอรสขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าจูอี่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจูติง

ระเจ้าจูติง เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 16 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1385 - 1353 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 32 ปี เมื่อ 1353 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าหนานเกิง พระราชโอรสในพระเจ้าหวัวเจี่ยขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าจูติง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจูซิน

ระเจ้าจูซิน เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 14 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1426 - 1410 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 16 ปี เมื่อ 1410 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าจูหวัวเจี่ย พระอนุชาขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าจูซิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจู้

ระเจ้าจู้ (杼) เป็นพระมหากษัตริย์จีนโบราณรัชกาลที่ 7 สมัยราชวงศ์เซี่ย ป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเซ่าคัง ทรงครองราชย์ระหว่างปี 1985 ปีก่อนคริสตกาล - 1968 ปีก่อนคริสตกาล รวมทั้งสิ้น 17 ปี กระทั่ง 1968 ปีก่อนคริสตกาล เสด็จสวรรคต พระเจ้าไหวย พระราชโอรสขึ้นสืบราชสมบัติต่อม.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าจู้ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจียง

ระเจ้าจียง เป็นพระมหากษัตริย์จีนรัชกาลที่ 12 แห่งราชวงศ์เซี่ย เป็นพระราขโอรสของพระเจ้าเซีย และยังเป็นพระอนุชาของพระเจ้าปู้เจี้ยง ทรงครองราชย์ 21 ปี เมื่อพระองค์สวรรคต พระเจ้าจิ่น พระราชโอรสขึ้นครองราชย์ต่อ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าจียง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจงเหริน

ระเจ้าจงเหริน เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1644 ปีก่อนคริสตกาล - 1640 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 4 ปี เมื่อ 1640 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าไท่เจี่ยพระญาติขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าจงเหริน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจ้งคัง

ระเจ้าจ้งคัง (仲康) เป็นพระมหากษัตริย์จีนโบราณรัชกาลที่ 4 สมัยราชวงศ์เซี่ย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าฉี่ และเป็นพระราชอนุชาของพระเจ้าไท่คัง ทรงครองราชย์ระหว่างปี 2088 – 2075 ปีก่อนคริสตกาล รวมทั้งสิ้น 13 ปี กระทั่ง 2075 ปีก่อนคริสตกาล เสด็จสวรรคต พระเจ้าเซียง พระราชโอรสขึ้นสืบราชสมบัติต่อมา ในปีที่ 5 ของรัชกาลได้เกิดสุริยุปราคาขึ้น โหรหลวงจึงถวายคำทำนายว่าบ้านเมืองจะเสื่อมถอยเนื่องด้วยกษัตริย์ลุ่มหลงในสุรานารี พระเจ้าจ้งคังจึงสั่งประหารโหรหลวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าจ้งคัง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าขงเจี่ย

ระเจ้าขงเจี่ย เป็นกษัตริย์จีนรัชกาลที่ 14 แห่งราชวงศ์เซี่ย เป็นพระราขโอรสของพระเจ้าปู้เจี้ยง ทรงครองราชย์ระหว่าง 1789 ปีก่อนคริสตกาล - 1758 ปีก่อนคริสตกาล รวมปีรัชกาลได้ 31 ปี ในปี 1758 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระราชโอรสของพระองค์ พระเจ้าเกาขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าขงเจี่ย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฉี่

ระเจ้าฉี่ เป็นกษัตริย์จีน เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าอวี่ เป็นกษัตริย์องศ์ที่ 2 แห่งราชวงศ์เซี่ย พระองค์ทรงปกครองเป็นเวลาประมาณเก้าหรือสิบปีที่ผ่านมา戴逸, 龔書鐸.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าฉี่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าปู้เจี้ยง

ระเจ้าปู้เจี้ยง เป็นพระมหากษัตริย์จีนรัชกาลที่ 11 แห่งราชวงศ์เซี่ย เป็นพระราขโอรสของพระเจ้าเซีย ครองราชย์ 59 ปี เมื่อพระองค์สวรรคต พระเจ้าจียง พระอนุชาขึ้นครองราชย์ต่อ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าปู้เจี้ยง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวกง

ระเจ้าโจวกง เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์โจว ครองราชย์ในช่วงระหว่าง 922-900 ปีก่อนคริสต์ศักราช หรือ 917/15-900 ปีก่อนคริสต์ศักราช โดยประมาณตามประวัติศาสตร์โบราณของจีนเคมบร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวกง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวมู่

ระเจ้าโจวมู่ เป็นกษัตริย์องค์ที่ห้าของจีนในราชวงศ์โจว ครองราชย์ในช่วงระหว่าง 976-922 ปีก่อนคริสตกาล หรือ 956-918 ปีก่อนคริสตกาล โดยประมาณ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวมู่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวอวี่ (จี เสีย)

พระเจ้าโจวอวี่ (? – 878 ปีก่อนคริสตกาล) พระนามเดิม จีเสีย กษัตริย์องค์ที่ 9 แห่ง ราชวงศ์โจวตะวันตก ครองราชบัลลังก์ระหว่าง 885 – 878 ปีก่อนคริสตกาลหรือ 865 – 858 ปีก่อนคริสตกาลเป็นพระราชโอรสในพระเจ้าโจวอวี่กษัตริย์ลำดับที่ 7 หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โจว หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์โจว.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวอวี่ (จี เสีย) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวอวี่ (จี เจี้ยน)

ระเจ้าโจวอวี่ เป็นกษัตริย์องค์ที่เจ็ดของจีนในราชวงศ์โจว ครองราชย์ในช่วงระหว่าง 899–892 ปีก่อนคริสตกาล หรือ 899–873 ปีก่อนคริสตกาล โดยประมาณตามประวัติศาสตร์โบราณของจีนเคมบร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวอวี่ (จี เจี้ยน) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวอู่

ระเจ้าโจวอู่ (หรือพระเจ้าจิวบู๊อ๋อง ในสำเนียงแต้จิ๋ว) (? - 1043 ปีก่อน ค.ศ.) ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โจว ผู้โค่นล้ม ราชวงศ์ซาง ทรงครองราชย์ระหว่าง 1046 - 1043 ปีก่อน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวอู่ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวฮวน

พระเจ้าโจวฮวน (จีน: 周桓王; pinyin: Zhōu Húan Wáng,? - 697 BC) กษัตริย์องค์ที่ 14 แห่งราชวงศ์โจว และองค์ ที่ 2 แห่งราชวงศ์โจวตะวันออก ขึ้นครองราชย์สืบต่อจาก พระเจ้าโจวผิง พระอัยกา เมื่อ 719 ปีก่อนคริสตกาล ครองราชย์ได้ 23 ปี สวรรคตเมื่อ 697 ปีก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์โจว หมวดหมู่:บุคคลในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:697 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวฮวน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวผิง

ระเจ้าโจวผิง (King Ping of Zhou) (? - 720 ปีก่อนคริสตกาล) (จีน: 周平王พินอิน: zhōu píngwáng) กษัตริย์องค์ที่ 13 แห่งราชวงศ์โจว และทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โจวตะวันออก ครองราชย์ระหว่าง 771 - 720 ปีก่อนคริสตกาล เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าโจวอิว กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โจวตะวันตก ที่ประสูติแต่พระมเหสีองค์แรกที่ถูกปลด เมื่อพระราชบิดาสวรรคตและราชวงศ์โจวตะวันตกล่มสลายลง เหล่าเชื้อพระวงศ์และขุนนางข้าราชการ ได้พร้อมใจกันเชิญพระองค์ขึ้นครองราชย์สืบต่อ ทรงพระนามว่า พระเจ้าโจวผิงและโปรดให้ย้ายราชธานีมาอยู่ที่ลั่วหยาง ซึ่งอยู่ทางตะวันออกของเมืองหลวงเดิม ทรงครองราชย์ยาวนานถึง 51 ปีจึงสวรรคต เมื่อ 720 ปีก่อนคริสตกาล จากนั้นพระราชนัดดาของพระองค์จึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมา เป็น พระเจ้าโจวฮวน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวผิง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวจวง

พระเจ้าโจวจวง (สิ้นพระชนม์ 682 ปีก่อนคริสตกาล) พระนามเดิม จีโถว เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 ในราชวงศ์โจว และรัชกาลที่ 3 ในราชวงศ์โจวตะวันออก ครองราชบัลลังก์ระหว่าง 696 – 682 ปีก่อนคริสตกาลสืบต่อจากพระราชบิดาคือพระเจ้าโจวฮวน หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ราชวงศ์โจว.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวจวง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวคัง

ระเจ้าโจวคัง เป็นกษัตริย์องค์ที่สามของจีนในราชวงศ์โจว และเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าโจวเฉิง ครองราชย์ในช่วงระหว่าง 1020 – 996 ปีก่อนคริสตกาล พระเจ้าโจวคัง ได้ทรงตามรอยนโยบายของพระราชบิดาพระเจ้าโจวเฉิง และทรงขยายอาณาเขตของโจวในภาคเหนือและตะวันตก พระองค์ยังทรงปราบปรามก่อจลาจลในภาคตะวันออก ทำให้เจริญรุ่งเรืองในราชวงศ์โจวภายใต้การปกครองของพระเจ้าโจวคัง พระองค์มีพระราชโอรส 1 พระองค์ คือ พระเจ้าโจวเจ้.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวคัง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวนัน

พระเจ้าโจวนัน (? – 256 ปีก่อนคริสตกาล, ครองราชย์ 314 – 256 ปีก่อนคริสตกาล) พระมหากษัตริย์ลำดับสุดท้ายแห่ง ราชวงศ์โจว พระองค์ครองราชย์ยาวนานที่สุดในยุคก่อนรวมแผ่นดินซึ่งในรัชสมัยของพระองค์ได้สูญเสียพระราชอำนาจทั้งทางด้านการทหารและการปกครองกระทั่งพระองค์สวรรคตเมื่อ 256 ปีก่อนคริสตกาลตำแหน่งกษัตริย์แห่งราชวงศ์โจวจึงถูกยกเลิก.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวนัน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวโยว

ระเจ้าโจวโยว (King You of Zhou) (ครองราชย์ 781-771 ปีก่อนคริสตกาล) (จีน: 周幽王; พินอิน: zhōu yōu wáng) กษัตริย์องค์ที่ 12 แห่งราชวงศ์โจว และองค์สุดท้ายของราชวงศ์โจวตะวันตก ในปีแรกที่ขึ้นครองราชย์คือ 780 ปีก่อนคริสตกาล ได้เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงที่กวนจง ทรงเป็นกษัตริย์ที่อ่อนแอไร้ความสามารถ เสวยแต่น้ำจัณฑ์ หลงผู้หญิงถึงขั้นทรงปลดพระมเหสีและองค์รัชทายาทองค์เก่าลงจากตำแหน่ง พร้อมกับแต่งตั้งนางเปาซือ และพระโอรสอีกองค์ขึ้นเป็นพระมเหสีและองค์รัชทายาทองค์ใหม่ พระนางเปาซือทรงยิ้มไม่เป็น พระเจ้าโจวโยวจึงโปรดให้จุดพลุเตือนภัยขึ้นฟ้า ทำให้พระนางเปาซือยิ้มได้ แต่ท่านอ๋องเข้าใจผิดว่ามีข้าศึกมารุกราน ก็เดินทางมายังพระราชวัง เมื่อไม่เห็นข้าศึกก็โกรธและเดินทางกลับไป ต่อมาเมื่อมีข้าศึกมารุกรานจริง ๆ พระเจ้าโจวโยวโปรดให้จุดพลุเตือนภัยขึ้นฟ้า แต่เหล่าท่านอ๋องก็ไม่สนใจ เหล่าข้าศึกบุกเข้าพระราชวัง พระเจ้าโจวโยวเห็นจวนตัวก็ทรงปลงพระชนม์เอง ส่วนพระนางเปาซือและองค์รัชทายาทก็ถูกจับไป ส่วนอดีตมเหสีและองค์รัชทายาทก็อพยพไปยังลั่วหยาง พร้อมกับเชื้อพระวงศ์ขุนนางข้าราชการ และประชาชน และทรงถูกอัญเชิญขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่แห่งราชวงศ์โจวตะวันออก ส่วนราชวงศ์โจวตะวันตกก็ล่มสลายจากเหตุการณ์คราวนี้.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวโยว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวเหวิน

ระเจ้าโจวเหวิน (King Wen of Zhou) เป็นกษัตริย์จีนในราชวงศ์โจวอยู่ในช่วงระหว่างปลายราชวงศ์ชาง แม้ว่าโจวอู่หวัง พระราชโอรสของพระองค์ ได้ยกทัพมาปราบพระเจ้าซางโจ้วกษัตริย์แห่งราชวงศ์ชางพระองค์สุดท้าย แล้วสถาปนาราชวงศ์โจวขึ้น แต่พระเจ้าโจวเหวิน ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้สถาปนาก่อตั้งราชวงศ์โจว.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวเหวิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวเจ้า

ระเจ้าโจวเจา เป็นกษัตริย์องค์ที่สี่ของจีนในราชวงศ์โจว ครองราชย์ในช่วงระหว่าง 995-977 ปีก่อนคริสตกาล หรือ 977/75-957 ปีก่อนคริสตกาล โดยประมาณ ในรัชกาลพระเจ้าโจวเจา ที่เกิดขึ้นที่จุดเมื่อราชวงศ์โจว ได้ขยายไปทั่วที่ราบลุ่มภาคกลางของจีนและหันความสนใจไปยังภาคใต้ของจีน พระเจ้าโจวเจา ถูกปลงพระชนพ์และกองทัพของพระองค์ รณรงค์ถูกเช็ดออกทางทิศใต้ของแม่น้ำฮัน และสร้างขีดจำกัดของการควบคุมโดยตรงของภาคใต้ในช่วงราชวงศ์โจวตะวันตก.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวเฉิง

ระเจ้าโจวเฉิง (จีน: 周成王พินอิน: zhōu chéng wáng) กษัตริย์องค์ที่ 2 แห่ง ราชวงศ์โจว ทรงครองราชย์ระหว่าง 1043- 1021 ปีก่อนคริสตกาล เป็นพระราชโอรสองค์โตใน พระเจ้าโจวอู่ ทรงพระนามเดิมว่า จี สง เมื่อพระราชบิดาสวรรคตเมื่อ 1043 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์จึงเสด็จขึ้นครองราชย์สืบต่อมา ทรงพระนามว่า พระเจ้าโจวเฉิง ในรัชสมัยของพระองค์ มีโจวกง (จีตัน ผู้เป็นพระปิตุลาหรืออา) ช่วยบริหารราชการแผ่นดิน แผ่นดินสงบสันติ พระเจ้าโจวเฉิง เสด็จสวรรคตเมื่อ 1021 ปีก่อนคริสตกาล องค์ชายจี จ้าว จึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมาเป็น พระเจ้าคัง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวเฉิง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าโจวเซี่ยว

ระเจ้าโจวเซี่ยว เป็นกษัตริย์องค์ที่ 8 ของจีนในราชวงศ์โจว ครองราชย์ในช่วงระหว่าง 891–886 ปีก่อนคริสตกาล เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าโจวมู่ และเป็นพระราชอนุชาของพระเจ้าโจวกง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าโจวเซี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าไว่เหริน

ระเจ้าไว่เหริน เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 11 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1469- 1454 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 15 ปี เมื่อ 1454 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าเหอตันเจี๋ย พระอนุชาขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าไว่เหริน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าไหวปิง

ระเจ้าไหวยปิง เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 2 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1646 ปีก่อนคริสตกาล - 1644 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาลเพียง 2 ปี เมื่อ 1644 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าจงเหริน พระอนุชาขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าไหวปิง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าไหฺว

ระเจ้าไหฺว (Huai of Xia) เป็นพระมหากษัตริย์จีนโบราณ รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์เซี่ย พระองค์อาจทรงปกครอง 44 ปี เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าจู้ รัชกาลที่ 7 แห่งราชวงศ์เซี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าไหฺว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าไท่คัง

ระเจ้าไท่คัง เป็นกษัตริย์จีนรัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์เซี่ย เป็นพระราขโอรสของพระเจ้าฉี่ และเป็นพระราชนัดดาของพระเจ้าอวี่และพระนาง Nu Jiao ตามบันทึก พระเจ้าไท่คังทรงชอบล่าสัตว์และพระองค์ปกครองอาณาจักรไม่ค่อยดีนักอนึ่งมีบางเอกสารกล่าวว่าพระองค์จมน้ำสวรรคต.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าไท่คัง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าไท่เกิง

ระเจ้าไท่เกิง เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1609 ปีก่อนคริสตกาล - 1584 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 25 ปี เมื่อ 1584 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าเซี่ยวเจี่ย พระราชโอรสขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าไท่เกิง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าไท่เจี่ย

ระเจ้าไท่เจี่ย เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1640 ปีก่อนคริสตกาล - 1628 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 12 ปี เมื่อ 1628 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าหวัวติง พระราชโอรสขึ้นสืบราชวงศ์ ตามบันทึกประวัติศาสตร์ พระเจ้าไท่เจี่ยทรงไร้ปรีชาสามารถในการปกครองบ้านเมือง ทรงละเมิดกฎหมายบ้านเมือง และปฎิบัติไม่ดีต่อประชาชนของพระองค์เอง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าไท่เจี่ย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเกา

ระเจ้าเกา เป็นกษัตริย์จีนรัชกาลที่ 15 แห่งราชวงศ์เซี่ย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าขงเจี่ย ทรงครองราชย์ระหว่าง 1758 ปีก่อนคริสตกาล - 1747 ปีก่อนคริสตกาล รวมปีรัชกาลได้ 11 ปี ต่อมาในปี 1747 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระราชโอรสของพระองค์ พระเจ้าฟาขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าเกา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเสี่ยวซิน

ระเจ้าเสี่ยวซิน เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 20 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1263 - 1260 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 3 ปี เมื่อ 1260 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าเซี้ยวอี้ พระอนุชาขึ้นสืบราชวงศ์ต่อม.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าเสี่ยวซิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเหยา

ระเจ้าเหยา พระเจ้าเหยา, (ตามตำนาน 2356-2255 ก่อนคริสตกาล) คือ ผู้ปกครองจีนตามตำนาน ในยุคสามกษัตริย์ห้าจักรพรรดิ ชื่ออื่นที่เรียกกันได้แก่ เถาถัง ซื่อ (陶唐氏) หรือ ถัง เหยา (唐堯) เมื่อแรกเกิดมีนามว่า อี ฟ่างซวิน (伊放勳) หรือ อี ฉี (伊祁) เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองของจักรพรรดิคู่ พระเจ้าเหยามักได้รับยกย่องว่าเป็นพระมหากษัตริย์ที่สมบูรณ์แบบและมีคุณธรรมอย่างสูง เป็นผู้เฉลียวฉลาดและเป็นแบบอย่างแก่จักรพรรดิราชวงศ์ต่าง ๆ ของจีนในเวลาต่อมา ประวัติศาสตร์จีนในยุคต้นมักเอ่ยถึงพระเจ้าเหยา พระเจ้าซุ่น และพระเจ้าอวี่ ว่าเป็นบุคคลสำคัญ นักประวัติศาสตร์ปัจจุบันเชื่อว่าทั้งสามอาจเป็นหัวหน้าเผ่าที่ก่อตั้งระบบการปกครองที่เป็นหนึ่งเดียวและมีระบบลำดับชั้นในช่วงยุคเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมศักดินา ตามตำนานเล่าว่า เหยาขึ้นเป็นผู้ปกครองเมื่ออายุ 20 ปี และสวรรคตเมื่ออายุ 119 ปี และมอบบัลลังก์ให้กับซุ่น ซึ่งสมรสกับพระราชธิดาของพระองค์ทั้ง 2 คน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าเหยา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจี๋ย

ระเจ้าเจี๋ย เป็นกษัตริย์จีนรัชกาลที่ 17 แห่งราชวงศ์เซี่ย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าฟา ทรงครองราชย์ระหว่าง 1728 ปีก่อนคริสตกาล - 1675 ปีก่อนคริสตกาล รวมปีรัชกาลได้ 52 ปี ในรัชสมัยของพระองค์เกิดภัยธรรมชาติและแผ่นดินไหวทำให้ประชาชนเดือนร้อน ในขณะเดียวกัน พระองค์ก็ลุ่มหลงในสุรานารี พระองค์ทรงเข้มงวดกับวัตถุดิบของอาหารและเรื่องสุรามาก คนที่หาสิ่งต่างๆเหล่านั้น มาให้พระองค์ไม่ได้ก็จะถูกประหาร ทำให้ เจิ้งถัง รวบรวมคนที่ต่อต้านราชวงศ์ จึงแข็งแกร่งขึ้นและสามารถโค่นราชวงศ์เซี่ยลงได้เมื่อ 1675 ปีก่อนคริสตกาล พระเจ้าเจี่ยจึงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์เซี่ยองค์สุดท้.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าเจี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเซียง

ระเจ้าเซียง (相) เป็นพระมหากษัตริย์จีนโบราณรัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์เซี่ย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าจ้งคัง และพระเจ้าไท่คังเป็นพระปิตุลาของพระองค์ ทรงครองราชย์ระหว่างปี 2075 - 2047 ปีก่อนคริสตกาล รวมทั้งสิ้น 28 ปี กระทั่ง 2047 ปีก่อนคริสตกาล เสด็จสวรรคตท่ามกลางความวุ่นวาย แล้วจึงเป็นยุคแผ่นดินว่างกษัตริย์นานถึง 40 ปี พระเจ้าเซ่าคังพระราชโอรสของพระองค์ จึงได้กอบกู้ราชบัลลังค์ได้สำเร็จ จึงได้เสวยราชย์เป็นรัชกาลถัดม.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าเซียง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเซี่ยวเจี่ย

ระเจ้าเซี่ยวเจี่ย เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 7 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1584 ปีก่อนคริสตกาล - 1567 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาล 17 ปี เมื่อ 1567 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าหยงจี่ พระอนุชาขึ้นสืบราชวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าเซี่ยวเจี่ย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเซ่าคัง

ระเจ้าเซ่าคัง (จีน: 仲康) เป็นกษัตริย์จีนโบราณรัชกาลที่ 6 สมัยราชวงศ์เซี่ย ทรงเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเซียง ทรงครองราชย์ระหว่างปี 2007 - 1985 ปีก่อนคริสตกาลรวมทั้งสิ้น 21 ปี กระทั่ง 1985 ปีก่อนคริสตกาล เสด็จสวรรคต พระเจ้าจู้ พระราชโอรสขึ้นสืบราชสมบัติต่อมา พระเจ้าเซ่าคังทรงกอบกู้ราชบัลลังค์และฟื้นฟูราชวงศ์เซี่ยขึ้นมาจากความวุ่นวายอีกครั้ง ทำให้วีรกรรมของพระองค์เป็นที่เล่าขานสืบม.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและพระเจ้าเซ่าคัง · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและกลุ่มภาษาจีน · ดูเพิ่มเติม »

กัว เวย์

กัว เวย์ (郭威; 10 กันยายน 944 – 22 กุมภาพันธ์ 954) หรือเป็นที่รู้จักตามชื่อวัดประจำรัชกาลว่า ปฐมกษัตริย์ (太祖) เป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์โจวยุคหลังในประเทศจีนสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร อยู่ในสมบัติตั้งแต่ปี 951 จนสิ้นชีวิต กัว เวย์ มีฉายว่า นกน้อยกัว (郭雀兒) เพราะสักรูปนกน้อยไว้ที่ท้ายทอย เขาเป็นแม่ทัพในราชวงศ์ฮั่นยุคหลังซึ่งมีหลิว เฉิงโย่ว (劉承祐) ปกครอง หลิว เฉิงโย่ว ฆ่าคนจำนวนมากตามอำเภอใจ ในปี 951 เขาฆ่าครอบครัวกัว เวย์ ทั้งโคตร กัว เวย์ จึงยึดอำนาจ และฆ่าหลิว เฉิงโย่ว ในปีนั้น แล้วตั้งราชวงศ์โจวยุคหลังขึ้นแทน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและกัว เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

กุบไล ข่าน

มเด็จพระจักรพรรดิกุบไล ข่าน หรือ จักรพรรดิซื่อจูหวางตี้ หรือ จักรพรรดิซีโจ๊วฮ่องเต้ (23 กันยายน พ.ศ. 1758-1837 (ค.ศ. 1215-1294)) เป็นข่านหรือจักรพรรดิของมองโกล และยังเป็นจักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์หยวนแห่งประเทศจีน กุบไลข่านเป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิเจงกีส ข่าน พระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิมองโกลเมื่อ พ.ศ. 1803 (ค.ศ. 1260) และสถาปนาราชวงศ์หยวนเมื่อ พ.ศ. 1822 (ค.ศ. 1279) จักรวรรดิมองโกลที่เจงกีสข่านสร้างไว้ขึ้นถึงจุดสูงสุดในสมัยของกุบไล ข่าน เมื่อกุบไล ข่านสามารถเอาชนะราชวงศ์ซ่งของจีน และยึดครองกรุงปักกิ่ง ปกครองประเทศจีน กุบไลข่านยังตีได้ดินแดนต้าหลี่ (Dali - ในมณฑลยูนนานในปัจจุบัน) และเกาหลี นอกจากนี้ยังได้พยายามยึดครองดินแดนนิฮง (ญี่ปุ่น ในปัจจุบัน) และดินแดนหนานหยาง (ดินแดนแหลมสุวรรณภูมิ) ประกอบด้วย พม่า, เวียดนาม และอินโดนีเซีย แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในยุคสมัยของกุบไล ข่าน มีนักเดินทางชาวตะวันตกมากมายเดินทางมาถึงดินแดนจีนของกุบไล ข่าน นักเดินทางที่มีชื่อเสียงคือ มาร์โคโปโล.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและกุบไล ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

ฝูซี

ฝูซี ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ ฮอกฮี ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ชื่ออื่นว่า เผาซี เป็นวีรบุรุษทางวัฒนธรรมตามตำนานจีนและเทพปกรณัมจีน เป็นที่นับถือพร้อมกับนฺหวี่วาว่า เป็นผู้ก่อกำเนิดมนุษยชาติ สร้างสรรค์การล่าสัตว์ การประมง และการประกอบอาหาร รวมถึงคิดค้นระบบการเขียนแบบชางเจี๋ย เมื่อราว 2,000 ปีก่อนคริสตกาล นอกจากนี้ ยังนับเป็นพระเจ้าแผ่นดินพระองค์แรกของจีนในกลุ่มสามกษัตริย์ และนับถือว่า เป็นเทวดาผู้ชี้แนะให้ชาวจีนโบราณรู้จักการเลี้ยงสัตว์ หมวดหมู่:บุคคลในศตวรรษที่ 28 ก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:บุคคลในความเชื่อจีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและฝูซี · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลชานซี

นซี ตามสำเนียงกลาง หรือ ซัวไซ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ชื่อย่อ จิ้น (晋) เป็นมณฑลหนึ่งของสาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของแม่น้ำเหลืองในภาคเหนือของประเทศจีน คำว่า "ชานซี" แปลตรงตัวว่า ทิศตะวันตกของภูเขา เนื่องจากมณฑลตั้งอยู่ทางตะวันตกของภูเขาไท่หัง มีเมืองเอกชื่อ ไท่หยวน มีเนื้อที่ 156,800 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 33,350,000 คน ความหนาแน่น 213 ต่อตารางกิโลเมตร จีดีพี 304.2 พันล้านเหรินหมินปี้ จีดีพีต่อประชากร 9120 เหรินหมินปี้ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและมณฑลชานซี · ดูเพิ่มเติม »

ยวี่เหยียน

องค์ชายยวี่ เหยียนในพิธีรับตำแหน่งผู้อ้างสิทธิฯ ยวี่เหยียน เกิด ณ กรุงปักกิ่ง เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1918 เป็นอดีตพระประมุขราชสกุลอ้ายซินเจว๋หลัว ต่อจากจักรพรรดิผู่อี๋ โดยสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิเต้ากวง รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์ชิง และมีศักดิ์เป็นญาติกับจักรพรรดิผู่อี๋ จักรพรรดิต้าชิงพระองค์สุดท้าย ยวี่เหยียนยังอ้างสิทธิในราชบัลลังก์จักรพรรดิจีน เขาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 1999 ขณะอายุได้ 80 ปี ปัจจุบันเขาให้เหิง เจิ้น หลานของเขา เป็นผู้สืบทอดตำแหน่งประมุขแห่งราชวงศ์ชิงและตำแหน่งผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์องค์พระจักรพรรดิจีนองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและยวี่เหยียน · ดูเพิ่มเติม »

ยฺเหวียน ชื่อไข่

ยฺเหวียน ชื่อไข่ (16 กันยายน พ.ศ. 2402 – 6 มิถุนายน พ.ศ. 2459) เป็นประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน ผู้โค่นล้มราชวงศ์ชิงได้สำเร็จ โดยได้อาศัยความได้เปรียบจากการคุมกองทัพเป่ยหยาง ซึ่งเป็นปัจจัยทั้งการอยู่รอดของราชวงศ์ชิงและการก่อตั้งสาธารณรัฐ ถ้ายฺเหวียนเลือกข้างฝ่ายไหน ฝ่ายนั้นก็ได้รับชัยชนะไป กองทัพของซุนยัคเซนเองก็ใช่ว่าจะสามารถต่อต้านทัพเป่ยหยางที่มีอาวุธที่ทันสมัยกว่าได้ หลังจากได้เข้าเจรจาทั้งฝ่ายปฏิวัติและฝ่ายต้าชิงแล้ว ยฺเหวียนได้บีบให้หลงหยู่ไทเฮาประกาศให้ฮ่องเต้ปูยีสละราชสมบัติ ซุน ยัตเซนจึงลาออกจากประธานาธิบดีชั่วคราว และยกตำแหน่งนี้ให้ยฺเหวียนดำรงตำแหน่ง ภายหลังยฺเหวียนสถาปนาตนเองเป็น "จักรพรรดิหงเซียน" ปกครองจักรวรรดิจีนแต่ไม่ได้รับการยอมรับ จึงล้มเลิกจักรวรรดิและกลับมาปกครองแบบสาธารณรัฐเช่นเดิม หมวดหมู่:ประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน ซ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและยฺเหวียน ชื่อไข่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จิ้น

ราชวงศ์จิ้น (คริสต์ศักราช 265 – คริสต์ศักราช 420) เป็นราชวงศ์หนึ่งของจีน สถาปนาในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและราชวงศ์จิ้น · ดูเพิ่มเติม »

วุยก๊ก

วุยก๊ก หรือ เฉาเวย (พินอิน: Cáo Wèi) จัดเป็นก๊กที่ยิ่งใหญ่และมีอำนาจมากที่สุดในบรรดาสามก๊ก ในระหว่างปี พ.ศ. 763 - พ.ศ. 808 (ปี ค.ศ. 220-265) วุยก๊กครอบครองพื้นที่ทางตอนเหนือของประเทศจีน ปกครองโดยโจโฉ ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นราชวงศ์วุยโดยพระเจ้าโจผีและได้สถาปนาโจโฉเป็นปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์วุยอีกพระองค์หนึ่ง วุยก๊กปกครองอาณาจักรโดยจักรพรรดิสืบต่อกันมาทั้งหมด 5 พระองค์ ได้แก่ราชวงศ์วุย, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและวุยก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สุมาเอี๋ยน

ระเจ้าจิ้นอู่ (ค.ศ. 236 – 17 พฤษภาคม ค.ศ. 290) ชื่อตัวว่า ซือหม่า หยัน (司馬炎) ตามสำเนียงกลาง หรือ สุมาเอี๋ยน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน และชื่อรองว่า อันชื่อ (安世) เป็นหลานชายของซือหม่า อี้ (司馬懿) และเป็นบุตรชายของซือหม่า เจา (司馬昭) หลังบีบให้เฉา ฮ่วน (曹奐) กษัตริย์แห่งรัฐเว่ย์ (魏) สละราชสมบัติ ซือหม่า หยัน ได้เป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์จิ้น เสวยราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและสุมาเอี๋ยน · ดูเพิ่มเติม »

หรูจึอิง

หรูจึอิง (ค.ศ. 5 – ค.ศ. 25) แปลว่า ราชกุมารอิง (Infant Ying) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนองค์สุดท้ายในราชวงศ์ฮั่นตะวันตก อยู่ในสมบัติตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและหรูจึอิง · ดูเพิ่มเติม »

หลิว หง

สมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเซ่าตี้ฮง (?-180 ปีก่อนคริสตกาล)ทรงพระนามเดิมว่า หลิวฮง เป็นพระราชโอรสอีกพระองค์ใน จักรพรรดิฮั่นฮุ่ยตี้เมื่อพระเชษฐาคือ จักรพรรดิฮั่นเซ่าตี้กง ถูกลิไทเฮาจับสำเร็จโทษเมื่อ 184 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์จึงขึ้นครองราชย์แทนเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันตกแต่ตลอด 4 ปีแห่งการครองราชย์ก็ทรงเป็นเช่นเดียวกับพระเชษฐาคือเป็นเพียงหุ่นเชิดของลิไทเฮาและพรรคพวกของพระนางพระองค์ก็ถูกกล่าวหาเช่นเดียวกับพระเชษฐาคือพระสติวิปลาสจึงถูกลิไทเฮาจับสำเร็จโทษ หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันตก หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและหลิว หง · ดูเพิ่มเติม »

หลิว จือ-ยฺเหวี่ยน

พระเจ้าเกาจู่แห่งฮั่นยุคหลัง (後漢高祖; 4 มีนาคม 895 – 10 มีนาคม 948) ชื่อตัวว่า หลิว จือ-ยฺเหวี่ยน (劉知遠) ภายหลังเปลี่ยนเป็น หลิว เก่า (劉暠) เป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ฮั่นยุคหลังในสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักรตามประวัติศาสตร์จีน แล้วขึ้นเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ดังกล่าวเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 947 แต่ก็ตายในปีถัดมา หลิว เฉิงโย่ว (劉承祐) บุตรผู้เยาว์ของหลิว จือ-ยฺเหวี่ยน ขึ้นครองสมบัติต่อมาได้สองปี ก็ถูกทหารยึดอำนาจแล้ววตั้งราชวงศ์โจวยุคหลังขึ้นแทน หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและหลิว จือ-ยฺเหวี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ จื้อเฉิง

หลี่ จื้อเฉิง เป็นสมาชิกกบฏเมืองแมนแดนสันติ ในปลายยุคราชวงศ์หมิงต่อกับช่วงต้นราชวงศ์ชิง เป็นผู้เอาชนะใจราษฎรได้ส่วนใหญ่ จนได้รับฉายาว่า "กษัตริย์ผู้กล้า" ทั้ง ๆ ที่ไม่ใช่เป็นกษัตริย์ ทุกวันนี้ มีอนุสาวรีย์ขนาดใหญ่ของหลี่ จื้อเฉิง อยู่ที่บริเวณทางเข้าสุสานจักรพรรดิราชวงศ์หมิงและชิง กรุงปักกิ่ง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและหลี่ จื้อเฉิง · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ ฉุนซฺวี่

พระเจ้าจฺวังจงแห่งถังยุคหลัง (後唐莊宗; 2 ธันวาคม 885 – 15 มีนาคม 926) ชื่อตัวว่า หลี่ ฉุนซฺวี่ (李存朂, 李存勗 หรือ 李存勖) และชื่อรองว่า ย่าจึ (亞子) เป็นพระเจ้าแผ่นดินในราชวงศ์ถังยุคหลังสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร อยู่ในสมบัติตั้งแต่ปี 923 ถึงปี 926 หลี่ ฉุนซฺวี่ เป็นบุตรของหลี่ เค่อย่ง (李克用) แม่ทัพราชวงศ์ถัง ต่อมา จู เวิน (朱溫) แม่ทัพอีกคนแห่งราชวงศ์ถัง โค่นราชวงศ์ถังแล้วตั้งราชวงศ์เหลียงยุคหลังขึ้น หลี่ ฉุนซฺวี่ จึงรวมกำลังมารบกับราชวงศ์เหลียงยุคหลังเพื่อกู้ราชวงศ์ถัง เขาทำตั้งราชวงศ์ถังขึ้นอีกครั้งซึ่งประวัติศาสร์เรียก ราชวงศ์ถังยุคหลัง แล้วตั้งตัวเป็นกษัตริย์ถัง หลี่ ฉุนซฺวี่ ครองสมบัติได้สามปี กัว ฉงเชียน (郭從謙) ข้าราชการของเขา ก็ก่อกบฏในปี 926 และหลี่ ฉุนซฺวี่ ตายในระหว่างสู้กับกบฏ หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยน (李嗣源) ลูกบุญธรรมของ หลี่ ฉุนซฺวี่ จึงขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและหลี่ ฉุนซฺวี่ · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ ฉงโฮ่ว

มเด็จพระจักรพรรดิถังหมิน (ค.ศ. 933 - 934) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์โฮ่วถัง ทรงพระนามเดิมว่า หลี่คงโหว เมื่อจักรพรรดิถังหมิงจง พระเชษฐาบุญธรรมสวรรคตลงในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและหลี่ ฉงโฮ่ว · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ ฉงเคอ

มเด็จพระจักรพรรดิถังโม่ตี้ (ค.ศ. 885 - 936) จักรพรรดิองค์ที่ 4 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โฮ่วถัง ทรงพระนามเดิมว่าหลี่คงเค่อ เป็นพระราชอนุชาบุญธรรมในจักรพรรดิถังหมิงจงและจักรพรรดิถังหมิน ทรงขึ้นครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิถังหมินในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและหลี่ ฉงเคอ · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ ซื่อเยฺวี๋ยน

มเด็จพระจักรพรรดิถังหมิงจง (ค.ศ. 867 - ค.ศ. 933) จักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์โฮ่วถัง ทรงพระนามว่า หลี่ซือหยวน ทรงเป็นบุตรชายบุญธรรมของหลี่เค่อยัง ซึ่งเป็นพระบิดาของจักรพรรดิถังซวงจง เมื่อจักรพรรดิถังซวงจงพระอนุชาสวรรคต ระหว่างเกิดกบฏของขุนนาง ข้าราชการ หลี่ซื่อหยวนจึงนำกำลังเข้าปราบปรามจนเรียบร้อยและจึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมา ทรงพระนามว่า จักรพรรดิถังหมิงจง เมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและหลี่ ซื่อเยฺวี๋ยน · ดูเพิ่มเติม »

หวัง หมั่ง

ักรพรรดิซินเกาจู่ พระนามเดิม หวัง หมั่ง หรือ อองมัง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นจักรพรรดิองค์แรกและองค์เดียวแห่งราชวงศ์ซิน เป็นพระญาติทางฝ่ายไทเฮาของจักรพรรดิฮั่นเฉิงตี้ ในรัชกาลจักรพรรดิฮั่นเฉิงตี้นี้ ตระกูลหวังมีอำนาจอย่างมาก เมื่อหวังหมั่งเห็นราชวงศ์ฮั่นเริ่มอ่อนแอลงก็พยายามจะยึดอำนาจ แต่ล้มเหลวเพราะฮั่นเฉิงตี้สวรรคตเสียก่อน ฮั่นผิงตี้จึงขึ้นครองราชย์แทน แต่บ้านเมืองก็ยิ่งอ่อนแอลงกว่าเก่า และอำนาจของสกุลหวังยิ่งมีมากขึ้น เมื่อฮั่นผิงตี้สวรรคตลงในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและหวัง หมั่ง · ดูเพิ่มเติม »

หวงตี้

หวงตี้ หรือ จักรพรรดิเหลือง (黃帝) เป็นหนึ่งในกษัตริย์ตามตำนานจีนและวีรบุรุษทางวัฒนธรรมHelmer Aslaksen, section (retrieved on 2011-11-18) เป็นหนึ่งในซานหวงอู่ตี้ ตำนานระบุว่า จักรพรรดิเหลืองครองราชย์ตั้งแต่ 2697 – 2597 หรือ 2696 – 2598 ปีก่อนคริสตกาลHerbert Allen Giles (1845–1935), A Chinese Biographical Dictionary (London: B. Quaritch, 1898), p. 338; cited in.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและหวงตี้ · ดูเพิ่มเติม »

หองจูเหียบ

ักรพรรดิฮั่นเซี่ยน หรือ ฮั่นเซี่ยนตี้ สำเนียงจีนฮกเกี้ยนว่า ฮั่นเหี้ยนเต้ พระนามเดิม เสีย ตามสำเนียงกลาง หรือ เหียบ ตามสำเนียงจีนฮกเกี้ยน หรือมักเรียกกันว่า หวังเช่าเสีย ตามสำเนียงกลาง หรือ หองจูเหียบ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ("เสียเจ้าชายน้อย") หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม พระเจ้าเหี้ยนเต้ (ตามที่ปรากฏในสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน)) เป็นพระจักรพรรดิหรือฮ่องเต้พระองค์หนึ่งของราชวงศ์ฮั่น และเป็นหนึ่งในตัวละครตามวรรณกรรมสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ. 724 เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเลนเต้ และเป็นพระอนุชาต่างพระมารดาในพระเจ้าเซ่าเต้ ขึ้นครองราชย์จากการที่ ตั๋งโต๊ะ ต้องการสร้างบารมีแก่ตน โดยการเปลี่ยนองค์พระจักรพรรดิ โดยปลดพระเจ้าเซ่าเต้ออกจากพระราชบัลลังก์ แล้วอัญเชิญหองจูเหียบ ซึ่งเห็นว่ามีสติปัญญาดีขึ้นเป็นฮ่องเต้แทน หองจูเหียบจึงได้ขึ้นเป็นพระเจ้าเหี้ยนเต้แห่งต้าฮั่นในปี พ.ศ. 732 ขณะมีพระชนมายุเพียง 8 พรรษา โดยการครองราชย์นั้นในช่วงแรกแทบไม่ได้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจใด ๆ เพราะหลังจากตั๋งโต๊ะตั้งพระองค์เป็นฮ่องเต้ ก็กุมอำนาจเบ็ดเสร็จในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ทำอะไรไม่ปรึกษาใคร เหมือนว่าตั๋งโต๊ะไม่เห็นพระเจ้าเหี้ยนเต้อยู่ในสายตา แม้ว่าตั๋งโต๊ะจะถึงขนาดเผาเมืองหลวง สร้างราชธานีขึ้นใหม่ก็ทรงทำอะไรไม่ได้ จนตั๋งโต๊ะสิ้นชีพไปในปี พ.ศ. 735 ทรงเริ่มปฏิบัติพระราชภารกิจไปบ้างเล็กน้อย แต่การจะให้พระเจ้าเหี้ยนเต้ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมายุเพียง 11 พรรษาปกครองประเทศจีน ดูจะยากเกินไป พระเจ้าเหี้ยนเต้เริ่มกลายเป็นเหมือนหุ่นเชิดของเหล่าขุนนางและสิบขันที ดังนั้น ในปี พ.ศ. 739 โจโฉ ก็เข้ามาเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และเริ่มที่จะสร้างอิทธิพลครอบงำราชสำนัก พระองค์ก็มิอาจทำอะไรได้ แม้จะทรงมีหนังสือลับที่เขียนด้วยพระโลหิตของพระองค์เองส่งไปหาเล่าปี่ ซึ่งทรงถือเป็นพระปิตุลา (พระเจ้าอา) ให้กำจัดโจโฉ เพราะทรงเริ่มเห็นถึงความกำเริบของโจโฉ แม้โจโฉบางครั้งอาจจะทำตัวเทียบบารมีพระเจ้าเหี้ยนเต้ แต่ก็ไม่เคยคิดตั้งตนเป็นพระจักรพรรดิเอง และเมื่อพระเจ้าเหี้ยนเต้ทรงบรรลุนิติภาวะ โจโฉก็กลับไปทำหน้าที่เดิมของตน และความสัมพันธ์ระหว่างโจโฉกับพระเจ้าเหี้ยนเต้ก็เริ่มบั่นทอน เพราะโจโฉเริ่มมีการแสวงหาอำนาจ จนกระทั่งขอเป็นอ๋องแห่งแคว้นเว่ย พระเจ้าเหี้ยนเต้ทรงกริ่งพระทัย แต่เมื่อโจโฉได้ยกโจเฮา บุตรีคนหนึ่งให้เป็นพระมเหสี ในปี พ.ศ. 757 พระเจ้าเหี้ยนเต้จึงทรงพระราชทานตำแหน่งอ๋องหรือ ผู้ปกครองแคว้น ให้ แล้วโจโฉก็พอพระทัย ไม่ต้องการอะไรเพิ่ม ครองแคว้นเว่ยไปอย่างสงบ แต่ตลอดเวลาตั้งแต่นั้น พระเจ้าเหี้ยนเต้ก็ทรงเป็นเหมือนหุ่นเชิดของก๊กทั้งสามแคว้น (สามก๊ก) ไป ๆ มา ๆ จนวุยอ๋องโจโฉสิ้นพระชนม์ โจผี พระโอรสในพระเจ้าโจโฉขึ้นเป็นอ๋องครองแคว้นเว่ยต่อจากโจโฉผู้เป็นพระบิดา วุยอ๋องโจผีมีพระทัยที่เหิมเกริมจนขับไล่พระเจ้าเหี้ยนเต้ออกไปจากราชบัลลังก์ในปี พ.ศ. 763 และขึ้นเป็นพระจักรพรรดิแห่งแคว้นเว่ยเสีย แต่ว่าราชวงศ์ฮั่นยังไม่สิ้นสุดเมื่อฮันต๋งอ๋องเล่าปี่ สถาปนาตนเองขึ้นเป็นพระมหาจักรพรรดิในแดนเสฉวนเพื่อรักษาราชวงศ์ฮั่นและเชื้อสายราชตระกูลเล่า และในปี พ.ศ. 772 ง่ออ๋องซุนกวนก็สถาปนาตนเองขึ้นเป็นมหาจักรพรรดิในแดนกังตั๋งเช่นกัน นับแต่นั้นมาแผ่นดินจีนก็แตกออกเป็นสามอาณาจักรอย่างแท้จริง พระเจ้าเหี้ยนเต้ถูกลดพระอิสริยยศจากพระจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ เป็น ชนชั้นสูง และมีชีวิตอย่างสงบสุขเรื่อยมา จนพระเจ้าเหี้ยนเต้เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 777 ขณะมีพระชนมายุ 53 พรรษ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและหองจูเหียบ · ดูเพิ่มเติม »

หองจูเปียน

อ๋องแห่งหงหนง หรือพระนามเดิมว่า เปี้ยน ตามสำเนียงกลาง หรือ เปียน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือมักเรียกกันว่า หวังเช่าเปี้ยน ตามสำเนียงกลาง หรือ หองจูเปียน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ("เปี้ยนเจ้าชายน้อย") เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 25 แห่งราชวงศ์ฮั่น (พระองค์ที่ 13 แห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันออก) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเลนเต้และนางโฮเฮา มีพระอนุชาต่างพระมารดาคือ หองจูเหียบ ในปี พ.ศ. 732 พระเจ้าเลนเต้สิ้นพระชนม์ โฮจิ๋นพี่ชายของนางโฮเฮาผู้เป็นแม่ทัพใหญ่ทูลเชิญหองจูเปียนขึ้นสืบราชบัลลังก์ ขณะนั้น หองจูเปียนมีพระชนม์ได้ 14 พรรษา ต่อมา โฮจิ๋นถูกสิบขันทีฆ่า และสิบขันทีถูกกำจัด ตั๋งโต๊ะได้เข้ามามีอำนาจแทน แล้วถอดหองจูเปียนออกจากพระราชบัลลังก์ ลดฐานันดรจากพระมหากษัตริย์เป็นอ๋อง (เจ้าชาย) มีบรรดาศักดิ์ว่า "อ๋องแห่งหงหนง" แล้วให้ตั้งหองจูเหียบเป็นพระมหากษัตริย์พระนามว่า พระเจ้าเหี้ยนเต้ แล้วตั้งตนเองเป็นเจ้าพระยามหาอุปราช (นายกรัฐมนตรี) ต่อมาในพ.ศ. 733 ตั๋งโต๊ะจึงส่งคนสนิทไปประหารหองจูเปียนพร้อมทั้งพระราชชนนีและพระสนม.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและหองจูเปียน · ดูเพิ่มเติม »

หฺวัง ไถจี๋

ฉงเต๋อ (28 พฤศจิกายน 1592 – 21 กันยายน 1643) หรือชื่อตัวว่า หฺวัง ไถจี๋ (黃台吉) หรือ หง ไท่จี๋ (洪太極) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ชิง ซึ่งรวมแผ่นดินจีนที่นู่เอ๋อร์ฮาชื่อ (努爾哈赤) บิดา ก่อตั้งขึ้นแต่ตายเสียก่อนการจะสำเร็จ หฺวัง ไถจี๋ ยังได้เปลี่ยนนามชนชาตินฺหวี่เจิน (女眞; Jurchen) เป็นหมั่นจู๋ (滿族; Manchu) คือ แมนจู และเปลี่ยนนามราชวงศ์จินตอนปลายที่บิดาตั้งไว้เป็นราชวงศ์ชิง ราชวงศ์นี้ดำรงอยู่ต่อมาถึงปี 1912 เนื่องจากนู่เอ๋อร์ฮาชื่อยังไม่ทันได้ตั้งตัวเป็นเจ้าขณะมีชีวิตอยู่ หฺวัง ไถจี๋ จึงเฉลิมยศพระมหากษัตริย์ให้บิดาในภายหลัง ฉะนั้น จึงถือกันว่า นู่เอ๋อร์ฮาชื่อเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ชิง และหฺวัง ไถจี๋ เป็นทุติยกษัตร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและหฺวัง ไถจี๋ · ดูเพิ่มเติม »

ผู่เจี๋ย

อ้ายซินเจว๋หลัว ผู่เจี๋ย (愛新覚羅 溥傑 Aishinkakura Fuketsu) เกิดในราชสกุลอ้ายซินเจว๋หลัวเมื่อวันที่ 16 เมษายน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและผู่เจี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิกวังซฺวี่

ระฉายาลักษณ์สมเด็จพระจักรพรรดิกวังซวี้ จักรพรรดิกวังซฺวี่ พระนามเดิมว่า อ้ายซินเจว๋หลัว ไจ้เถียน (14 สิงหาคม 2414-14 พฤศจิกายน 2451) เป็นพระโอรสในองค์ชายอี้ซวน ซึ่งเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิง พระราชชนนีคือพระขนิษฐาในพระนางซูสีไทเฮา ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมพรรษา 3 พรรษา การขึ้นครองราชย์ของพระองค์เป็นการผิดกฎมณเฑียรบาล เพราะสมเด็จพระจักรพรรดิถงจื้อก่อนสวรรคตได้ทรงแต่งตั้งเจ้าชายไจ้ซู่พระญาติให้เป็นรัชทายาท แต่ในเมื่อพระนางซูสีไทเฮาต้องการให้องค์กวังซฺวี่ขึ้นครองราชย์ก็ไม่มีใครกล้าคัดค้าน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิกวังซฺวี่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง

หวียนฮุ่ยจง (25 พฤษภาคม ค.ศ. 1320 – 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1370) หรือ ถั่วฮฺวัน เทียมู่เอ่อร์ (Toghon Temür) เสด็จสวรรคตแล้วจึงได้พระนามว่า ยฺเหวียนชุ่นตี้ เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หยวน (ยฺเหวียน) ใน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิยฺเหวียนฮุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยงเจิ้ง

มเด็จพระจักรพรรดิยงเจิ้ง ทรงพระราชสมภพเมื่อ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2221 (คังซีปีที่ 17) เป็นพระโอรสลำดับที่ 4 ในจักรพรรดิคังซี มีพระนามเดิมว่า อิ้นเจิน, อิ้นเจวิน (ภาษาจีน: 胤禛) เล่ากันว่า พระองค์ร่วมวางแผนกับหลงเคอตัว ปลอมแปลงลายพระหัตถ์ของจักรพรรดิคังซีจากคำว่าองค์ชาย 14 (十四) เป็นคำว่าให้กับองค์ชาย 4 (于四) องค์ชาย 4 ขึ้นครองราชย์สืบต่อ อันเนื่องจากเหตุการณ์ความวุ่นวายในการแย่งชิงราชสมบัติกันเองระหว่างพี่น้อง ปลายรัชสมัยจักรพรรดิคังซี แต่เรื่องนี้เป็นเพียงความเชื่อที่บอกต่อกันมา ไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ยืนยันแต่ประการใด แต่นั่นก็ทำให้พระองค์ได้ฉายาว่าเป็น "จักรพรรดิบัลลังก์เลือด" หรือ "จักรพรรดิทรราช" (ซึ่งความตรงนี้นักประวัติศาสตร์ยุคปัจจุบันมีความเห็นว่าเป็นไปไม่ได้ เพราะพินัยกรรมของจักรพรรดิคังซีแม้จะเปลี่ยนแปลงก็เปลี่ยนได้เฉพาะฉบับที่เป็นตัวอักษรฮั่นเท่านั้น แต่ฉบับอักษรแมนจูที่มีการเขียนคู่กันด้วยไม่สามารถแก้ไขได้ อีกทั้งอักษร 于 นั้นเป็นการเขียนอย่างย่อ ซึ่งปกติจะไม่ใช้ในเอกสารราชการ) เมื่อจักรพรรดิยงเจิ้งขึ้นครองราชย์ สิ่งแรกที่พระองค์กระทำคือ การเปลี่ยนแปลงวิธีการแต่งตั้งองค์รัชทายาทจากการแต่งตั้งโดยเปิดเผยอันเป็นสิ่งปฏิบัติมาแต่อดีตเป็นแต่งตั้งโดยเป็นความลับโดยเงยพระพักตร์ขึ้นทอดพระเนตรเพดานท้องพระโรงและจารึกพระนามขององค์รัชทายาทใช้หลังป้ายแผ่นหนึ่งที่มีชื่อเรียกว่า เจิ้งต้ากวางหมิง (正大光明) 2 ชุด ชุดแรกเก็บไว้กับตัวพระองค์เองอีกชุดนึงเก็บไว้ซึ่งเก็บไว้ในหีบลับปิดผนึกแล้ววางไว้ที่ป้ายโลหะหน้าท้องพระโรง และให้เปิดทั้ง 2 ป้ายนี้อ่านพร้อมกันเมื่อพระองค์สวรรคตแต่ในระหว่างที่ครองราชย์ต้องพบกับปัญหากบฏหลายต่อหลายครั้งจากบรรดาขุนนางและเหล่าองค์ชายทั้งหลายที่เป็นพี่น้องด้วยกันยงเจิ้งนับว่าเป็นจักรพรรดิที่ขยันขันแข็งมากและได้ปฏิรูปรูปแบบการปกครองการบริหารเอาไว้หลายด้านกิจวัตรของพระองค์ที่ปฏิบัติเป็นประจำคือ ตื่นบรรทมแต่ก่อนรุ่ง เข้าบรรทมในยามดึกเพราะอ่านฎีกาจนดึกดื่น รวบอำนาจ จัดสรรระบบภาษี การเงินการคลัง และขจัดการฉ้อราษฎร์บังหลวงจนถือว่าเป็นช่วงสืบทอดยุคความรุ่งเรืองต่อมาใน 3 รัชกาลนี้ (คังซี-ยงเจิ้ง-เฉียนหลง) จนสามารถยังผลให้ประเทศจีนรุ่งเรืองถึงขีดสุดในยุคของจักรพรรดิเฉียนหลง พระโอรสของพระองค์ที่ครองราชสมบัติต่อ ซึ่งในส่วนของเหตุการณ์แย่งชิงราชสมบัติระหว่างพี่น้องด้วยกันเองนั้น ที่เรียกกันว่า "ศึกสายเลือด" ได้ถูกเล่าขานสืบมาจนปัจจุบัน และนำไปเสริมเติมแต่งเพื่อสร้างเป็นละครโทรทัศน์หรือภาพยนตร์หลายต่อหลายครั้ง จักรพรรดิย่งเจิ้งสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2278 ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน โดยมีสาเหตุคล้ายกับการสิ้นพระชนม์ของจิ๋นซีอ่องเต้ รัชทายาทที่สืบทอดบัลลังก์ต่อ คือ องค์ชายลำดับที่ 4 คือ เจ้าชายหงลี่ ซึ่งพระนามเมื่อครั้งขึ้นครองราชย์ คือ จักรพรรดิเฉียนหลง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิยงเจิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิว่านลี่

มเด็จพระจักรพรรดิว่านลี่ (4 กันยายน ค.ศ. 1563 - 18 สิงหาคม ค.ศ. 1620) ประสูติเมื่อวันที่4 กันยายน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิว่านลี่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิสุยกง

จักรพรรดิสุยกง (隋恭帝; 605 — 14 พฤศจิกายน 619) พระนามเดิม หยางโย่ว (楊侑) เป็นจักรพรรดิจีนสมัยราชวงศ์สุย ตามธรรมเนียมโบราณพระองค์ถือเป็นรัชกาลสุดท้ายของราชวงศ์สุย เพราะทรงถูกบีบให้สละราชบัลลังก์แก่จักรพรรดิถังเกาจู่ (หลี่ยฺเหวียน) ปฐมจักรพรรดิราชวงศ์ถังที่ขึ้นสืบทอด หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์สุย หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิสุยกง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิสุยหยาง

มเด็จพระจักรพรรดิสุยหยางตี้ (楊廣, Emperor Sui-Yangdi) (ค.ศ. 600-618,1143-1161) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิสุยหยาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิสุยเหวิน

ักรพรรดิสุยเหวินตี้ (Emperor Sui-Wendi) มีพระนามเดิมว่า หยางเจียน ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิสุยเหวิน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนหมิงจง

มเด็จพระจักรพรรดิหยวนหมิงจง (22 ธันวาคม ค.ศ. 1300-30 สิงหาคม ค.ศ. 1329) จักรพรรดิองค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์หยวน เป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิหยวนหวู่จง และเป็นพระเชษฐาของจักรพรรดิหยวนเหวินจง ทรงพระนามเดิมว่า คูสาลา ประสูติเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนหมิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนหนิงจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหยวนหนิงจง (ค.ศ. 1326-1332) จักรพรรดิองค์ที่ 11 แห่งราชวงศ์หยวน ทรงพระนามเดิมว่า รินชินบาล เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิหยวนหมิงจง ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนหนิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนอิงจง

มเด็จพระจักรพรรดิหยวนอิงจง (พ.ศ. 1846-1866) จักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์หยวน ประสูติเมื่อวันที่ 22 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนอิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนอู่จง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหยวนอู่จง (4 สิงหาคม ค.ศ. 1281-27 มกราคม ค.ศ. 1311) ทรงพระนามว่า คูลุก ข่าน หรือ จักรพรรดิอู่จง (Emperor Yuan Wuzong) ประสูติเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนอู่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนไท่ติ้ง

มเด็จพระจักรพรรดิไท่ติ้ง หรือ เยซุน เตมูร์ ข่าน (28 พฤศจิากยน ค.ศ. 1293 - 15 สิงหาคม 1328) จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์หยวน ประสูติเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนไท่ติ้ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนเหรินจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหยวนเหรินจง หรือ อายูบาร์ดา ข่าน (ค.ศ. 1286-1320) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์หยวน ประสูติเมื่อวันที่ 9 เมษายน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนเหรินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนเหวินจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหยวนเหวินจง หรือ จายาตู ข่าน (16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1304-2 กันยายน ค.ศ. 1332) จักรพรรดิองค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์หยวน เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ในจักรพรรดิหยวนหวู่จง เมื่อจักรพรรดิเทียนซุนตี้สวรรคตลงในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนเหวินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหยวนเทียนชุ่น

มเด็จพระจักรพรรดิเทียนชุ่น หรือ ราจิบาก ข่าน (ค.ศ. 1320 - 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1328) จักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์หยวน ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหยวนเทียนชุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหย่งเล่อ

มเด็จพระจักรพรรดิหย่งเล่อ ภาพวาดขณะหย่งเล่อฮ่องเต้ทอดพระเนตรเหล่าขันทีขณะกำลังเล่นคูจู่หรือตะกร้อ โบราณของจีน สมเด็จพระจักรพรรดิหย่งเล่อ (2 พฤษภาคม พ.ศ. 1903 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 1967) พระนามเดิม จู ตี้ (朱 棣) คือฮ่องเต้พระองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์หมิงของจีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหย่งเล่อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหลงชิ่ง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิหลงชิ่ง (4 มีนาคม ค.ศ. 1537 - 23 มกราคม ค.ศ. 1572) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหลงชิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงอู่

มเด็จพระจักรพรรดิหงอู่ (21 ตุลาคม พ.ศ. 1871 – 24 มิถุนายน พ.ศ. 1941) คือจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์หมิงของจีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหงอู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงจื้อ

ระสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระจักรพรรดิหงจื้อ สมเด็จพระจักรพรรดิหงจื้อ (30 กรกฎาคม ค.ศ. 1470 – 8 มิถุนายน ค.ศ. 1505) ทรงครองราชย์ระหว่างปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหงจื้อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหงซี

200px สมเด็จพระจักรพรรดิหมิงเหยินจง จูเกาจื้อ พระราชโอรสในหมิงเฉิงจู่ องค์ชายจูเกาจื้อ (朱 高 熾) ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา มีพระนามว่าหมิงเหยินจง (仁 宗)ใช้ศักราชหงซี (洪 熙)พระองค์เลื่อมใสในลัทธิขงจื้อ จึงยกเลิกกองเรือมหาสมบัติของพระราชบิดาและมีพระราชดำริที่จะย้ายเมืองหลวงลงไปอยู่ที่หนานกิง ตามเดิม แต่เนื่องจากทรงครองราชย์เพียงสิบเดือนก็ประชวรสวรรคตไปก่อน แผนการต่างๆ จึงยุติไปโดยปริยาย พระบรมศพถูกอัญเชิญไปบรรจุที่สุสาน เสียนหลิง หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1921 หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์หมิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหงซี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อ

หนูเอ่อร์ฮาชื่อ(แมนจู: 1 30px;; 21 กุมภาพันธ์ 1559 – 30 กันยายน 1626) หรืออ้ายซินเจว๋หลัวหนูเอ่อร์ฮาชื่อ(Chinese: Aixin-Jueluo Nǔ'ěrhāchì 愛新覺羅努爾哈赤)หรือสมเด็จพระจักรพรรดิชิงไท่จู่ เป็นปฐมจักรพรรดิราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิหนูเอ่อร์ฮาชื่อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นชาง

มเด็จพระจักรพรรดิชางแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นชางตี้ (Emperor Shang of Han,, ระหว่าง ค.ศ. 105 - 21 กันยายน ค.ศ. 106) พระนามเดิมว่าองค์รัชทายาทหลิวหลงเป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิฮั่นเหอ และพระสนมองค์หนึ่ง สันนิษฐานว่าประสูติก่อนพระราชบิดาสวรรคตได้ไม่นานเมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นชาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นชุ่น

ั่นชุ่น (ค.ศ. 115–144) ชื่อตัวว่า หลิว เป่า (劉保) เป็นจักรพรรดิจีนในสมัยราชวงศ์ฮั่น อยู่ในสมบัติตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นชุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นชง

ฮั่นชง (143–145) ชื่อตัวว่า หลิว ปิ่ง (劉炳) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น หลิว ปิ่ง เป็นโอรสองค์เดียวของพระเจ้าฮั่นชุ่น เมื่อพระเจ้าฮั่นชุ่นสิ้นพระชนม์ หลิว ปิ่ง ก็สืบสันตติวงศ์ต่อ ขณะนั้น หลิว ปิ่ง มีอายุเพียงหนึ่งปี นางเหลียง น่า (梁妠) มารดาของหลิว ปิ่ง และเหลียง จี้ (梁冀) พี่ชายของนางเหลียง น่า จึงเข้าครอบงำราชการบ้านเมืองทั้งปวง นางเหลียง น่า มีใจซื่อสัตย์ต่อแผ่นดิน แต่เหลียง จี้ ตรงกันข้าม ราษฎรจึงเดือดร้อนแสนเข็ญ ครั้นปี 145 หลิว ปิ่ง วายชนม์โดยไม่ปรากฏเหตุ อายุได้สามปี นางเหลียง น่า จึงยกหลิว จวั่น (劉纘) ญาติของหลิว ปิ่ง ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่สวรรคตขณะทรงพระเยาว์.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นชง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นกวังอู่

ักรพรรดิฮั่นกวังอู่ ตามสำเนียงกลาง หรือ ฮั่นกองบู๊ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (15 มกราคม ปีที่ 5 ก่อนคริสตกาล – 29 มีนาคม 57) พระนามเดิมว่า หลิว ซิ่ว (劉秀) ปฐมจักรพรรดิในราชวงศ์ฮั่นตะวันออก องค์ชายหลิว ซิ่ว เป็นพระโอรสขององค์ชายหลิว ชิน (劉欽) เจ้าเมืองตุ้นใต้ (南頓令) หวัง หมั่ง (王莽) ขุนนางราชวงศ์ฮั่นตะวันตกเข้ายึดอำนาจและตั้งตัวเป็นจักรพรรดิสถาปนาราชวงศ์ซิน องค์ชาย หลิว ซิ่ว ซึ่งมีเชื้อฮั่นจึงซ่องสุมกำลังมาแย่งชิงแผ่นดินคืนและปราบปรามคู่แข่งจนสิ้นองค์ชาย หลิว ซิ่ว รวมบ้านเมืองสำเร็จในปี 36 พระองค์สถาปนาราชวงศ์ฮั่นขึ้นใหม่สถาปนาตนเป็นจักรพรรดิราชวงศ์ฮั่นแล้วตั้งเมืองลั่วหยางเป็นราชธานี นักประวัติศาสตร์จึงเรียกราชวงศ์ฮั่นก่อนถูกราชวงศ์ซินคั่นว่า ราชวงศ์ฮั่นตะวันตกและเรียกราชวงศ์ฮั่นที่ตั้งขึ้นอีกครั้งนี้ว่า ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก จักรพรรดิฮั่นกวังสวรรคตในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นกวังอู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นยฺเหวียน

ฮั่นยฺเหวียน (ปีที่ 75–33 ก่อนคริสตกาล) ชื่อตัวว่า หลิว ชื่อ (劉奭) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น หลิว ชื่อ เป็นบุตรพระเจ้าฮั่นเซฺวียน พระเจ้าฮั่นเซฺวียนตายในปีที่ 49 ก่อนคริสตกาล หลิว ชื่อ จึงสืบบัลลังก์ต่อมา หลิว ชื่อ ส่งเสริมให้ลัทธิหรูเจีย (儒家) เป็นลัทธิประจำชาติ และตั้งสาวกหรูเจียเป็นข้าราชการ แต่ข้าราชการจำนวนมากที่หลิว ชื่อ ตั้งและไว้วางใจนั้นฉ้อราษฎร์บังหลวง ทำให้กิจการบ้านเมืองมีปัญหา หลิว ชื่อ ตายในปีที่ 33 ก่อนคริสตกาล หลิว เอ้า (劉驁) บุตรของหลิว ชื่อ ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นยฺเหวียน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นหมิง

มเด็จพระจักรพรรดิหมิงแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นหมิงตี้ (ค.ศ. 28-75) เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ใน จักรพรรดิฮั่นกวังอู่ มีพระนามเดิมว่าองค์รัชทายาทหลิวหยางทรงประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นหมิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นหลิง

มเด็จพระจักรพรรดิหลิงแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นหลิงตี้ หรือ ฮั่นเลนเต้ (Emperor Ling of Han) ดำรงตำแหน่งเป็นจักรพรรดิในราชวงศ์ฮั่น รัชกาลที่ 24 เสด็จพระราชสมภพเมื่อ พ.ศ. 699 เป็นพระโอรสของเล่าจั้ง เชื้อพระวงศ์ชั้นสูงแห่งราชวงศ์ฮั่น เชื้อสายราชนิกูลเล่า เจ้าเมืองตูตัง เมื่อสิ้นบุญ พระเจ้าฮวนเต้ (漢桓帝) ได้ขอพระองค์นั้นไปชุบเลี้ยงในพระบรมมหาราชวัง ทรงเป็นที่โปรดปรานของสมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นฮวนเต้มาก จึงทรงแต่งตั้งเป็นพระรัชทายาท เนื่องจากพระองค์ไม่มีพระราชโอรส เมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นฮวนเต้เสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 711 พระองค์จึงได้เสด็จขึ้นครองราชย์ต่อจากพระเจ้าฮวนเต้ในปีเดียวกัน ขณะมีพระชนมายุ 12 พรรษา และได้แต่งตั้งพระราชมารดาของพระองค์ขึ้นเป็น พระพันปีหลวงตังไทเฮา เพราะฉะนั้นเองพระมารดาของพระเจ้าเลนเต้จึงเป็น สมเด็จพระพันปีหลวงไทเฮาเพียงพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์จีนที่ไม่ได้เป็นพระมเหสีของฮ่องเต้พระองค์ใด และรัชสมัยของพระองค์นั่นก็เป็นอีกชนวนหนึ่งที่ก่อให้เกิดยุคสามก๊ก เนื่องจากหลังจากทรงครองราชสมบัติไป 10 กว่าปี ก็เริ่มตีตัวออกห่างจากราชการบ้านเมือง หลงมัวเมาในสุรานารี และคำป้อยอของขันที ขันทีก็ได้ใจรีดนาทาเร้นราษฎร ดังนั้นใน พ.ศ. 726 จึงมีกลุ่มชาวนาต่างจังหวัดตั้งกลุ่มกบฏโพกผ้าเหลือง (黃巾之亂) เริ่มยึดครองขยายอำนาจแผ่ไปแว่นแคว้นต่าง ๆ ราชธานีได้ส่งสาส์นไปยังหัวเมืองน้อยใหญ่ให้ช่วยยกทัพมาปราบกบฏโพกผ้าเหลือง และปิดประกาศขอรับสมัครชายผู้ต้องการปกป้องชาติ ซึ่งทำให้ เล่าปี่ (劉備), กวนอู (關羽), เตียวหุย (張飛) ได้มาพบกัน และร่วมมือกัน และเป็นโอกาสให้ตั๋งโต๊ะ (董卓) ได้ขึ้นมาเรืองอำนาจกดขี่ชาวบ้าน ทางวังหลวงก็มีความแตกแยก เพราะมีพระราชโอรส 2 พระองค์ คือ หองจูเปียน พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเลนเต้กับสมเด็จพระจักรพรรดินีโฮเฮา กับหองจูเหียบ พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิฮั่นเลนเต้กับพระสนมอองบีหยิน แต่ก็ไม่ได้รับความสนพระทัยจากพระเจ้าเลนเต้มากนัก จนในที่สุด ก็เสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 732.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นหลิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นหฺวัน

ฮั่นหฺวัน (132–168) ชื่อตัวว่า หลิว จื้อ (劉志) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น หลิว จื้อ เป็นเหลนของพระเจ้าฮั่นจาง ในปี 145 พระเจ้าฮั่นชงสิ้นพระชนม์ นางเหลียง น่า (梁妠) พระมารดาพระเจ้าฮั่นชง จึงยกหลิว จวั่น (劉纘) ญาติของพระเจ้าฮั่นชง ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ เหลียง จี้ (梁冀) พี่ชายของนางเหลียง น่า ได้เป็นใหญ่ในราชการแผ่นดิน และในปี 146 เหลียง จี้ ก็ฆ่าหลิว จวั่น ทิ้ง นางเหลียง น่า จึงยกหลิว จื้อ ขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์ถัดมา ขณะนั้น หลิว จื้อ อายุได้สิบสี่ปี เมื่อเสวยราชย์แล้ว หลิว จื้อ กำจัดอิทธิพลของพี่น้องสกุลเหลียงเป็นผลสำเร็จ โดยได้ความช่วยเหลือจากเหล่าขันที แต่นั้นก็เป็นเหตุให้ขันทีเข้ามาครอบงำกิจการบ้านเมืองแทน ขันทีทั้งหลายฉ้อฉลไม่ต่างจากพี่น้องสกุลเหลียง ราษฎรจึงไม่สิ้นความเดือดร้อน ในปี 166 บัณฑิตจำนวนมากประท้วงต่อต้านรัฐบาล หลิว จื้อ จึงสั่งให้จับผู้ประท้วงทั้งสิ้น ราชวงศ์ฮั่นก็เข้าสู่ความเสื่อมอีกระดับหนึ่ง หลิว จื้อ อยู่ในสมบัติได้ยี่สิบสองปีก็วายชนม์ไปในปี 168 อายุได้สามสิบหก หลิว หง (劉宏) ญาติของหลิว จื้อ ได้เป็นกษัตริย์สืบต่อมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นหฺวัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นอัน

จักรพรรดิฮั่นอัน (94 – 30 เมษายน 125) ชื่อตัวว่า หลิว ฮู่ (劉祜) จักรพรรดิจีนในสมัย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก หลิว ฮู่ เป็นพระโอรสขององค์ชาย หลิว ชิ่ง (劉慶) กับพระชายาโจว (左小娥) องค์ชายหลิว ชิ่ง เป็นพระเชษฐาของ จักรพรรดิฮั่นเหอ เมื่อ จักรพรรดิฮั่นชาง (劉隆) โอรสของจักรพรรดิฮั่นเหอซึ่งสืบบัลลังก์ต่อจากจักรพรรดิฮั่นเหอสวรรคตในปี 106 หลิว ฮู่ ก็ได้รับยกขึ้นเป็นจักรพรรดิองค์ใหม่โดยมี เติ้งไทเฮา (鄧綏) พระพันปีของจักรพรรดิฮั่นชางทรงสำเร็จราชการ เมื่อเติ้งไทเฮาสิ้นพระชนม์ในปี 121 หลิว ฮู่ ก็ถอดญาติสนิทมิตรสหายของนางออกจากตำแหน่งหน้าที่ราชการและเริ่มมั่วสุรานารีจนไม่ออกว่าราชการอีก กิจการทั้งหลายของรัฐมีขันทีทั้งหลายคอยสั่งอยู่เบื้องหลัง ขันทีเหล่านี้ล้วนฉ้อราษฎร์บังหลวงราษฎรจึงลุกฮือขึ้นทั่วแผ่นดินครั้นปี 125 หลิว ฮู่ ประพาสเมือง หนานหยาง แต่จับไข้ขณะนิวัติพระนครจนสวรรคตแบบปัจจุบันทันด่วนพระชนมายุได้สามสิบเอ็ดพรรษา เอี๋ยนฮองเฮา (閻姬) จักรพรรดินีของจักรพรรดิฮั่นก็ยก หลิว อี้ (劉懿) พระญาติของจักรพรรดิฮั่นอันขึ้นเป็นจักรพรรดิองค์ถัดมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นอัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นอู่

ักรพรรดิฮั่นอู่ (พ.ศ. 388–457) เป็นจักรพรรดิจีนราชวงศ์ฮั่น พระนามเดิมว่า หลิว เช่อ (劉徹) ขึ้นครองราชย์เมื่ออายุ 16 พรรษา ปกครองนานถึง 54 ปี (ปี 140 – 87 ก่อนคริสต์ศักราช นับว่าเป็นฮ่องเต้ ชาวฮั่น ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดด้วย) ผลงานปรับปรุงประเทศและแผ่ขยายอิทธิพลของพระองค์ทำให้นักประวัติศาสตร์ถือเป็นมหาราชซึ่งมีชื่อเสียงมากในประวัติศาสตร์ของจีน พระองค์กำหนดปีรัชสมัยของตนขึ้นเป็นครั้งแรกในชื่อว่า “เจี้ยนหยวน” นับจากนี้ไป ฮ่องเต้ องค์ต่อมาต่างถือเป็นประเพณีตั้งชื่อรัชศกของตนมาจนกระทั่งสิ้นสุดยุคจักรพรร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นอู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นฮุ่ย

ฮั่นฮุ่ย (210–188 ปีก่อนคริสตกาล) ชื่อตัวว่า หลิว อิ๋ง (劉盈) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น เป็นโอรสองค์ที่สองของพระเจ้าฮั่นเกาจู่กับนางลฺหวี่ จื้อ (呂雉) หลิว อิ๋ง ไร้ความสามารถ นางลฺหวี่ จื้อ มารดาซึ่งมีจิตใจหยาบช้า จึงครอบงำราชการบ้านเมือง หลิว อิ๋ง พยายามป้องกันมิให้หลิว หรูอี้ น้องชายร่วมบิดา ถูกนางลฺหวี่ จื้อ ฆ่า แต่ไม่สำเร็จ หลิว อิ๋ง เป็นทุกข์ หันไปใช้ชีวิตเสเพล จนถึงแก่ความตายทั้งที่ยัง?เยาว์นัก เมื่อหลิว อิ๋ง ตาย นางลฺหวี่ จื้อ จึงยกหลิว กง (劉恭) ลูกของหลิว อิ๋ง ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิด 210 ปีก่อนคริสตกาล หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นฮุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นผิง

มเด็จพระจักรพรรดิผิงแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นผิงตี้ (9 ปีก่อน ค.ศ.-3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 5) ทรงพระนามเดิมว่าหลิวคัน เป็นพระราชอนุชาในจักรพรรดิฮั่นเฉิงตี้ และเป็นโอรสอีกองค์ของจักรพรรดิฮั่นเสวียนตี้ เมื่อจักรพรรดิฮั่นไอตี้สวรรคตเมื่อ 1 ปีก่อน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นผิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นจาง

มเด็จพระจักรพรรดิจางแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ จักรพรรดิฮั่นจาง (Emperor Zhang of Han, 57 - 9 เมษายน 88) มีพระนามเดิมว่า องค์รัชทายาทหลิวต้า ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นจาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นจิง

มเด็จพระจักรพรรดิจิงแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นจิงตี้ (188 ปีก่อนคริสตกาล - 141 ปีก่อนคริสตกาล) มีพระนามเดิมว่าหลิวฉี เป็นพระราชโอรสของจักรพรรดิฮั่นเหวินตี้ และพระสนมตู้ พระสนมองค์โปรด ซึ่งภายหลังจักรพรรดิเหวินตี้ทรงสถาปนาพระสนมตู้ขึ้นเป็นตู้ฮองเฮา และสถาปนาองค์ชายหลิวฉีขึ้นเป็นรัชทายาท ทรงเป็นหนึ่งในแม่ทัพที่ปราบกบฏ 7 แคว้น เมื่อพระราชบิดาสวรรคตเมื่อ 157 ปีก่อน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นจิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นจื้อ

ฮั่นจื้อ (138–146) ชื่อตัวว่า หลิว จวั่น (劉纘) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น หลิว จวั่น เป็นเหลนของพระเจ้าฮั่นจาง และเป็นญาติของพระเจ้าฮั่นชง เมื่อพระเจ้าฮั่นชงสิ้นพระชนม์ในปี 145 นางเหลียง น่า (梁妠) พระมารดาพระเจ้าฮั่นชง จึงยกหลิว จวั่น ขึ้นสืบสมบัติต่อ ขณะนั้น หลิว จวั่น ยังเยาว์นัก เหลียง จี้ (梁冀) พี่ชายของนางเหลียง น่า จึงได้เป็นใหญ่ในกิจการบ้านเมืองทั้งมวล เหลียง จี้ เป็นคนใจคด และที่สุดก็ฆ่าหลิว จวั่น ด้วยยาพิษ หลิว จวั่น อยู่ในสมบัติเพียงหนึ่งปี นางเหลียง น่า ก็ยกหลิว จื้อ (劉志) องค์ชายวัยสิบสี่ปี ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่สวรรคตขณะทรงพระเยาว์.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นจื้อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นไอ

ั่นไอ (ปีที่ 27–1 ก่อนคริสตกาล) ชื่อตัวว่า หลิว ซิน (劉欣) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น หลิว ซิน เป็นพระราชนัดดาของ จักรพรรดิฮั่นเฉิง จักรพรรดิฮั่นเฉิงไร้โอรสธิดา จึงตั้งหลิว ซิน เป็นรัชทายาท ครั้นจักรพรรดิฮั่นเฉิงสวรรคตในปีที่ 7 ก่อนคริสตกาล หลิว ซิน ซึ่งขณะนั้นพระชนมายุ 20 พรรษาก็สืบบัลลังก์ต่อไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินเชื่อว่า หลิว ซิน จะเป็นผู้ปกครองที่ดีแต่หลิว ซิน นั้นไร้ความสามารถ พระสนมฟู่ (傅昭儀) อดีตพระสนมใน จักรพรรดิฮั่น-ยฺเวี่ยน และพระอัยยิกาของจักรพรรดิฮั่นไอจึงครอบงำงานแผ่นดินทั้งมวลพระสนมฟู่เกลียดชัง พระสนมเฝิง เยฺวี่ยน (馮媛) อดีตพระสนมอีกองค์ของจักรพรรดิฮั่น-ยฺเวี่ยนซึ่งจักรพรรดิฮั่น-ยฺเวี่ยนโปรดมากพระสนมฟู่จึงบีบให้พระสนมเฝิง เยฺวี่ยน ฆ่าตัวตาย ทั้งยังให้หลานตั้งญาติสนิทมิตรสหายของนางเข้าสู่ตำแหน่งหน้าที่ราชการเป็นอันมาก ทำให้ประชาชนหมดความเลื่อมใสในรัฐบาล ครั้นพระสนมฟู่สิ้นพระชนม์ในปีที่ 2 ก่อนคริสตกาล จักรพรรดิฮั่นไอก็สวรรคตตามไปในอีกหนึ่งปีให้หลัง เป็นที่รับทราบกันว่า หลิว ซิน รักร่วมเพศ นักประวัติศาสตร์เห็นว่า ต่ง เสียน (董賢) ข้าราชการ เป็นคู่นอนคนสำคัญของจักรพรรดิฮั่นไอมีกิตติศัพท์ว่าจักรพรรดิฮั่นไอโปรดปรานต่ง เสียน มาก วันหนึ่งเมื่อจะตื่นนอน เห็นต่ง เสียน ยังนอนหลับทับแขนเสื้อของตนอยู่เคียงข้างจักรพรรดิฮั่นไอไม่อยากปลุกชายคนรักให้ตื่นไปด้วย จึงฉีกแขนเสื้อตนออกแล้วค่อย ๆ ลุกจากเตียง นอกจากนี้จักรพรรดิฮั่นไอยังอวยยศให้ต่ง เสียน มากมาย จนเมื่อเวลาที่จักรพรรดิฮั่นไอสวรรคตนั้น ปรากฏว่า ต่ง เสียน เป็นถึงสมุหกลาโหม ครั้นหลิว ซิน ตายแล้ว จักรพรรดิหวัง เจิ้งจวิน (王政君) จักรพรรดินีในจักรพรรดิฮั่นเฉิง และพระราชมารดาเลี้ยงของจักรพรรดิฮั่นไอจึงยึดอำนาจ แล้วบังคับให้ต่ง เสียน ซึ่งควบคุมการทหารทั้งหมด ฆ่าตัวตายHinsch, Bret.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นไอ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นเกาจู่

ั่นเกาจู่ ตามภาษาจีนมาตรฐาน หรือ ฮั่นโกโจ ตามภาษาจีนฮกเกี้ยน ("อัครบรรพชนฮั่น"; 256 ปีก่อนคริสตกาล – 1 มิถุนายน 195 ปีก่อนคริสตกาล) พระนามเดิม หลิว ปัง เป็นจักรพรรดิพระองค์แรกแห่งราชวงศ์ฮั่นของจักรวรรดิจีน และเป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ดังกล่าว เสวยราชย์ช่วง 202–195 ปีก่อนคริสตกาล นับเป็นหนึ่งในปฐมกษัตริย์จีนไม่กี่พระองค์ที่มาจากครอบครัวรากหญ้า ก่อนเข้าสู่อำนาจ หลิว ปัง เป็นข้าราชการชั้นผู้น้อยในราชวงศ์ฉิน ทำหน้าเป็นนายด่านที่บ้านเกิดในเทศมณฑลเพ่ย์ (沛縣) แห่งรัฐฉู่ (楚国) ที่ถูกราชวงศ์ฉินยึดครอง เมื่อฉินฉื่อหฺวังตี้ (秦始皇帝) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ฉิน สิ้นพระชนม์ และจักรวรรดิฉิน (秦朝) ตกอยู่ในความวุ่นวายทางการเมือง หลิว ปัง ละทิ้งตำแหน่งราชการเข้าร่วมกบฏต่อต้านราชวงศ์ฉิน จนสามารถบีบให้จื่ออิง (子嬰) ผู้นำคนสุดท้ายของราชวงศ์ฉิน ยอมจำนนได้เมื่อ 206 ปีก่อนคริสตกาล เมื่อสิ้นราชวงศ์ฉินแล้ว เซี่ยง อฺวี่ (項羽) ผู้นำกบฏ แบ่งดินแดนฉินออกเป็นสิบแปดส่วน ให้หลิว ปัง เป็น "ราชาฮั่น" (漢王) ไปครองภูมิภาคปาฉู่ (巴蜀) อันห่างไกลและกันดาร หลิว ปัง จึงนำทัพต่อต้านเซี่ยง อฺวี่ และสามารถยึดภูมิภาคฉินทั้งสาม (三秦) ไว้ได้ นำไปสู่สงครามกลางเมืองที่เรียกว่า "สงครามฉู่–ฮั่น" (楚漢戰爭) ครั้น 202 ปีก่อนคริสตกาล หลังเกิดยุทธการไกเซี่ย (垓下之戰) หลิว ปัง มีชัยในการชิงอำนาจ จึงสามารถรวบดินแดนจีนส่วนใหญ่ไว้ในกำมือ เขาก่อตั้งราชวงศ์ฮั่น มีตนเป็นจักรพรรดิพระองค์แรก ใช้พระนาม "ฮั่นเกาจู่" รัชสมัยฮั่นเกาจู่มีการลดหย่อนภาษี ส่งเสริมลัทธิขงจื๊อ และปราบปรามกบฏเจ้าประเทศราชต่าง ๆ ฮั่นเกาจู่ยังริเริ่มนโยบายที่เรียก "วิวาห์สันติ" (和親) เพื่อสร้างความปรองดองกับกลุ่มซฺยงหนู (匈奴) หลังพ่ายแพ้ในยุทธการไป๋เติง (白登之戰) เมื่อ 200 ปีก่อนคริสตกาล ครั้น 195 ปีก่อนคริสตกาล ฮั่นเกาจู่สวรรคต พระโอรส คือ หลิว อิ๋ง (劉盈) สืบตำแหน่งต่อ ใช้พระนามว่า "ฮั่นฮุ่ย" (汉惠).

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเกาจู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นเกิงฉื่อ

ักรพรรดิเกิงฉื่อแห่งฮั่น หรือ ฮั่นเกิงฉื่อตี้ หรือ ฮั่นกองบู๊เต้ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (Gengshi Di, ? - ค.ศ. 25) ทรงพระนามเดิมว่า หลิวเสวียน ทรงสืบเชื้อสายโดยตรง จากจักรพรรดิฮั่นจิงตี้ เพราะเป็นพระราชนัดดาพระองค์หนึ่งของจักรพรรดิฮั่นจิงตี้ เช่นเดียวกับจักรพรรดิฮั่นกวงตี้ เมื่อจักรพรรดิซินเกาจู่ (หวังหมั่ง) สวรรคตในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเกิงฉื่อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นเหวิน

จักรพรรดิฮั่นเหวินขณะประทับพักพระอิริยาบถ จักรพรรดิเหวินแห่งราชวงศ์ฮั่น (202 - 157 ปีก่อนคริสตกาล) มีพระนามเดิมว่าหลิวเหอ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 5 ในจักรพรรดิฮั่นเกาจู่ และพระสนมโปซึ่งภายหลังเมื่อทรงครองราชย์แล้วทรงสถาปนาพระราชมารดาเป็นโปไทเฮา ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อ 180 ปีก่อนคริสตกาล (พ.ศ. 363) เมื่อพระชนม์ได้ 22 พรรษา มีพระนามว่าจักรพรรดิฮั่นเหวิน พระราชภารกิจแรกของพระองค์ คือการกวาดล้างพวกสกุลหลู่ของหลู่ไทเฮาที่ครองอำนาจมานาน 8 ปีหลังการสวรรคตของจักรพรรดิฮั่นฮุ่ย พระเชษฐาจนหมดสิ้น เพราะหลู่ไทเฮาสวรรคตลงในปีที่ครองราชย์ในรัชกาล โปรดให้ลดภาษีทั้งภาษีที่ดินและรายได้ และเมื่อ 165 ปีก่อนคริสตกาล (พ.ศ. 378) โปรดให้มีการตรวจคัดเลือกทหารใหม่ และในรัชกาลของพระองค์เกิดกบฏ 7 แคว้น สวรรคตเมื่อ 157 ปีก่อนคริสตกาล (พ.ศ. 386) เจ้าชายรัชทายาทหลิวฉีจึงขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิฮั่นจิง หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่นตะวันตก.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเหวิน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นเหอ

มเด็จพระจักรพรรดิเหอแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นเหอตี้ (ค.ศ. 79 - 13 มกราคม ค.ศ. 105) ทรงพระนามเดิมว่าองค์รัชทายาทหลิวจ้าว โดยเป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิฮั่นจางตี้ และพระสนมเหลียง แต่ภายหลังทรงได้เป็นพระราชโอรสบุญธรรมในตู้ฮองเฮา เมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเหอ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นเจา

มเด็จพระจักรพรรดิเจาแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นเจาตี้ (94 ปีก่อน ค.ศ. - 74 ปีก่อน ค.ศ.) ทรงพระนามเดิมว่า หลิวฝูหลิง เป็นพระราชโอรสองค์เล็กใน จักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ และพระสนมจ้าว เมื่อแรกประสูตินั้นพระราชบิดามีพระชนมายุถึง 62 พรรษา และทรงได?้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัชทายาทแทนองค์ชายหลิวจู พระเชษฐาที่ปลงพระชนม์ชีพพระองค์เองหลังจากก่อการจลาจลแล้วพ่ายแพ้ เมื่อพระราชบิดาสวรรคตเมื่อ 87 ปีก่อน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเจา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นเฉิง

ระสาทิสลักษณ์ของจักรพรรดิฮั่นเฉิงสมัยราชวงศ์เว่ยเหนือ สมเด็จพระจักรพรรดิเฉิงแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นเฉิงตี้ (51 ปีก่อน ค.ศ. - 7 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิฮั่น-ยฺเหวียนและหวังไทเฮามีพระนามเดิมว่าองค์ชายหลิวเอา เมื่อพระราชบิดาสวรรคตเมื่อ 33 ปีก่อน..องค์ชายหลิวเอาที่รัชทายาทพระชนม์เพียง 18 พรรษาจึงขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิฮั่นเฉิงในรัชกาลของพระองค์สกุลหวังของ หวังไทเฮาขึ้นมามีอำนาจอย่างมากในราชสำนักควบคุมทั้งขุนนางข้าราชการฯลฯโดยเฉพาะหลานชายของหวังไทเฮาที่ชื่อหวังหมั่ง(ภายหลังได้เป็นจักรพรรดิซินเกาจู่)จักรพรรดิฮั่นเฉิงเป็นจักรพรรดิที่วุ่นวายเรื่องผู้หญิงโดยเฉพาะพระสนม 2 พี่น้องที่เป็นนางรำทั้งคู่คนพี่ชื่อเจ้าเฟยเอี๋ยนและคนน้องชื่อเจ้าเหอเต๋อจักรพรรดิฮั่นเฉิงตี้สวรรคตเมื่อ7 ปีก่อน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเฉิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นเฉียนเฉ่า

สมเด็จพระจักรพรรรดิฮั่นเซาตี้ (?-184 ปีก่อนคริสตกาล) มีพระนามเดิมว่า หลิวกง เป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิฮั่นฮุ่ย ที่ประสูติแต่พระสนมเมื่อพระราชบิดาสวรรคต 188 ปีก่อนคริสตกาล (พ.ศ. 355) องค์รัชทายาทหลิวกงจึงเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่ง ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก มีพระนามว่า จักรพรรดิฮั่นเซาตี้ แต่ตลอดรัชกาลทรงเป็นเพียง จักรพรรดิหุ่นเชิด ที่อยู่ภายใต้อำนาจของไทเฮาลิ ทรงครองราชย์ได้เพียง 4 ปีก็สวรรรคตลงเพราะถูกสำเร็จโทษด้วยถูกกล่าวหาว่าพระสติวิปลาส และไทเฮาหลู่โปรดให้ลบชื่อจักรพรรดิองค์นี้ออกจากรายพระนามจักรพรรดิแห่ง ราชวงศ์ฮั่น และสถาปนาองค์ชายหลิวฮงพระราชนัดดาอีกพระองค์ขึ้นครองราชย์เป็น จักรพรรดิฮั่นเซ่าตี้ฮง แทน หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันตก หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเฉียนเฉ่า · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮั่นเซฺวียน

ักรพรรดิเซฺวียนแห่งราชวงศ์ฮั่น หรือ ฮั่นเซฺวียนตี้ (91 ปีก่อน ค.ศ. - 49 ปีก่อน ค.ศ.) ทรงพระนามเดิมว่า องค์ชายหลิวปิงอี้ เป็นพระโอรสขององค์ชายหลิวจุนซึ่งเป็นพระโอรสขององค์รัชทายาทหลิวจู โดยทั้งพระอัยกาและพระบิดาทรงปลงพระชนม์ชีพพระองค์เองหลังจากก่อการกบฏต่อ จักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ ผู้เป็นพระปัยกาไม่สำเร็จ องค์ชายหลิวปิงอี้ประสูติเมื่อ 91 ปีก่อน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฮั่นเซฺวียน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิผู่อี๋

มเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 มีพระนามเต็มว่า หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ (พระนามอังกฤษที่เรจินัล จอนสตันถวายให้) เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจูแห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง (นับเริ่มแต่จักรพรรดิซุ่นจื้อ) และเป็นองค์สุดท้าย (末代皇帝) ของประเทศจีนมีพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิผู่อี๋ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจิ่งไท่

องเต้จิ่งไท่ หรือ ฮ่องเต้หมิงไต้จง เป็นจักรพรรดิจีนราชวงศ์หมิง ในคราวที่บ้านเมืองกำลังวิกฤต ทรงยึดบัลลังก์จากพระเชษฐา ฮ่องเต้เจิ้งถง และขึ้นครองบัลลังก์เป็นฮ่องเต้จิ่งไถ่ แต่ภายหลังก็ทรงถูกฮ่องเต้เจิ้งถงยึดอำนาจคืน จูฉีอี้ (朱祁钰) เกิดเมื่อ พ.ศ. 1971 เป็นพระโอรสของ ฮ่องเต้ซวนเต๋อ กับสนมอู๋แต่ต้องอาศัยอยู่นอกวังเพราะสนมอู๋มีอดีตนางรับใช้เก่าของฮั่นอ๋อง ที่เคยก่อกบฏจะแย่งราชบัลลังก์จากฮ่องเต้ซวนเต๋อ จนฮ่องซวนเต๋อจวนจะสิ้นพระชนม์ มีพระราชโองการเรียกตัวสนมอู๋กับจูฉีอี้ยู่เข้าพระราชวังต้องห้าม และฝากฝังให้พระราชวงศ์ทุกพระองค์ยอมรับแม่ลูกคู่นี้ ว่าเป็นสนมและพระโอรสอย่างถูกต้อง เมื่อพระโอรสของพระเจ้าซวนเต๋อ คือ จูฉีเจิน ขึ้นครองราชย์เป็นฮ่องเต้เจิ้งถงใน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจิ่งไท่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจิ้นหมิง

จักรพรรดิจิ้นหมิง (ค.ศ. 299 - 18 ตุลาคม ค.ศ. 325) เป็นจักรพรรดิจีนรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จิ้นตะวันออก (Eastern Jin) มีพระนามเดิมว่าซือหม่า เซ่า หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์จิ้นตะวันออก.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจิ้นหมิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจิ้นหมิ่น

มเด็จพระจักรพรรดิจิ้นหมิ่นตี้ (ค.ศ. 313 - 316, พ.ศ. 856 - 859) จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์จิ้นตะวันตก ทรงครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิจิ้นหวยตี้ ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจิ้นหมิ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจิ้นหยวน

ักรพรรดิจิ้นหยวนตี้ (晋元帝/晉元帝, pinyin Jìn Yuándì, Wade-Giles Chin Yüan-ti) (ค.ศ. 276 - 3 มกราคม ค.ศ. 323) จักรพรรดิแห่งราชวงศ์จิ้น (Jin) และทรงเป็นจักรพรรดิองค์แรกแห่ง ราชวงศ์จิ้นตะวันออก (Eastern Jin) ทรงเป็นเหลนของสุมาอี้ (Sima Yi) มีนามว่า สุมารุย (หรือ ซือหม่ารุย) ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจิ้นหยวน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจิ้นหวย

มเด็จพระจักรพรรดิจิ้นหวยตี้(850-856)ประสูติเมื่อปี..284(พ.ศ. 827) ทรงขึ้นครองราชย์ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจิ้นหวย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจิ้นฮุ่ย

มเด็จพระจักรพรรดิจิ้นฮุ่ยตี้ (ค.ศ. 290 - ค.ศ. 307, พ.ศ. 833 - พ.ศ. 850)เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิจิ้นหวู่ตี้ประสูติเมื่อปี พ.ศ. 802 (ค.ศ.259) เสด็จขึ้นครองราชย์แทน จักรพรรดิจิ้นหวู่ตี้ พระราชบิดา ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจิ้นฮุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจิ้นเฉิง

ักรพรรดิจิ้นเฉิง (321 – 26 กรกฎาคม 342) พระนามเดิม สุมาเอี่ยน/ซือหม่าเอี่ยน จักรพรรดิองค์ที่ 8 แห่ง ราชวงศ์จิ้น และจักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่ง ราชวงศ์จิ้นตะวันออก เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ใน จักรพรรดิจิ้นหมิง ที่ประสูติแต่ จักรพรรดินีหมิงมู่ ได้รับการสถาปนาเป็นรัชทายาทเมื่อวันที่ 1 เมษายน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิจิ้นเฉิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังชาง

ักรพรรดิถังชาง (ค.ศ. 695 หรือ ค.ศ. 698 – 5 กันยายน ค.ศ. 714) จักรพรรดิองค์ที่7แห่งราชวงศ์ถังมีพระนามเดิมว่าหลี่ ฉงเม่า (李重茂) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิถังจงจงเมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังชาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังชุนจง

มเด็จพระจักรพรรดิถังชุนจง (ค.ศ. 761-806) ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังชุนจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังมู่จง

สมเด็จพระจักรพรรดิถังมู่จง (ค.ศ. 795-824) ทรงพระนามเดิมว่าหลี่เฮงเป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิถังเสียนจง ทรงครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาในปี ค.ศ. 820 เป็นจักรพรรดิถังมู่จงจักรพรรดิองค์ที่ 12 แห่ง ราชวงศ์ถัง ขณะพระชนม์ได้ 25 พรรษาตลอดรัชกาลมีการทุจริตอย่างมาก ในราชสำนักทำให้เศรษฐกิจย่ำแย่ประชาชนเดือดร้อนแต่พระองค์ก็มิได้สนใจสวรรคตเมื่อ ค.ศ. 824 ขณะพระชนม์ได้เพียง 29 พรรษาและครองราชย์เพียง 4 ปี ในรัชกาลนี้เป็นจุดกำเนิดแห่งความตกต่ำของราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังมู่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังยี่จง

จักรพรรดิถังยี่จง (28 ธันวาคม 833 – 15 สิงหาคม 873) พระนามเดิม หลี่เหวิน ต่อมาเปลี่ยนพระนามเป็น หลี่ฉุย จักรพรรดิองค์ที่ 19 แห่ง ราชวงศ์ถัง (ครองราชย์: 13 กันยายน 859 – 15 สิงหาคม 873) ในรัชสมัยของพระองค์นับได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นแห่งความเสื่อมถอยของราชวงศ์ถังเพราะทั้งขึ้นภาษีระดับมหาโหดเอาแต่ลุ่มหลงสุรานารีหากการแสดงใดถูกพระทัยก็จะพระราชทานยศขุนนางให้และผลาญพระราชทรัพย์ที่พระราชบิดาเก็บสะสมรวมถึงเกิดโรคระบาดไปทั่วทำให้เกิดกบฏทั่วแผ่นดิน หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังยี่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังรุ่ยจง

มเด็จพระจักรพรรดิรุ่ยจง (ค.ศ. 662-716) จักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่ง ราชวงศ์ถัง พระนามเดิมว่า หลี่ตั้น (李旦) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังรุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังอู่จง

ระสาทิสลักษณ์ของจักรพรรดิวู่จง จักรพรรดิถังวู่จง (2 กรกฎาคม 814 – 22 เมษายน 846) พระนามเดิม หลี่ฉาน เปลี่ยนเป็น หลี่ยาน เมื่อก่อนจะสวรรคต จักรพรรดิองค์ที่ 17 แห่ง ราชวงศ์ถัง (ครองราชย์: 20 กุมภาพันธ์ 840 – 22 เมษายน 846).

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังอู่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังจิงจง

มเด็จพระจักรพรรดิถังจิงจง (ค.ศ. 809–826) จักรพรรดิองค์ที่ 13 แห่งราชวงศ์ถังครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังจิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังจงจง

มเด็จพระจักรพรรดิถังจงจง (ค.ศ. 656–710) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่ง ราชวงศ์ถัง มีพระนามเดิมว่าหลี่เสี่ยน (李顯) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังจงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังซวนจง

จักรพรรดิถังซวนจง (ค.ศ. 810-859) ประสูติเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 810 ทรงพระนามเดิมว่า หลี่เฉิน เป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิถังเสียนจง ครองราชย์สืบต่อจาก จักรพรรดิถังหวู่จง พระราชนัดดาเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 846 สวรรคตเมื่อวันที่ 7 กันยายน ค.ศ. 859 ขณะพระชนม์เพียง 49 พรรษา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ถัง หมวดหมู่:พุทธศาสนิกชนชาวจีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังซวนจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังซู่จง

มเด็จพระจักรพรรดิซู่จง (ค.ศ. 711-762) จักรพรรดิองค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ถัง มีพระนามเดิมว่าองค์ชายหลี่เฮิง (李亨) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังซู่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังซีจง

มเด็จพระจักรพรรดิถังซีจง (ค.ศ. 873-887, พ.ศ. 1416-1430) ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังซีจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังไอ

มเด็จพระจักรพรรดิถังไอตี้ (ค.ศ. 904-907, พ.ศ. 1447-1450) จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ถัง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังไอ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังไท่จง

มเด็จพระจักรพรรดิถังไท่จง (1170-1186) พระนามเดิม หลี่ซื่อหมิน จักรพรรดิองค์ที่สองแห่งราชวงศ์ถังของประเทศจีน (ราว 1,600 ปี) ได้ยึดถือหลักคำสอนเรื่องนี้ของบรมครูขงจื่อในการ ปกครองประเทศจีน และทำให้ประเทศจีนในยุคที่พระองค์ทรงปกครองรุ่งเรืองที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ 5 เป็นประเทศมหาอำนาจของโลกในยุคสมัยของพระองค์ราชวงศ์ถังนั้นยิ่งใหญ่มากมายนั้นเลยก็ว่าได้ แม้ว่าพระองค์มีพระราชอำนาจสูงสุด สามารถตัดสินพระทัยสั่งการใด ๆ ก็ได้ พระองค์ก็ทรงมิได้ปฏิบัติเช่นนั้น พระองค์จะไต่ถามความเห็นของเหล่าเสนาบดี และที่ปรึกษาของพระองค์ก่อนที่จะตัดสินพระทัยเสมอ โดยเฉพาะที่ปรึกษาท่านหนึ่ง นาม เว่ยเจิง ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นที่ปรึกษาของพี่ชายพระองค์ที่เป็นรัชทายาท และได้แนะนำให้พี่ชายของพระองค์ วางแผนสังหารพระองค์ เนื่องจากที่ปรึกษาท่านนี้มองเห็นว่า พระองค์จะเป็นภัยก่อการขบถยึดราชบัลลังก์ของพี่ชาย เนื่องจากถังไท่จงเหนือชั้นกว่า จึงวางแผนซ้อนแผน แทนที่พระองค์จะถูกสังหาร พี่ชายของพระองค์กลับถูกปลิดพระชนม์ชีพแทน แต่ถังไท่จงรับสั่งมิให้ทหารของพระองค์ทำร้ายที่ปรึกษาผู้นั้น นอกจากไม่ทำร้ายแล้ว พระองค์ยังทรงแต่งตั้งเขาขึ้นเป็นประธานที่ปรึกษา เมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์สืบต่อจากพระราชบิดาอีก ด้วยเหตุผลก็คือ พระองค์ท่านจะได้มีที่ปรึกษาอย่างน้อยหนึ่งท่านที่คิดแตกต่าง หรือไม่เหมือนกับที่พระองค์คิด กล้าคัดค้านพระองค์อย่างตรงไปตรงมาโดยไม่เกรงกลัว หรือหวาดหวั่นต่อพระราชอำนาจ จักรพรรดิถังไท่จงได้รับการยกย่องจากนักประวัติศาสตร์ให้เป็นมหาจักรพรรดิของจีนเพราะพระองค์แตกต่างจากจักรพรรดิทั้งปวง กล่าวคือ ไม่ว่าเชื้อพระวงศ์ก็ดี หรือเสนาบดีก็ดี หรือที่ปรึกษาก็ดีไปแอบนินทา ให้ร้ายพระองค์ลับหลัง พระองค์ก็จะทรงลงพระอาญา เพราะถือว่า พระองค์ทรงให้โอกาสวิพากษ์วิจารณ์อย่างเปิดเผย และถูกต้องแล้วบุคคลเหล่านี้กลับไม่ทำ หรือไม่ใช้โอกาสดังกล่าว กลับมาแอบทำลับหลังพระองค์ จึงต้องถูกลงโทษให้เป็นเยี่ยงอย่าง ส่วนผู้ที่กล้าวิพากษ์วิจารณ์ หรือคัดค้านพระองค์ต่อหน้าพระพักตร์อย่างชนิดตรงไปตรงมา อย่างเช่น อดีตที่ปรึกษาของพระเชษฐาขององค์จักรพรรดิถังไท่จงก็ทรงปูนบำเหน็จรางวัลให้เพื่อให้บรรดาเหล่าขุนนาง หรือข้าราชบริพารมีความกล้าที่จะใช้โอกาสดังกล่าวคัดค้านพระองค์ด้วยเหตุด้วยผล ไม่ใช่ไปแอบทำข้างหลัง นอกจากนั้นพระองค์ก็ทรงปลอมเป็นสามัญชนไปกับประธานที่ปรึกษาออกตระเวนเยี่ยมประชาชนของพระองค์ และตรวจงานการปฏิบัติราชการของ เหล่าข้าราชบริพารเป็นประจำทุกปี เพื่อจะได้ทรงทราบว่า บรรดารายงานของข้าราชการที่ส่งไปให้พระองค์ทรงอ่านที่เมืองหลวงนั้นมีความถูกต้อง สอดคล้องกับความเป็นจริงมากเพียงใด ไม่ใช่ทรงอยู่แต่ในวังหลวงพึ่งพารายงานจากข้าราชการอย่างเดียว บางครั้ง หากพระองค์ประชวร พระองค์ก็จะทรงส่งประธานที่ปรึกษาของพระองค์ออกทำงานแทนพระองค์ จักรพรรดิถังไท่จงถือว่าประชาชนมีความสำคัญกว่าพระองค์ และพระราชวงศ์ เวลาพระองค์จะตัดสินพระทัยทำอะไร ก็มักจะมองไปที่ผลประโยชน์ของประชาชนก่อนเสมอ ก่อนที่จะขึ้นครองราชย์นั้น พระองค์มีพระนามว่า "หลี ซื่อ หมิน" ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังไต้จง

มเด็จพระจักรพรรดิถังไต้จง (ค.ศ. 762-779, พ.ศ. 1305-1322) จักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ถัง มีพระนามเดิมว่าองค์รัชทายาทหลี่อวี่ (李豫) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังไต้จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเกาจู่

มเด็จพระจักรพรรดิถังเกาจู่ มีพระนามเดิมว่า หลี่ยวน (李淵) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังเกาจู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเกาจง

มเด็จพระจักรพรรดิเกาจง (ค.ศ. 649-683, พ.ศ. 1192-1226) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ถัง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังเกาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเสฺวียนจง

thumb จักรพรรดิถังเสฺวียนจง (ค.ศ. 685–762) จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ถัง เป็นโอรสในจักรพรรดิถังรุ่ยจง มีพระนามเดิมว่า หลี่หลงจี ภายหลังรัชกาลของบูเช็กเทียน สภาพการเมืองภายในราชสำนักปั่นป่วนวุ่นวาย เนื่องจากถังจงจงอ่อนแอ อำนาจทั้งมวลตกอยู่ในมือของเหวยฮองเฮา(韦皇后)ที่คิดจะยิ่งใหญ่ได้เช่นเดียวกับบูเช็กเทียน เหวยฮองเฮาหาเหตุประหารรัชทายาท จากนั้นในปี 710 วางยาพิษสังหารถังจงจง โอรสองค์ที่สามของถังรุ่ยจง นามหลี่หลงจี(李隆基)ภายใต้การสนับสนุนขององค์หญิงไท่ผิง(太平公主)ชิงนำกำลังทหารบุกเข้าวังหลวงสังหารเหวยฮองเฮาและพวก ภายหลังเหตุการณ์องค์หญิงไท่ผิงหนุนถังรุ่ยจงขึ้นครองราชย์ แต่งตั้งหลี่หลงจีเป็นรัชทายาท แต่แล้วองค์หญิงไท่ผิงพยายามเข้ากุมอำนาจเบ็ดเสร็จ แต่เกิดขัดแย้งกับรัชทายาทหลี่หลงจี ปี 712 ถังรุ่ยจงสละราชย์ให้กับโอรส หลี่หลงจีเมื่อขึ้นครองราชย์ทรงพระนามว่า ถังเสวียนจง (唐玄宗) สิ่งแรกที่กระทำคือกวาดล้างขุมกำลังขององค์หญิงไท่ผิง นำพาสันติสุขกลับคืนมาอีกครั้ง ตลอด 32 ปีในรัชสมัย ทรงปฏิรูปการปกครองกวาดล้างขุนนางกังฉิน ทรงทำให้ฉางอานกลายเมืองศูนย์กลางของโลกในขณะนั้น ประชากรในเมืองฉางอานสูงกว่า1ล้านคน เป็นปลายทางของเส้นทางสายไหม และยังเป็นจุดหมายปลายทางของพวกพ่อค้าชาวตะวันตก ต้าถังในรัชสมัยของพระองค์เจริญรุ่งเรือง เต็มไปด้วยนักดนตรี นักประพันธ์ เจริญด้วยวรรณกรรม วรรณคดีมากมาย สังคมงสบสุข พระบารมีแผ่ขยายไปกว้างไกล ประวัติศาสตร์ยุคนี้ได้รับการขนานนามว่า "ปฐมศักราชแห่งความรุ่งโรจน์" นอกจากนี้ยังมีนักศึกษาต่างชาติพากันลั่งไหลเข้ามาเรียนรู้ในผ่นดินต้าถังนตลอดไม่ขาดสาย ฉางอานเมืองหลวงของต้าถังในขณะนั้น กลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของโลกมีความเจริญในทุกๆด้าน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังเสฺวียนจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเสียนจง

มเด็จพระจักรพรรดิถังเสี้ยนจง (ค.ศ. 778 – 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 820) เป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิถังชุนจงและหวังไทเฮา มีพระนามเดิมว่า หลี่ชุน (李純) เมื่อพระราชบิดาสละราชสมบัติลงในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังเสียนจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเหวินจง

มเด็จพระจักรพรรดิถังเหวินจง ประสูติในปลายปี ค.ศ. 809 ทรงครองราชย์ต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิมู่จงในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังเหวินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเจาจง

สมเด็จพระจักรพรรดิถังเจาจง (ค.ศ. 888-904, พ.ศ. 1431-1447) ทรงครองราชย์ต่อจากจักรพรรดิถังซีจง ตลอดรัชกาลของจักรพรรดิถังเจาจง อำนาจอยู่ในกำมือของจูเหวียนจง หรือจูเวิน ในปีที่ 15 ของรัชกาล ทั้งพระองค์และเสนาบดีชุยยิ่นขอกำลังจากจูเฉวียนจง ให้ปราบปรามขันที เมื่อปราบปรามกวาดล้างขันทีได้แล้วทำให้สิ้นสุดยุคขันทีครองเมือง แต่ในปีต่อมาถังเจาจงทรงถูกสังหารโดยจูเฉวียนจง พร้อมกับเสนาบดีชุยยิ่น จูเฉวียนจงได้ตั้งโอรสชันษา 13 พรรษาของถังเจาจงขึ้นเป็นจักรพรรดิถังไอตี้ หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ถัง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังเจาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเต๋อจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิถังเต๋อจง (ค.ศ. 779-805) ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถังเต๋อจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถงจื้อ

มเด็จพระจักรพรรดิถงจื้อขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุ 5 พรรษา ถึงแม้ว่าพระองค์จะครองราชย์ได้เพียง 12 ปี พระองค์ก็จัดได้ว่าเป็นจักรพรรดิที่พยายามจะบริหารประเทศให้ดีองค์หนึ่ง แต่ก็ถูกซูสีไทเฮายึดอำนาจไว้ ทำให้พระองค์ไม่สามารถใช้ความสามารถได้อย่างเต็มที่ เพราะพระนาง ซูสีไทเฮาเห็นว่า พระองค์นั้นไร้ซึ่งความสามารถวันๆก็เอาแต่แอบหนีออกไปเที่ยวนอกวัง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิถงจื้อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคังซี

ักรพรรดิคังซี (Enkh Amgalan Khaan) หรือพระนามเต็ม อ้ายซินเจฺว๋หลัวเสฺวียนเย่ (愛新覺羅玄燁 Àixīn-Juéluó Xuányè) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์ชิง เป็นพระโอรสของจักรพรรดิซุ่นจื้อ จักรพรรดิองค์ที่ 3 ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่พระชนมายุเพียง 8 พรรษา ในปี พ.ศ. 2204 (ค.ศ. 1661) ภายหลังการสวรรคตของพระราชบิดา จักรพรรดิคังซีมีพระปรีชาสามารถตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ทรงฉายแววความเป็นผู้นำมาตั้งแต่เด็ก โดยโปรดการเรียนรู้ศิลปะ วิทยาการต่าง ๆ ทั้งของในประเทศ และนอกประเทศ โดยพระองค์อยู่ภายใต้การอุปการะดูแลของไท่หวงไทเฮา ผู้เป็นพระอัยยิกาของพระองค์ ในรัชสมัยซุ่นจื่อปีที่ 18 เกิดโรคฝีดาษระบาดที่กรุงปักกิ่ง ได้ระบาดมาในนครต้องห้าม ช่วงนั้นองค์ซุนจื่อ ติดโรคร้ายนี้สวรรคต ก่อนสวรรคตได้ตั้งพระราชโอรสองค์ที่3 เสฺวียนเย เป็นองค์รัชทายาทและได้ตั้งองคมนตรี สี่คนซึ่งเป็นขุนนางที่ไว้ใจที่สุด สี่องคมนตรีได้แก่ เอ๋าไป้ สั่วหนี ซัวเค่อซ่าฮ่า เอ่อปี๋หลง เมื่อพระองค์ทรงออกว่าราชการเองเมื่อพระชนมายุได้ 13 พรรษา เมื่อพระชนมายุได้ 19 พรรษา สั่วหนี ประธานองคมนตรีได้ถึงแก่กรรม เอ๋าไป้ (鳌拜) ซึ่งเป็นขุนนางที่รับราชการมาแต่ครั้งจักรพรรดิไท่จง จักรพรรดิองค์ที่ 2 ของราชวงศ์ชิง เอ๋าไป้ เป็นขุนนางที่สำคัญตนว่าเป็นผู้นำองคมนตรีในตอนนั้นมีผู้ให้การยอมรับนับถือจำนานมาก จึงได้กระทำการอย่างไม่เหมาะสมทั้งต่อหน้าและลับหลังพระองค์หลายครั้ง จนในที่สุดก็ก่อการกบฏขึ้น แต่แผนการทั้งหมดได้ถูกทำลายลงโดย อู๋หลิวยิ สั่วเอ๋อถู และกลุ่มขุนนางภักดี รัชสมัยของจักรพรรดิคังซีนับเป็นระยะเวลาวิกฤตของราชวงศ์ชิง เพราะมีการต่อสู้ระหว่างชาวฮั่นที่ต้องการกู้ราชวงศ์หมิง รวมถึงชนเผ่าอื่น ๆ ที่ต้องการก่อกบฏ จักรพรรดิคังซีทำสงครามภายในประเทศยาวนานถึง 8 ปี จึงพิชิตแคว้นต่าง ๆ ได้ราบคาบ ก่อนที่พระองค์จะมีพระชนมายุ 30 พรรษา ทั้งขยายอาณาเขตถึงมองโกเลียและทิเบต หนึ่งในนโยบายสร้างความมั่นคงก็คือ สร้างสัมพันธ์กับชาวแมนจูที่อาศัยทางเหนือแต่เดิมให้แข็งแกร่ง ส่งอาวุธและกำลังพลไปรักษาชายแดนแถบนี้บ่อยครั้งเพื่อป้องกันการรุกรานจากชนเผ่าอื่น อีกทั้งยังทรงออกทัพเอง และได้ทำสงครามกับรัสเซียในยุคสมัยของพระเจ้าปีเตอร์มหาราช และได้รับชัยชนะด้วย ซึ่งสงครามได้จบลงที่การสร้างสัมพันธไมตรีต่อกัน รวมถึงการยกทัพบุกพม่า ทำให้จีนในยุคนี้เข้มแข็งและยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ริ้วขบวนบางส่วนของจักรพรรดิคังซีเสด็จนิวัติกรุงปักกิ่ง หลังจากเสด็จประพาสแดนใต้ ขณะเดียวกันเสด็จประพาสดินแดนทางใต้ถึง 6 ครั้ง เพื่อทอดพระเนตรความเจริญ รุ่งเรืองด้านศิลปะและวิชาการของแดนใต้ และสำรวจปัญหาน้ำท่วมไร่นาของชาวนา ซึ่งต่อมาทรงส่งเสริม การสร้างเขื่อนและให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตรกับชาวนา จักรพรรดิคังซีฉลองพระองค์เครื่องแบบทหาร จักรพรรดิคังซีนับเป็นอัจฉริยบุคคล ทรงศึกษาความผิดพลาดของพวกมองโกล ช่วงที่ปกครองชาวฮั่น จึงเปลี่ยนจากวิธีการใช้ไม้แข็งเป็นไม้อ่อน เกลี้ยกล่อมให้เหล่าปราชญ์ราชบัณฑิตที่หนีภัยยุคต้นราชวงศ์สิ้นอำนาจกลับมารับราชการใหม่ ทรงสถาปนากรมจิตรกรรมที่รู้จักในนาม สถาบันจิตรกรรมหัวหยวน คล้ายที่เคยมีในสมัยราชวงศ์ซ่ง นอกจากนี้ทรงดูแลเหล่าปราชญ์และศิลปินอย่างเกษมสำราญ มอบหมายงานให้ทำอย่างเต็มที่ ไม่ว่าด้านสถาปัตยกรรมหรือประวัติศาสตร์ โดยชิ้นที่สำคัญที่สุด คือการจัดทำ พจนานุกรมรวบรวมภาษาจีน ที่เรียกกันว่า พจนานุกรมคังซี ชีวิตส่วนพระองค์ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นจักรพรรดินักรักพระองค์หนึ่ง มีพระสนมราว 35 คน พระโอรสและพระธิดาราว 55 องค์ จนปลายรัชสมัยเกิดการชิงบัลลังก์เป็นที่วุ่นวาย ผลสุดท้ายองค์ชาย 4 ได้ขึ้นครองบัลลังก์เป็นจักรพรรดิหย่งเจิ้งในเวลาต่อมา รัชสมัยของจักพรรดิคังซีตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและราชวงศ์บ้านพลูหลวงของอาณาจักรอยุธยา จักรพรรดิคังซีสวรรคตในปี พ.ศ. 2265 (ค.ศ. 1722) รวมระยะเวลาครองราชย์ยาวนานถึง 61 ปี นับเป็นจักรพรรดิที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดพระองค์หนึ่งในประวัติศาตร์จีน ในยุคสมัยของพระองค์มีเรื่องการเกิดขึ้นต่าง ๆ มากมายเช่น ในนวนิยายต่างๆ ระบุว่าพระองค์นั้นสวรรคตจากการปลงพระชนม์ขององค์ชายสี่ หรือหย่งเจิ้น แต่ปัจจุบันมีการสันนิษฐานว่าพระองค์สวรรคตจากชราภาพเอง เป็นที่เลื่องลือจนถึงปัจจุบัน มีวรรณกรรมต่าง ๆ มากมายที่บอกเล่าถึงยุคสมัยนี้ ไม่ว่าจะเป็น นิยาย ละครโทรทัศน์ หรือ ภาพยนตร์ ที่มีการจัดสร้างหลายต่อหลายครั้งแม้ในปัจจุบัน เรื่องที่มีชื่อเสียงมากคือ นิยายกำลังภายในอิงประวัติศาสตร์ของ กิมย้ง เรื่อง อุ้ยเสี่ยวป้อ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิคังซี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฉินที่ 2

ักรพรรดิฉินที่ 2 หรือ จักรพรรดิหูไห่ มีพระนามเดิมว่าองค์ชายหูไห่ เป็นพระราชโอรสองค์รองของ จิ๋นซีฮ่องเต้ ประสูติเมื่อปี 229 ปีก่อน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฉินที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฉินที่ 3

ักรพรรดิฉินที่ 3 หรือ จักรพรรดิเจ้าอิง มีพระนามเดิมว่าเจ้าอิง เป็นพระราชภาติยะของ จักรพรรดิฉินที่ 2 (หูไห่) ซึ่งพระองค์เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายฝูซู อดีตรัชทายาท เจ้าเกา มหาขันที ผู้ทรงอิทธิพลใน ราชสำนักฉิน ได้แต่งตั้งพระองค์เป็นจักรพรรดิ หลังจากการปลงพระชนม์จักรพรรดิฉินที่ 2 (หูไห่) พระราชกรณียกิจแรกของพระองค์ คือทรงสั่งประหารชีวิตเจ้าเกาแต่หลังจากนั้นมิได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจอันใดอีกเลย จนเมื่อ หลิวปัง เข้ายึดนครหลวงเสียนหยางได้ พระองค์จึงประกาศสละราชสมบัติให้และทำให้ราชวงศ์ฉินล่มสลายลง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฉินที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฉงเจิน

ักรพรรดิฉงเจิน (6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1610-25 เมษายน ค.ศ. 1644) จักรพรรดิองค์ที่ 17 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์หมิง เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิไท่ชาง และเป็นพระราชอนุชาในจักรพรรดิเทียนฉี เมื่อพระเชษฐาสวรรคตในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิฉงเจิน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซุ่นจื้อ

มเด็จพระจักรพรรดิซุ่นจื้อ จักรพรรดิองค์ที่ 3 ของราชวงศ์ชิง แต่ในบางครั้งจะนับพระองค์เป็น ปฐมจักรพรรดิ ของราชวงศ์ชิง ด้วยทรงเป็นจักรพรรดิแมนจูพระองค์แรกที่ได้ประทับในพระราชวังต้องห้ามที่กรุงปักกิ่ง และราชวงศ์หมิงถึงกาลสิ้นสุดอย่างแท้จริง มีพระนามเดิมว่า อ้ายซินเจี๋ยว์หลอ ฝูหลิน (爱新觉罗福临) ซึ่งเป็นพระโอรสคนที่ 9 ของหวงไท่จี๋ ทรงขึ้นครองราชย์เพียงพระชนมพรรษา 6 ขวบ ในปี พ.ศ. 2186 (ค.ศ. 1643) หลังการสวรรคตของจักรพรรดิหวงไถจี๋ พระราชบิดา และ เซี่ยวจวงก็เลื่อนศักดิ์ขึ้นมาเป็นไทเฮา โดยมีตัวเอ่อกุ่นที่มีศักดิ์เป็นพระปิตุลาเป็นผู้สำเร็จราชการ (摄政王) และมีเจิ้งชินหวัง (郑亲王) คอยให้การช่วยเหลือ ตั่วเอ่อกุ่นได้พยายามยึดกุมอำนาจปกครองอันแท้จริงเอาไว้ อีกทั้งยังตั้งตนเองเป็นพระราชบิดา ควบคุมกองทัพกองธงไว้ถึง 3 กองธง ในขณะที่ฮ่องเต้ปกครองอยู่เพียง 2 กองธง พระองค์ต้องอยู่ใต้การสำเร็จราชการแผ่นดินของตั่วเอ่อกุ่น พระอนุชาต่างพระมารดาของพระราชบิดา ซึ่งตั่วเอ่อกุ่นนับว่าเป็นบุคคลที่มีอิทธิพลอย่างมาก อีกทั้งยังมีสิทธิ์ที่จะได้ขึ้นครองราชย์อีกด้วย ตั่วเอ่อกุ่นได้กระทำการหลายอย่างที่จะไม่ให้พระองค์เจริญชันษามาด้วยความปรีชาสามารถ เช่น ไม่สนับสนุนให้ทรงเล่าเรียน เป็นต้น แต่ทว่า อำนาจของตั่วเอ่อกุ่นก็ถูกคานจาก พระนางเสี้ยวจวงไทเฮา (孝庄太后)พระมารดา กระทั่งปี..1650 เมื่อตัวเอ่อกุ่นเสียชีวิตลง ซุ่นจื้อที่เริ่มหลุดจากการเป็นหุ่นเชิด ได้ประกาศราชโองการยกเลิกตำแหน่ง บรรดาศักดิ์ และริบทรัพย์ทั้งหมดของตัวเอ่อกุ่นเป็นการลงโทษในข้อหาใช้อำนาจบาตรใหญ่ในขณะที่มีชีวิตอยู่ นอกจากนั้นยังลือกันว่ามีการขุดศพของตัวเอ่อกุ่นขึ้นมาทำการตีด้วยไม้และโบยด้วยแส้อีกด้วย หลังจากนั้น เพื่อให้อำนาจกลับคืนสู่ฮ่องเต้อย่างแท้จริง ซุ่นจื้อยังได้ทำการปลดองค์ชายและเชื้อพระวงศ์หลายคนที่เคยดูแลหน้าที่ในกระทรวงต่างๆ อีกทั้งเพื่อลดความขัดแย้งระหว่างชนชาติ จึงทรงมีรับสั่งให้มีการหยุดการเวนคืนที่ดินจากประชาชน ผ่อนปรนกฎหมายคนหลบหนี ผลักดันวัฒนธรรมชาวฮั่น ซึ่งการยกย่องวัฒนธรรมของชาวฮั่นกับความคิดในการปฏิรูปเพื่อให้แมนจูกับชาวฮั่นสามารถอยู่ร่วมกันของซุ่นจื้อ ได้ก่อให้เกิดความขัดแย้งกับขุนนางใหญ่จำนวนไม่น้อย ความผิดหวังในทางการเมือง ได้ทำให้ซุ่นจื้อหันมาทุ่มเทให้กับความรักให้กับพระมเหสีต่งเอ้อ พระสนมต่งเอ้อ โดยเล่าขานกันว่า พระมเหสีต่งเอ้อเดิมเป็นน้องสะใภ้ของซุ่นจื้อ เป็นภรรยาของป๋อมู่ป๋อกั่วเอ่อ (博穆博果尔) แต่มีความสนิทสนมใกล้ชิดกับซุ่นจื้อมาก หลังป๋อกั่วเอ่อเสียชีวิตในปีซุ่นจื้อที่ 13 ฮ่องเต้ซุ่นจื้อจึงได้แต่งตั้งนางให้เป็นพระสนมของตน หลังจากเป็นสนมของซุ่นจื้อได้หนึ่งปี พระมเหสีต่งเอ้อก็ได้ให้กำเนิดพระโอรส ซึ่งเดิมจะได้รับการแต่งตั้งเป็นรัชทายาท ทว่าพระโอรสพระองค์นี้กลับเสียชีวิตไปเมื่ออายุได้เพียง 3 เดือน ทำให้พระมเหสีต่งเอ้อตรอมใจจนสิ้นพระชนม์ และได้รับการอวยยศตามหลังจากเซี่ยวจวงฮองไทเฮา ให้เป็นเสี้ยวเซี่ยนตวนจิ้งฮองเฮา จักรพรรดิซุ่นจื้อครองราชย์ถึงปีที่ 18 (ค.ศ. 1661) ก็สวรรคตไปด้วยพระชนมายุเพียง 24 พรรษา ทว่าการสวรรคตของพระองค์กลับเป็นปริศนาถูกกล่าวขานไว้หลายรูปแบบ โดยบ้างระบุว่าพระองค์เสียพระทัยกับการสูญเสียพระสนมและพระโอรส ทำให้ร่างกายและจิตใจได้รับความกระทบกระเทือน และสิ้นพระชนม์ด้วยโรคฝีดาษ (ไข้ทรพิษ)ในปี พ.ศ. 2204 (ค.ศ. 1661) ในขณะที่บันทึกของชาวบ้านกลับระบุว่า พระองค์ทรงมีความฝักใฝ่ในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า สุดท้ายเมื่อสูญเสียพระสนมอันเป็นที่รัก จึงได้ออกผนวช ณ เขาอู่ไถ (五台山) และต่อมาพระโอรสลำดับที่ 3 ของพระองค์ ที่ประสูติแต่ พระมเหสีคัง คือ องค์ชายเสวียนเยว่ (玄燁) พระชนมายุเพียง 8 พรรษา ได้ขึ้นครองราชย์เป็นฮ่องเต้คังซีตามพระพินัยกรรมของซุ่นจื้อในนาม จักรพรรดิคังซี ซึ่งต่อมาทรงเป็นจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ของราชวงศ์ชิง และพระนางเสี้ยวจวงก็เป็นผู้อุปการะพระองค์มาโดยตลอด และได้เลื่อนพระอิสริยยศเป็นไท่หวงไท.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซุ่นจื้อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งชินจง

thumb จักรพรรดิซ่งชินจง (ค.ศ.1100 - 1161, พ.ศ. 1643 - 1704) จักรพรรดิองค์ที่ 9 แห่ง ราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นพระราชโอรสองค์โตของจักรพรรดิ ซ่งฮุ่ยจง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งชินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งกวงจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกวงจง (พ.ศ. 1732 - 1737)ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งกวงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งกง

200px สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งกงตี้ (ค.ศ. 1274-1276) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 16 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์สืบต่อจากจักรพรรดิซ่งตู้จง ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งกง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งลี่จง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งลี่จง เป็นจักรพรรดิองค์ที่14แห่งราชวงศ์ซ่งและองค์ที่5แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ทรงขึ้นครองราชย์แทนซ่งหนิงจงพระราชบิดา ที่สวรรคตลงในปี..1224(พ.ศ. 1767)ทรงครองราชย์ 40ปี โดยสิริพระชนมายุ 59 ปี ซ่งลี่จงพระนามเดิม จ้าว หยูอิง เดิมทีพระองค์ทรงมิใช่ราชทายาท แต่เป็นพระญาติของซ่งหนิงจง โดยพระองค์ทรงเป็นลูกหลานรุ่นที่ 10 ของจ้าว ควงอิ้นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ซ่งและสืบเชื้อสายมาจากจ้าว เต๋อเจ้า(เหยียนหวาง 燕王) จ้าว หยูอิงเป็นบุตรของจ้าว ซีหลู่(赵希瓐) จ้าว ซีหลู่เป็นเพียงขุนนางเล็กๆ ไม่มียศฐาบรรดาศักดิ์ใดๆใช้ชีวิตไม่ต่างจากประชาชนธรรมดาโดยทั่วไป จ้าว หยูอิงอายุได้ 7 ขวบจ้าว ซีหลู่ก็ตายจากไปแม่ของจ้าว หยูอิงจึงได้พาเขากับน้องชาย(จ้าว หยู่รุย)กลับไปอยู่บ้านทางฝ่ายแม่ที่เซาซิง จนอายุได้ 16 ปี โดยซ่งหนิงจงมีราชโองการให้อำมาตย์สือ หมี่หยวนไปเสาะหาเชื้อสายของราชวงศ์ สือ หมี่หยวนได้สั่งให้หยู เทียนซีไปดำเนินการ ในระหว่างทางทีหยู เทียนซีกลับไปบ้านเกิดก็ได้พบกับพี่น้องจ้าว หยูอิงจึงได้สอบถามพบว่าจ้าว หยูอิงมีเชื้อสายของราชวงศ์แท้จริง จึงได้นำพาจ้าว หยูอิงกับน้องชาย(จ้าว หยู่รุย)กลับมารายงานต่ออำมาตย์สือ หมี่หยวนที่เมืองหลินอัน ในปี..1221 จ้าว หยูอิงถูกเรียกตัวเข้าวังและได้รับพระราชทานนามใหม่ กุ่ยเฉิง(贵诚)และขึ้นครองราชย์ในเวลาต่อม.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งลี่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งหนิงจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งหนิงจง(1711-1767)ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งหนิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งอิงจง

thumb จักรพรรดิซ่งอิงจง เป็นเชื้อพระวงศ์ที่ ซ่งเหยินจง ทรงนำมาเป็นพระราชบุตรบุญธรรม ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งอิงจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง

thumb ซ่งฮุ่ยจง (ค.ศ. 1100 - ค.ศ. 1126, พ.ศ. 1643- พ.ศ. 1669)ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งตู้จง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งตู้จง ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 15 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ทรงครองราชย์ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งตู้จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งตี้ปิง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งตี้ปิง (ค.ศ. 1271-ค.ศ. 1279) จักรพรรดิองค์ที่ 18 แห่งราชวงศ์ซ่งเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 9 และองค์สุดท้ายแห่ง ราชวงศ์ซ่งใต้ประสูติใน ปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งตี้ปิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งต้วนจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งต้วนจง (พ.ศ. 1811 -พ.ศ. 1821) จักรพรรดิองค์ที่17แห่งราชวงศ์ซ่งและจักรพรรดิองค์ที่8แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ประสูติในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งต้วนจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งไท่จู่

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จู่ จ้าว ควงอิ้น ตามสำเนียงกลาง หรือ เตียคังเอี๋ยน ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (พระบรมราชสมภพ 21 มีนาคม ค.ศ. 927 – เสด็จสวรรคต 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 976) หรือมักเรียกด้วยนามพระอารามประจำรัชกาลว่า ไท่จู่ ตามสำเนียงกลาง หรือ ไทโจ๊ว ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (Tàizǔ) เป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ซ่งในจักรวรรดิจีนโบราณ เสวยราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งไท่จู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งไท่จง

220px สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งไท่จง (1482-1540) มีพระนามเดิมว่า เจ้ากวงอี้ ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเกาจง

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งเกาจง (12 มิถุนายน ค.ศ. 1107 – 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1187) พระนามเดิม "เจ้าโก้ว" ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ซ่งของประเทศจีน และเป็นจักรพรรดิองค์แรกของแห่งราชวงศ์ซ่งใต้ ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งเกาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเสินจง

ักรพรรดิซ่งเสินจง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งเสินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเสี้ยวจง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิเสี้ยวจง (พ.ศ. 1705-1732) จักรพรรดิองค์ที่ 11 แห่งราชวงศ์ซ่ง และจักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์ซ่งใต้ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งเสี้ยวจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเหรินจง

หรินจง เป็นจักรพรรดิรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์ซ่งเหนือของจีน ประสูติเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งเหรินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเจินจง

มเด็จพระจักรพรรดิเจินจง (23/12/968年-23/3/1022年) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิซ่งไท่จง (เจ้า ควงอี้) และเป็นพระราชภาติยะในจักรพรรดิซ่งไท่จู่ (เจ้า ควงอิ้น) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ซ่งเหนือ เมื่อพระราชบิดาสวรรคตลง ทรงขึ้นครองราชย์แทนในปี ค.ศ. 997 (พ.ศ. 1540) ขณะพระชนม์ 29 พรรษา พระองค์เสด็จสวรรคต ค.ศ. 1022 (พ.ศ. 1565) สิริพระชนมายุได้ 54 พรรษา ทรงครองราชย์ได้ 25 ปี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งเจินจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิซ่งเจ๋อจง

มเด็จพระจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง สมเด็จพระจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง (ค.ศ. 1075 - ค.ศ. 1100, ทรงครองราชย์ ค.ศ. 1085 - ค.ศ. 1100) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ซ่งเหนือ เป็นพระราชโอรสใน จักรพรรดิซ่งเสินจง กับพระสนมซู ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1075 (พ.ศ. 1618) และเมื่อจักรพรรดิซ่งเสินจงพระราชบิดาเสด็จสวรรคตลงขณะพระชันษา 10 พรรษา พระองค์จึงขึ้นครองราชย์แทนในปี ค.ศ. 1085 (พ.ศ. 1628) แต่เนื่องจากพระองค์ยังทรงพระเยาว์พระพันปีหลวง เกาจึงทรงเป็นผู้สำเร็จราชการและที่ปรึกษาราชกิจ และเมื่อทรงบรรลุนิติภาวะทรงสนับสนุนแนวทางอนุรักษ์แบบเก่าที่นำโดยซือหม่ากวงและทำให้แนวทางปฏิรูปของหวังอันสือยุติลง ส่วนเกาไทเฮาสิ้นพระชนม์ลงในปี ค.ศ. 1093 (พ.ศ. 1636) อันเป็นปีที่ 8 ในรัชกาล องค์จักรพรรดิซ่งเจ๋อจงครองราชย์ได้ 15 ปี สวรรคตลงเมื่อปี ค.ศ. 1100 (พ.ศ. 1643) ขณะพระชนม์เพียง 25 พรรษาจักรพรรดิซ่งฮุ่ยจงพระราชอนุชาจึงขึ้นครองราชย์สืบต่อ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิซ่งเจ๋อจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโจวหมิง

ักรพรรดิหมิงแห่งราชวงศ์โจว หรือ โจวหมิงตี้ (ค.ศ. 534 - 560) จักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์เป่ยโจว ทรงพระนามเดิมว่า "อี้ว์เหวินอวี่" (Yuwen Yu) ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิโจวหมิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโจวอู่

ักรพรรดิอู่แห่งราชวงศ์โจว หรือ โจวอู่ตี้ (ค.ศ. 543 - 578) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์เป่ยโจว ทรงพระนามเดิมว่า "อวี้เหวินหยง" (Yuwen Yong) ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิโจวอู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโจวจิ้ง

ักรพรรดิจิ้งแห่งราชวงศ์โจว หรือ โจวจิ้งตี้ (ค.ศ. 573 - 581) จักรพรรดิองค์ที่ 5 และองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์เป่ยโจว (โจวเหนือ) ทรงพระนามเดิมว่า อูเหวินเอี๋ยน ต่อมาเปลี่ยนเป็น อูเหวินชาน (Yuwen Chan) ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิโจวจิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโจวเสวียน

ักรพรรดิเสวียนแห่งราชวงศ์โจว หรือ โจวเสวียนตี้ (ค.ศ. 559 - 579) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์เป่ยโจว ทรงพระนามเดิมว่า อูเหวินหยุน ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิโจวเสวียน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไท่ชาง

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิไท่ชาง หรือ กวงจงฮ่องเต้ (ประสูติ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2163 - 26 กันยายน พ.ศ. 2163) จักรพรรดิพระองค์ที่ 14 แห่ง ราชวงศ์หมิง ของ จีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิไท่ชาง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเว่ยหมิง

ระเจ้าโจยอย เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ในยุคสามก๊ก ผู้ครองวุยก๊กรุ่นที่ 3 เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าโจผี พระราชนัดดาในพระเจ้าโจโฉ ขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 769 ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าโจผี พระราชบิดา ด้วยวัยเพียง 21 พรรษา เฉลิมพระนามว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเว่ยหยวงซง (元仲) เมื่อขึ้นครองราชย์แล้ว พระเจ้าโจยอยนับได้ว่า เป็นผู้นำที่เข้มแข็งทีเดียว เนื่องด้วยขงเบ้งเมื่อทราบข่าวว่า พระเจ้าโจผีสิ้นพระชนม์แล้ว โจยอย ราชบุตรขึ้นครองราชย์ด้วยพระชนมายุน้อย จึงยกทัพบุกขึ้นเหนือมา พระองค์ทรงส่งสุมาอี้เป็นแม่ทัพใหญ่ไปรบกับขงเบ้ง อันเป็นการเปิดโอกาสให้สุมาอี้ได้แสดงฝีมือประชันกับขงเบ้งด้วย ซึ่งต่อมาทั้งคู่เป็นคู่ปรับที่ปรับมือกันมาตลอด ต่อมา ขงเบ้งได้ใช้แผนปล่อยข่าวลือในราชธานีลกเอี๋ยงว่า สุมาอี้คิดเป็นกบฏ เพราะต้องการให้พระเจ้าโจยอยปลดสุมาอี้ออกจากตำแหน่ง ซึ่งที่สุดก็เป็นไปตามแผนของขงเบ้ง จนกระทั่ง ขงเบ้งยกทัพบุกวุยก๊กอีกครั้ง พระเจ้าโจยอยทรงคิดไม่ตกว่า ใครจะรับมือกับขงเบ้งได้ ที่สุดมีผู้เสนอว่า ควรคืนตำแหน่งแม่ทัพใหญ่ให้สุมาอี้ จึงทรงคืนตำแหน่งให้สุมาอี้โดยไม่วิตกกังวลใด ๆ อีก สุมาอี้ซึ่งอยู่นอกเมืองทราบข่าวนี้ซาบซึ้งเป็นอย่างมาก ถึงกับกราบแผ่นดินคาราวะและเอ่ยปากว่า ทรงเป็นจักรพรรดิที่ทรงพระปรีชาโดยแท้ นอกจากนี้แล้ว พระเจ้าโจยอยยังออกนำทัพด้วยพระองค์เอง ในการศึกครั้งนี้ด้วย เนื่องจากซุนกวน กษัตริย์ง่อก๊กได้ร่วมมือกับขงเบ้ง ยกทัพเปิดศึกสองสมรภูมิกับทางวุยก๊ก โดยพระเจ้าโจยอยได้เสด็จนำทัพวุยไปรับศึกฝ่ายง่อที่เมืองหับป๋า และทรงพระปรีชาสามารถรบชนะทัพง่อได้ ทำให้แผนตีกระหนาบของขงเบ้งและซุนกวนต้องล้มเหลวลง ฝ่ายสุมาอี้ซึ่งตั้งทัพรับมือขงเบ้งอยู่ในอีกแนวศึก ได้ใช้นโยบายไม่ออกรบแม้ขงเบ้งยั่วยุต่าง ๆ นานา ผิดกับแม่ทัพนายกองหลายคนของวุยก๊กที่ขัดเคืองใจกับการยั่วยุและอยากจะออกรบ แม้สุมาอี้จะมีคำสั่งเด็ดขาดห้ามออกไป แต่ก็รู้ดีว่านานวันเข้าคำสั่งอาจจะไม่ได้ผลเต็มที่ สุมาอี้จึงมีหนังสือกราบบังคมทูลไปยังพระเจ้าโจยอย พร้อมอธิบายถึงเหตุผลที่ไม่ออกรบ ด้วยต้องการให้พระองค์มีพระบรมราชโองการมาสั่งห้ามออกรบ ซึ่งพระเจ้าโจยอยก็ตอบสนองความต้องการของสุมาอี้โดยทันที เมื่อพระบรมราชโองการมาถึง บรรดานายทหารที่อยากรบทั้งหมดนั้นจึงต้องปฏิบัติตามโดยดุสดี ซึ่งการที่สุมาอี้ตั้งทัพไม่ออกรบนี้ เป็นอุบายของสุมาอี้ที่ต้องการทำศึกยืดเยื้อ บังคับให้ทัพจ๊กก๊กต้องถอยไปเอง ซึ่งท้ายที่สุดขงเบ้งก็สิ้นชีวิตกลางสนามรบ ส่งผลให้ทัพจ๊กก๊กต้องถอยกลับในเวลาต่อมาจริง ๆ กล่าวได้ว่าด้วยการผสานใจร่วมมือของพระเจ้าโจยอยผู้เป็นนาย ซึ่งรู้ใจบ่าว คือสุมาอี้ เป็นอย่างดีนั้น ได้ช่วยรักษาให้วุยก๊กผ่านพ้นวิกฤติการณ์การสงครามครั้งนั้นไปได้ พระเจ้าโจยอย สิ้นพระชนม์ในวันที่ 22 มกราคม ปี พ.ศ. 782 ด้วยพระชนมายุ 34 พรรษา รวมระยะเวลาครองราชย์ 13 ปี ด้วยพระโรคที่รุมเร้าและสติวิปลาส เนื่องจากติดพระสนมองค์ใหม่และสั่งประหารพระมเหสีองค์เก่าสิ้น และเป็นโจฮอง ราชบุตรเพียงคนเดียวขึ้นครองราชย์แทน ซึ่งราชสกุลวุยจะตกต่ำต่อไปเรื่อ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเว่ยหมิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเสียนเฟิง

มเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิงขณะทรงแก้ไขพระราชกิจ สมเด็จพระจักรพรรดิเสียนฟงขณะทรงพักผ่อนพระอิริยาบถ จักรพรรดิเสียนเฟิง พงศาวดารไทยเรียก สมเด็จพระเจ้าฮำหอง เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 9 (นับจากจักรพรรดินู่เอ๋อร์ฮาชื่อ) แห่งราชวงศ์ชิง เป็นราชโอรสองศ์ที่ 4 ของจักรพรรดิเต้ากวง มีนามเดิมว่า อ้ายซินเจว๋หลัว อี้จู่ หรือองค์ชาย อี้จู่ ประสูติเมื่อปี พ.ศ. 2374 (ค.ศ. 1831) ขึ้นครองราชย์ได้ทั้ง ๆ ที่มิใช่รัชทายาทองค์เอกที่วางตัวไว้ แต่ว่าพระองค์สามารถเอาชนะใจพระราชบิดาได้ด้วยการออกล่าสัตว์ และพระองค์ไม่สังหารสัตว์ที่มีลูกอ่อน นอกจากนี้ยังมีคนกล่าวกันว่าพระราชวรกายของพระองค์อ่อนแอมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์แล้ว จึงมักประชวรบ่อย ๆ ขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 2393 (ค.ศ. 1850) ทันทีที่จักรพรรดิเต้ากวงสวรรคต ด้วยพระชนมายุ 19 พรรษา ซึ่งในระหว่างที่พระองค์ขึ้นครองราชย์ใหม่ ๆ พระราชประเพณีจีนห้ามจักรพรรดิองค์ใหม่มีมเหสีหรือพระสนม และต้องไว้ทุกข์เป็นเวลานานถึง 27 เดือน แต่ก่อนที่จักรพรรดิเต้ากวงจะสวรรคตมีพระมเหสีองค์แรกแล้ว คือ พระชายาสะโกตา ซึ่งสิ้นพระชนม์ก่อนที่จักรพรรดิเต้ากวงจะสวรรคต เมื่อจักรพรรดิเสียนเฟิงครองราชย์แล้วทรงสถาปนานางสะโกตะเป็น สมเด็จพระจักรพรรดินีเสี่ยวเต๋อเซียน เมื่อผ่านช่วงไว้ทุกข์ไปแล้ว จึงมีการเลือกพระสนม โดยองค์ประธาน คือ พระนางคังฉินไท่เฟย(康慈皇贵太妃) พระมเหสีองค์หนึ่งของสมเด็จพระจักรพรรดิเต้ากวง ที่ทรงดูพระราชวังหลัง ซึ่งพระอัครมเหสีองค์แรกของสมเด็จพระจักรพรรดิเสียงเฟิง คือ พระอัครมเหสีหนิวฮู่ลู่ หรือ ซูอันไทเฮา ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก พระนางคังฉินไท่เฟย ในสมัยพระองค์เกิดสงครามฝิ่นครั้งที่ 2 ซึ่งส่งผลให้เกาะฮ่องกงตกเป็นของจักรวรรดิอังกฤษโดยสมบูรณ์ และมาเก๊าตกเป็นของโปรตุเกส และกบฏไท่ผิง โดย หง ซิ่วฉวน ซึ่งล้วนแต่ส่งผลต่อความมั่นคงของประเทศและราชวงศ์ จักรพรรดิเสียนเฟิง มีพระมเหสีองค์รองอีกหนึ่งพระองค์ ที่ต่อมามีบทบาทอย่างมากในประวัติศาสตร์ภายหลัง คือ พระมเหสีเย่เฮ่อนาลา หรือ ซูสีไทเฮา พระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2440 (ค.ศ. 1861) ด้วยพระชนมายุเพียง 30 พรรษา ด้วยพระโรคที่รุมเร้าจากทรงกลัดกลุ้มในปัญหาของบ้านเมือง และจักรพรรดิองค์ใหม่ คือ องค์ชายไจ้ฉุน หรือพระนามตอนขึ้นครองราชย์ คือ จักรพรรดิถงจื้อ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเสียนเฟิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเสี้ยวหมิน

จักรพรรดิเสี้ยวหมินแห่งราชวงศ์โจว หรือ เสี้ยวหมินตี้ (Xiaomindi) (ค.ศ. 542 - 557) จักรพรรดิองค์แรกแห่งราชวงศ์เป่ยโจว ทรงพระนามเดิมว่า อี้ว์เหวินจู (Yuwen Jue) ประสูติเมื่อ ค.ศ. 542 (พ.ศ. 1085) โดยทรงเป็นบุตรชายของ อี้ว์เหวินไท่ (Yuwen Tai) ขุนพลแห่ง ราชวงศ์เป่ยฉี เมื่อพระชนม์ได้เพียง 15 พรรษา ก็ทรงขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิองค์แรกของเป่ยโจว ทรงพระนามว่า จักรพรรดิเสี้ยวหมินตี้ (ค.ศ. 557) แต่ทรงครองราชย์ได้ไม่นาน ก็ถูก อี้ว์เหวินหู (Yuwen Hu) ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน ปลดออกจากราชสมบัติและวางยาพิษปลงพระชนม์ อี้ว์เหวินหู ได้สถาปนาองค์ชายอี้ว์เหวินหยู ซึ่งเป็นพระเชษฐา ขึ้นเป็น จักรพรรดิโจวหมิงตี้ หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์เป่ยโจว หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:เสียชีวิตจากยาพิษ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเสี้ยวหมิน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวมู่จง

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวมู่จง (ค.ศ. 931-969) จักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์เหลียว เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิเหลียวไท่จง ครองราชย์ตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวมู่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวจิ่งจง

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวจิ่งจง (เย่ว์ลี่เสียน) (ค.ศ. 948 - 982) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์เหลียว ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวจิ่งจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวต้าวจง

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวต้าวจง (เย่ว์ลี่หงจี่) (ค.ศ. 1032 - 1101) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิเหลียวซิ่งจง เมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวต้าวจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวซิ่งจง

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวซิ่งจง (ค.ศ. 1015 - 1054) จักรพรรดิองค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์เหลียว โดยเป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวซิ่งจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวซื่อจง

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวซื่อจง เป็นพระโอรสในเย่ว์ลู่ทู่อี่และมีศักดิ์เป็นพระนัดดาของจักรพรรดิเหลียวไท่จง (พ.ศ. 1469-1490) เมื่อพระปิตุลาสวรรคตลง พระองค์จึงขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิเหลียวซื่อจง จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์เหลียว ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวซื่อจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวไท่จู่

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวไท่จู่ (ค.ศ. 872 - 926) ปฐมจักรพรรดิแห่งราชวงศ์เหลียว ทรงพระนามเดิมว่า เย่ว์ลู่ อาเปาจี ประสูติในเผ่าชี่ตัน เมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวไท่จู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวไท่จง

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวไท่จง (เย่ว์ลู่เต๋อกวง) (902-947) เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ในจักรพรรดิเหลียวไท่จู่ โดยเป็นพระอนุชาในองค์ชายเย่ว์ลู่ทู่อี้ พระราชบิดาของจักรพรรดิเหลียวซื่อจง เมื่อเย่ว์ลู่ทู่อี้ พระเชษฐาซึ่งเป็นองค์รัชทายาท ถูกฮองเฮาสู้ลี่ว์พระมารดาและข้าราชสำนักบีบบังคับ ให้ลี้ภัยไปยังราชสำนักโฮ่วถัง และตั้ง เย่ว์ลู่เต๋อกวง พระราชโอรสองค์รองที่ทรงพระปรีชาสามารถด้านการทหาร ขึ้นเป็นองค์รัชทายาทแทน เมื่อจักรพรรดิเหลียวไท่จู่สวรรคตในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวไท่จง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวเทียนจั้ว

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวเทียนจั้วตี้ (เย่ว์ลี่ ชุน) (ค.ศ. 1075 - 1128) จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์เหลียว ทรงพระนามเดิมว่า เย่ว์ลี่ ชุน เมื่อจักรพรรดิเหลียวต้าวจง พระราชบิดาสวรรคตในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวเทียนจั้ว · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง

มเด็จพระจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง (เย่ว์ลี่หลงซีว์) (ค.ศ. 971 - 1031) จักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์เหลียว ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียวเซิ่งจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเหลียงอู่

ักรพรรดิเหลียงอู่ตี้ พระเจ้าเหลียงอู่ (梁武帝) หรือ เซียวเหยี่ยน (萧衍) แห่งราชวงศ์เหลียง ทรงครองราชสมบัติระหว่าง ค.ศ. 502–549 นับเป็นช่วงเวลาที่มีเสถียรภาพที่สุดในยุคราชวงศ์หนานเป่ย หรือราชวงศ์เหนือใต้ พระองค์สนับสนุนการศึกษาของบัณฑิตลัทธิขงจื๊อ แต่ก็ทรงศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างยิ่ง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเหลียงอู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจิ้งถ่ง

ู ฉีเจิ้น (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1427 – 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1464) เป็นจักรพรรดิจีนแห่งราชวงศ์หมิง เสวยราชย์ 2 ครั้ง ครั้งแรกระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเจิ้งถ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจิ้งเต๋อ

thumb สมเด็จพระจักรพรรดิเจิ้งเต๋อ (26 ตุลาคม ค.ศ. 1491 - 20 เมษายน ค.ศ. 1521) ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเจิ้งเต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจียชิ่ง

มเด็จพระจักรพรรดิเจียชิ่ง (จักรพรรดิชิงเหรินจง) (13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2303 – 2 กันยายน พ.ศ. 2363) เป็นโอรสองค์ที่ 15 ของจักรพรรดิเฉียนหลง เดิมมีพระนามว่า หย่งเยี๋ยน (顒琰) เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2339 (ค.ศ. 1796) เมื่อพระชนมายุได้ 37 พรรษา ภายหลังการสละราชสมบัติของจักรพรรดิเฉียนหลง พระราชบิดา แต่อำนาจในการปกครองแผ่นดินแท้จริงยังอยู่ในจักรพรรดิเฉียนหลง เมื่อจนถึงปีที่ 3 ที่ทรงครองราชย์ พ.ศ. 2342 (ค.ศ. 1799) จักรพรรดิเฉียนหลงได้สวรรคต และพระองค์จึงได้อำนาจในการปกครองอย่างแท้จริง เมื่อทรงได้อำนาจเต็มแล้ว ทรงได้กำจัดเหอเซิน ที่เป็นขุนนางกังฉิน โกงกินชาติ ซึ่งเป็นคนสนิทของจักรพรรดิเฉียนหลง ทรงรวบรวมขุนนางและบรรดาผู้ที่จงรักภักดีเพื่อกำจัดเหอเซิน โดยบุคคลสำคัญผู้หนึ่งที่มีบทบาทในการครั้งนี้คือ อ๋องเฉิน ซึ่งเป็นพระเชษฐา (พี่ชาย) ของพระองค์และเป็นพระโอรสลำดับที่ 11 ของจักรพรรดิเฉียนหลง เมื่อได้ยึดทรัพย์เหอเซินแล้ว พบว่าเงินจำนวนที่เหอเซินยักยอกไว้นั้นมีมูลค่าเท่ากับรายได้ประเทศชาติถึง 10 ปี แต่เมื่อจับกุมเหอเซินได้แล้วกลับลังเลพระทัยที่จะประหารชีวิต เนื่องจากทรงเคยรับคำพระราชบิดา จักรพรรดิเฉียนหลงเอาไว้ว่าจะไว้ชีวิตเหอเซิน เมื่อพระองค์สวรรคต แต่ได้ถูกอ๋องเฉินและบรรดาขุนนางทูลทัดทาน จึงได้ตัดสินพระทัยบังคับให้เหอเซินผูกคอตาย ตลอดรัชสมัย ทรงพบกับการก่อกบฏและเรื่องทางความมั่นคงมากมาย เช่น กบฏพรรคบัวขาว, กบฏโจรสลัดไต้หวัน กบฏพรรคเที่ยงธรรม เป็นต้น ซึ่งกบฏเหล่านี้ส่วนใหญ่ เป็นกบฏชาวฮั่นที่รวบรวมคนไว้เพื่อโค่นล้มราชวงศ์ชิงกอบกู้ราชวงศ์หมิงนั่นเอง มีพระโอรส 3 พระองค์ พระโอรสองค์โตเกิดจากพระอัครมเหสีฮีตียา ซึ่งเป็นพระอัครมเหสีที่ทรงรักยิ่ง แต่พระนางสิ้นพระชนม์ไปก่อนเมื่ออายุยังน้อย และพระโอรสอีก 2 พระองค์ ที่เกิดจากพระมเหสีหนิวฮูลู่ พระอัครมเหสีองค์ใหม่ที่ทรงแต่งตั้งขึ้นมาจากการเป็นพระมเหสี ซึ่งพระองค์ไม่เคยโปรดพระนางเลย แต่ต้องทรงสถาปนาเนื่องจากเหตุผลทางการเมือง ด้วยต้องการให้เหล่าขุนนางและประชาราษฎร์เห็นถึงพระทัยเมตตาของพระองค์ เหตุที่ไม่โปรดพระมเหสีหนิวฮูลู่ นี้ เพราะพระนางเป็นบุตรสาวของขุนนางที่เคยเป็นพรรคพวกเหอเซินมาก่อน จึงไม่ไว้วางพระทัย ในรัชสมัยของจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง ปรากฏกรณีที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติมาตลอด เช่น เกิดกบฏต่างๆ การที่เวียดนามขอแยกออกไปเป็นประเทศเอกราช เป็นต้น ซึ่งพระองค์ทรงใช้ทั้งนโยบายที่ผ่อนปรนและแข็งกร้าวสลับกันไป เช่น การห้ามชาวแมนจูแต่งงานกับชาวฮั่นเด็ดขาด หรือ การห้ามชาวคริสต์เผยแพร่ศาสนาเด็ดขาด รวมทั้งการห้ามราษฎรสูบฝิ่นด้วย เป็นต้น ซึ่งสิ่งทั้งหมดเหล่านี้จะส่งผลต่อความมั่นคงตามมาในภายหลัง ในปลายรัชสมัย มีพระพลานามัยอ่อนแอ ด้วยทรงสูงพระชันษาประกอบกับการกลัดกลุ้มพระทัยอยู่บ่อยครั้งเกี่ยวกับราชภารกิจ สวรรคตในปี พ.ศ. 2363 (ค.ศ. 1820) พระชนมายุ 61 พรรษา รวมระยะเวลาที่ได้ทรงครองราชย์ 24 ปี และผู้ที่ครองราชย์สืบต่อมาคือ องค์ชายเหมี่ยนหนิง ภายหลังขึ้นครองราชย์ทรงพระนามว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเต้ากวง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเจียชิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจียจิ้ง

ักรพรรดิเจียจิ้ง จักรพรรดิหมิงเจียจิ้ง (16 กันยายน ค.ศ. 1507 - 23 มกราคม ค.ศ. 1567) เป็นพระราชภาดา ในจักรพรรดิเจิ้งเต๋อเพราะพระบิดาของพระองค์กับจักรพรรดิหงจื้อที่ทรงเป็นพระราชบิดาของจักรพรรดิเจิ้งเต๋อเป็นพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมพระราชบิดาเดียวกัน เมื่อจักรพรรดิเจิ้งเต๋อสวรรคตลงในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเจียจิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเจี้ยนเหวิน

มเด็จพระจักรพรรดิเจี้ยนเหวิน หรือ เจี้ยนเหวินฮ่องเต้ (เจี้ยนเหวิน) พระนามเดิม จู หยุ่นเหวิน (朱 允炆) คือจักรพรรดิพระองค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์หมิงของจีน รวมระยะเวลาที่อยู่ในราชสมบัติ 4 ปีกว.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเจี้ยนเหวิน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเทียนฉี่

ทียนฉี่ (23 ธันวาคม ค.ศ. 1605 – 30 กันยายน ค.ศ. 1627) ประสูติเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเทียนฉี่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเต้ากวัง

ักรพรรดิเต้ากวัง พงศาวดารไทยเรียก สมเด็จพระเจ้าเตากวาง เป็นองค์ชายรองในจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง เดิมมีพระนามว่า เหมียนหนิง (綿寧) (แปลว่า อาทิตย์อัสดง) แต่ได้เปลี่ยนพระนามใหม่ภายหลังขึ้นครองราชย์ว่า หมิ่นหนิง (旻宁) (แปลว่า ท้องฟ้า หรือ จักรวาล) จักรพรรดิเต้ากวัง ประสูติจากมเหสีที่มีชื่อว่า จักรพรรดินีเซี่ยวซูรุ่ย(孝淑皇后) แต่พระมารดาได้สิ้นพระชนม์ไปตั้งแต่พระองค์ยังเยาว์วัย จักรพรรดิเจี่ยชิงพระราชบิดาจึงได้สถาปนาพระมเหสีองค์ใหม่ขึ้นเป็นจักรพรรดินีเซี่ยวเหอรุ่ย (孝和皇后) ซึ่งเป็นบุตรสาวของอูนาลา ขุนนางพวกเดียวกับเหอเซิน ที่ทรงไม่ไว้วางพระทัย แต่ทรงทำไปด้วยด้วยเหตุผลทางการเมือง นั่นทำให้จักรพรรดิเต้ากวังเมื่อยังทรงพระเยาว์ก็ไม่โปรดในตัวพระนางด้วยเช่นกัน แม้จะมีศักดิ์เป็นพระมารดาเลี้ยงก็ตาม แต่ได้ทรงเปลี่ยนทัศนะที่มีต่อพระนางใหม่ เมื่อครั้งหนึ่งที่ได้เสด็จไปไหว้บรรพกษัตริย์ที่สุสานราชวงศ์ชิงด้วยกัน และได้มีโจรกบฏกลุ่มหนึ่งมาจับตัวพระองค์และพระนางไปพร้อมกับสามัญชนกลุ่มหนึ่ง พวกกบฏบังคับให้พระองค์และพระนางบอกว่าใครเป็นใคร หากเงียบ ก็จะให้จ้วงแทงพระนางด้วยมีด พระนางก็ปิดปากเงียบไม่ยอมบอก นั่นจึงทำให้พระองค์ซาบซึ้งในน้ำพระทัยของพระนางเสี้ยวเหอมากและยอมรับพระนางในที่สุด จักรพรรดิเต้ากวัง ขึ้นครองราชย์ภายหลังการสวรรคตอย่างกะทันหันของจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง ในปี พ.ศ. 2363 (ค.ศ. 1820) ระหว่างเสด็จแปรพระราชฐานหลบร้อนไปยังเมืองเฉิงเต๋อ ซึ่งได้มีพระราชโองการแต่งตั้งไว้ในพินัยกรรม แต่เนื่องจากการที่สวรรคตในที่ห่างไกลเมืองหลวง จึงทำให้ องค์ชายสี่ เหมี่ยนซิน พระโอรสองค์เล็กพระนางเสี้ยวเหอของคัดค้านว่า เป็นพินัยกรรมปลอม และเตรียมการจะก่อกบฏ พระองค์จึงทรงวางแผนโยนไปให้พระนางเสี้ยวเหอตัดสินและได้ขอกำลังทหารส่วนหนึ่งมาคุ้มกัน ซึ่งพระนางเสี้ยวเหอได้ยอมรับว่า พินัยกรรมนั้นเป็นของจริง และได้พระราชทานอภัยโทษประหารองค์ชายเหมี่ยนซินไว้ ในรัชสมัยจักรพรรดิเต้ากวัง ได้ทรงหาทางกำจัดขุนนางกังฉินและบรรดาขุนนางที่ไม่เอาการเอางาน จึงทำให้เหล่าขุนนางลับหลังจะนินทาพระองค์อยู่เสมอ ๆ และทำให้ขุนนางแบ่งแยกกันเป็นฝักเป็นฝ่ายต่างก็สนับสนุนพระโอรสอันเกิดจากพระมารดาที่เป็นชนเผ่าเดียวกับตน แต่พระองค์ก็ได้หาทางบริหารประเทศอย่างเต็มที่ ในรัชสมัยของพระองค์ประเทศเป็นปึกแผ่น ดูเหมือนเข้มแข็ง แต่ภายในอ่อนแออันเกิดจากการฉ้อราฎร์บังหลวงที่เป็นระบบกันมานานแต่สมัยจักรพรรดิเฉียนหลง ในรัชสมัยนี้พระองค์ได้ออกนโยบายให้ทุกคนในวังประหยัด โดยมีพระองค์เป็นแบบอย่าง และเหตุการณ์ที่สำคัญที่สุดคือ สงครามฝิ่นกับอังกฤษในปี พ.ศ. 2382 (ค.ศ. 1839) และ พ.ศ. 2383 (ค.ศ. 1840) ยุคล่าอาณานิคม ซึ่งเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก และนำมาสู่การสูญเสียเกาะฮ่องกงและการล่มสลายของราชวงศ์ชิงในภายหลัง จักรพรรดิเต้ากวังมีอุปนิสัยส่วนพระองค์คือ โปรดปรานปืนเป็นพิเศษ ได้สวรรคตในปี พ.ศ. 2393 (ค.ศ. 1850) และผู้ครองราชย์สืบไปคือ องค์ชายอี้จู่ภายหลังขึ้นครองราชย์ใช้พระนามว่า จักรพรรดิเสียนเฟิง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเต้ากวัง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเฉิงฮว่า

มเด็จพระจักรพรรดิเฉิงฮว่า จักรพรรดิเฉิงฮว่า (Chenghua Emperor, 9 ธันวาคม 1447 – 9 กันยายน 1487) พระราชโอรสในจักรพรรดิเจิ้งถง ประสูติเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเฉิงฮว่า · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเฉียนหลง

มเด็จพระจักรพรรดิเฉียนหลง (จักรพรรดิชิงเกาจง) (เฉียนหลง) จักรพรรดิองค์ที่ 6 ของราชวงศ์ชิง ประสูติเมื่อ ปี พ.ศ. 2254 (ค.ศ. 1711) เดิมมีพระนามว่าหงลี่ (ภาษาจีน: 弘曆) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิยงเจิ้ง และเป็นพระราชนัดดาองค์โปรดของจักรพรรดิคังซี เพราะมีความเฉลียวฉลาดมาแต่ยังเด็ก จักรพรรดิเฉียนหลงขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 2278 (ค.ศ. 1735) ขณะมีพระชนมายุได้ 25 พรรษา ทรงพระนามว่า ชิงเกาจงฮ่องเต้ และใช้ชื่อศักราชว่า เฉียนหลง จักรพรรดิเฉียนหลงได้สร้างความเจริญมากมายให้กับประเทศจีน โดยเฉพาะการจัดทำสารานุกรม ซื่อคู่เฉวียนซู ขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2316 (ค.ศ. 1773) - พ.ศ. 2325 (ค.ศ. 1782) ถือเป็นมรดกโลกที่สำคัญชิ้นหนึ่ง รัชสมัยของจักรพรรดิเฉียนหลงมีเรื่องราวที่เป็นสีสัน เล่าขาน เป็นตำนานต่าง ๆ มากมาย ทั้งเรื่องที่ลือกันว่าแท้ที่จริงแล้วมิได้เป็นพระโอรสของจักรพรรดิหย่งเจิ้น หรือเรื่องราวที่ชอบแปลงตนเองเป็นสามัญชนท่องเที่ยวไปในสถานที่ต่าง ๆ จนได้ฉายาว่า "จักรพรรดิเจ้าสำราญ" ส่วนเรื่องคำกล่าวที่ว่าสมเด็จพระพันปีหลวงซึ่งเป็นพระราชมารดาของสมเด็จพระจักรพรรดิเฉียนหลงไม่โปรดพระมเหสีหรง ถึงขั้นสั่งประหาร ก็ไม่เป็นความจริงเช่นกัน เพราะสมเด็จพระพันปีหลวงเสด็จสู่สวรรคาลัยไปก่อนพระมเหสีหรงเฟยถึง11ปี ฉะนั้น สมเด็จพระพันปีหลวงจึงมาสั่งประหารไม่ได้แน่นอน จักรพรรดิเฉียนหลงมีคนสนิทที่ทรงใกล้ชิดอยู่คนหนึ่ง ชื่อ เหอเซิน ที่มักคอยเอาอกเอาใจอยู่ตลอด และมักชวนจักรพรรดิเฉียนหลงเสเพลอยู่เสมอ ๆ จักรพรรดิเฉียนหลงโปรดเหอเซินมากถึงขนาดยกพระธิดาองค์หนึ่งให้เป็นคู่หมั้นของลูกชายเหอเซินตั้งแต่ยังเด็ก ทำให้เหอเซินเหิมเกริม กระทำการทุจริตต่าง ๆ นานา ยิ่งโดยเฉพาะในปลายรัชสมัยมีการจับจ่ายใช้เงินทองจำนวนมากเพื่อความสำราญของคนในพระราชวัง กล่าวว่า นี่เป็นส่วนหนึ่งของความอ่อนแอลงเรื่อย ๆ ของราชวงศ์ชิงด้วย หลังจากรัชสมัยของจักรพรรดิเฉียนหลงแล้ว จักรพรรดิเฉียนหลงมีพระโอรสที่ปรีชาสามารถมากคือเจ้าชายหย่งฉี พระโอรสองค์ที่ 5 ซึ่งประสูติแต่พระชายาหยู (愉貴妃) เจ้าชายหย่งฉีเป็นผู้ที่ปรีชาสามารถทั้งบุ๋นและบู๊ เป็นความหวังว่าจะได้ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระองค์ แต่กลับสิ้นพระชนม์เสียก่อนตั้งแต่ยังหนุ่ม ในปี พ.ศ. 2338 (ค.ศ. 1795) ปีที่ 60 ที่ทรงครองราชย์จักรพรรดิเฉียนหลงได้สละราชสมบัติให้พระโอรสที่ชื่อ หย่งเยี๋ยน พระโอรสองค์ที่ 15 ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิเจี่ยชิ่ง ด้วยไม่ทรงปรารถนาจะครองราชย์ยาวนานเกินกว่าจักรพรรดิคังซีผู้เป็นพระอัยกา (ปู่) อย่างไรก็ตามแม้จะสละราชบัลลังก์แล้วแต่อำนาจที่แท้จริงยังคงอยู่กับพระองค์ โดยทรงขึ้นดำรงตำแหน่งเป็น พระบิดาหลวง หรือ จักพรรดิสูงสุด (ไท่ซั่งหวง, 太上皇帝) ในปี พ.ศ. 2342 (ค.ศ. 1799) จักรพรรดิเฉียนหลงเสด็จสวรรคต จักรพรรดิเจี่ยชิ่งจึงได้ครองราชย์อย่างแท้จริง และพระองค์ก็เริ่มกำจัดเหอเซินทันที และบังคับให้เขาฆ่าตัวตาย หลังสิ้นสุดยุคของจักรพรรดิเฉียนหลงแล้ว จักรพรรดิองค์ต่อ ๆ มาของราชวงศ์ชิงต่างไม่มีองค์ไหนมีความสามารถโดดเด่น ทำให้ราชวงศ์ชิงอ่อนแอลงเรื่อยๆ และประเทศจีนเริ่มถูกต่างชาติเข้าแทรกแซงยึดครอง ตลอดยุคสมัยที่ยาวนานกว่า 60 ปี ของจักรพรรดิเฉียนหลงเต็มไปด้วยเรื่องราวที่มีสีสันจนเลื่องลือมาถึงปัจจุบัน มีวรรณกรรมมากมายที่บอกเล่าถึงยุคสมัยของพระองค์ รวมทั้งภาพยนตร์ และละครโทรทัศน์ ที่จัดสร้างหลายครั้งหลายหนกล่าวถึงเนื้อหาต่างๆ เช่น เรื่องที่เล่าลือกันว่า พระองค์แท้ที่จริงมิใช่พระโอรสของจักรพรรดิหย่งเจิ้น แต่เป็นบุตรชายของอำมาตย์คนหนึ่ง เมื่อพระมเหสีของจักรพรรดิหย่งเจิ้นให้ประสูติกาลบุตรออกมาเป็นบุตรสาว จึงสลับลูกกันกับอำมาตย์ผู้นี้ ดังที่ปรากฏในเรื่อง จอมใจจอมยุทธ์และ เรื่องราวในรัชสมัยพระองค์ยังถูกนำมาแสดงเป็นภาพยนตร์เรื่อง องค์หญิงกำมะลอ ซึ่งเป็นเรื่องขององค์หญิงหวนจู ซึ่งดัดแปลงมาจากพระธิดาบุญธรรมขององค์จักรพรรดิมาเป็นองค์หญิงหวนจู.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเฉียนหลง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเซฺวียนเต๋อ

วาดจักรพรรดิซวนเต๋อ Ming Dynasty Xuande Archaic Porcelain Vase and Six -Character Mark สมเด็จพระจักรพรรดิหมิงซวนจง หรือ จูเจียนจี หรือ องค์ชายจู (ค.ศ. 1426-1435) ครองราชย์ทรงพระนามว่าหมิงซวนจง (宣 宗) รัชศกซวนเต๋อ (宣 徳) ทรงเป็นจักรพรรดิที่พระทัยอ่อน ในตอนต้นรัชกาลมีพระญาติก่อกบฏเมื่อปราบปรามได้สำเร็จพระองค์ก็มิได้ลงโทษ ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจักรพรรดิเซฺวียนเต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

จิ๋นซีฮ่องเต้

ฉินฉื่อหฺวังตี้ ตามสำเนียงกลาง หรือ จิ๋นซีฮ่องเต้ ตามสำเนียงอื่น (260–210 ก่อนคริสตกาลWood, Frances. (2008). China's First Emperor and His Terracotta Warriors, pp. 2-33. Macmillan Publishing, 2008. ISBN 0-312-38112-3.) เป็นชื่อที่ปัจจุบันใช้เรียกพระเจ้าเจิ้ง (Zhèng) แห่งเมืองฉิน มีความหมายตรงตัวว่า "ปฐมจักรพรรดิฉิน" พระองค์ทรงสถาปนาราชวงศ์ฉินเมื่อปีที่ 220 ก่อนคริสตกาล และทรงผนวกดินแดนจีนสำเร็จในปีที่ 221 ก่อนคริสตกาล เป็นอันสิ้นสุดยุครณรัฐDuiker, William J. & al.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจิ๋นซีฮ่องเต้ · ดูเพิ่มเติม »

จู โหย่วกุย

จู โหย่วกุย (朱友珪; ค.ศ. 888? – 27 มีนาคม 913) ชื่อรองว่า เหยา สี่ (遙喜) และบรรดาศักดิ์ว่า องค์ชายอิ่ง (郢王) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์เหลียงยุคหลังสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร จู โหย่วกุย เป็นบุตรของจู เวิน ปฐมกษัตริย์แห่งเหลียงยุคหลัง จู โหย่วกุย ฆ่าบิดาเอาบัลลังก์ในปี 912 ไม่กี่เดือนให้หลัง จู โหย่วเจิน (朱友貞) น้องชาย ก็ก่อกบฏชิงบัลลังก์ จู โหย่วกุย จึงชิงฆ่าตัวตาย จู โหย่วเจิน ก็ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร หมวดหมู่:ปิตุฆาต.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจู โหย่วกุย · ดูเพิ่มเติม »

จู โหย่วเจิน

จู เจิ้น (20 ตุลาคม 888 – 18 พฤศจิกายน 923) ชื่อเมื่อเกิดว่า จู โหย่วเจิน (朱友貞) บรรดาศักดิ์ว่า องค์ชายเจิน (均王) ชื่ออื่นว่า จู หฺวัง (朱鍠) และในประวัติศาสตร์ดั้งเดิมมักเรียก ปัจฉิมกษัตริย์แห่งเหลียงยุคหลัง (後梁末帝) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์เหลียงยุคหลังสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร อยู่ในสมบัติตั้งแต่ปี 913 ถึงปี 923 จู โหย่วเจิน สั่งให้แม่ทัพหฺวัง ฝู่หลิน (皇甫麟) ปลงพระชนม์พระองค์ในปี 923 เมื่อหลี่ ฉุนซฺวี่ (李存朂) แม่ทัพศัตรู ยกกำลังเข้าชิงเมืองไคเฟิงราชธานีเป็นผลสำเร็จ เมื่อจู โหย่วเจิน ตาย ราชวงศ์เหลียงยุคหลังซึ่งดำรงอยู่มายาวนานที่สุดในบรรดาราชวงศ์ทั้งห้าก็เป็นอันสิ้นสุดลง เมื่อหลี ฉุนซฺวี่ ยึดเมืองได้แล้ว ก็สั่งให้เผาทำลายบันทึกเกี่ยวกับราชวงศ์เหลียงยุคหลังไปเป็นจำนวนมาก ทำให้เรื่องราวเกี่ยวกับจู โหย่วเจิน กระท่อนกระแท่น หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจู โหย่วเจิน · ดูเพิ่มเติม »

จู เวิน

ปฐมกษัตริย์แห่งเหลียงยุคหลัง (後梁太祖; 852–912) ชื่อตัวว่า จู เฉฺวียนจง (朱全忠) ชื่อเมื่อเกิดว่า จู เวิน (朱溫) ชื่อรองว่า จูสาม (朱三) และชื่ออื่นว่า จู หฺวั่ง (朱晃) เป็นขุนศึกจีนในราชวงศ์ถังซึ่งโค่นราชวงศ์ถังในปี 907 ตั้งราชวงศ์เหลียงยุคหลัง แล้วขึ้นเป็นกษัตริย์องค์แรก เป็นอันเริ่มสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร จู เวิน สามารถยึดครองจีนภาคกลางไว้ได้เกือบทั้งหมด และพยายามรวมแผ่นดินภาคเหนือ แผ่นดินส่วนที่เหลือจึงอยู่ในความครอบครองของอีกสี่ราชวงศ์ที่ตั้งขึ้นในโอกาสเดียวกัน จู เวิน ถูกจู โหย่วกุย (朱友珪) ลูกชาย ฆ่าทิ้งในปี 912 เพื่อชิงบัลลังก์ จู โหย่วกุย ก็ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์ หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและจู เวิน · ดูเพิ่มเติม »

ความเชื่อเรื่องการสร้างโลกของจีน

หวงตี้ ฮ่องเต้องค์แรกในความเชื่อของจีน ความเชื่อเรื่องการสร้างโลกของจีน (开天辟地) เป็นนิทานปรัมปราที่เล่าสืบกันมาแต่โบราณ ว่า โลกเดิมทีเป็นฟองไข่ทรงกลม ที่ภายในมียักษ์ตนหนึ่งที่มีผมเพ้าและหนวดเครายาว มีร่างกายยาวถึง 90,000 ลี้ (ประมาณ 45,000 กิโลเมตร) ชื่อ ป้านกู (盤古) วันหนึ่งป้านกูตื่นขึ้นมาและได้ฟักตัวออกจากไข่ ด้วยเรี่ยวแรงมหาศาลของป้านกู ป้านกูจึงดันส่วนบนของไข่ให้กลายเป็นสวรรค์และด้านล่างกลายเป็นโลก แต่สวรรค์และโลกกลับดูดตัวเข้าหากัน ป้านกูจึงให้พละกำลังดันทั้ง 2 ส่วนอยู่อย่างนั้นเป็นเวลานับหมื่น ๆ ปี จนในที่สุดทั้งสวรรค์และโลกไม่อาจรวมตัวกันได้ ป้านกูจึงล้มลงและเสียชีวิต ภายหลังเสียชีวิตแล้ว ตาข้างซ้ายของป้านกูกลายเป็นพระอาทิตย์ ตาข้างขวากลายมาเป็นพระจันทร์ ร่างกลายกลายเป็นภูเขา เลือดกลายเป็นแม่น้ำ ผมและหนวดเคราที่ยาวสลวยกลายเป็นผักและหญ้า ผ่านไปหลังจากนั้นอีกเนิ่นนาน เจ้าแม่หนี่วา (女媧) ได้ลงมาท่องเที่ยวชมพื้นโลก และชื่นชมว่าโลกเป็นสถานที่ ๆ น่าอยู่ยิ่งนัก เมื่อนางได้ใช้นิ้วจิ้มดินและเศษดินตกลงสู่น้ำก็กลายเป็นลูกอ๊อด องค์เจ้าแม่หนี่วา ทรงดีพระทัยยิ่งนัก จึงใช้ดินปั้นเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ จึงกำเนิดขึ้นเป็นสัตว์ชนิดต่าง ๆ แต่นางรู้สึกว่าขาดอะไรบางอย่างไป ในวันที่ 7 พระนางจึงเริ่มปั้นรูปเหมือนตัวพระนางขึ้น เกิดเป็นมนุษย์ผู้หญิงขึ้น และพระนางเกรงว่ามนุษย์ผู้หญิงนี้จะเหงา จึงปั้นรูปใหม่ขึ้นมาให้คล้ายเคียงกันเป็นมนุษย์ผู้ชาย และให้มนุษย์ทั้ง 2 เพศนี้อยู่คู่กันและออกลูกหลานสืบต่อกันมา ต่อมา ฟูซี (伏羲) ซึ่งเป็นผู้ปกครองชนเผ่าของมนุษย์ได้สังเกตปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของธรรมชาติ จนสามารถพึ่งตัวเองได้และเกิดเป็นองค์ความรู้ วันหนึ่งมีกิเลนตัวหนึ่งกระโดดขึ้นมาจากแม่น้ำฮวงโห บนหลังกิเลนมีสัญลักษณ์ปรากฏที่ถูกเรียกในภายหลังว่า "แผนภูมิเหอถู" (河图) ซึ่งต่อมาได้พัฒนากลายเป็นตัวอักษร หลังยุคฟูซี เสินหนง (神農) ได้เป็นผู้ปกครองแทน เสินหนงได้สอนให้ผู้คนรู้จักการเพาะปลูก และใช้คันไถ และยุคต่อมาก็คือ ยุคของหวงตี้ (黃帝) หรือ จักรพรรดิเหลือง หวงตี้ได้ทำสงครามกับเหยียนตี้ที่ปั่นเฉวียน (阪泉) สุดท้ายเหยียนตี้พ่ายแพ้ หวงตี้จึงขยายอำนาจการปกครองจากทางตอนเหนือลงไปทางใต้ จนถึงลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียงและฮั่นสุ่ย ซึ่งหวงตี้ได้รับการนับถือจากชาวจีนรุ่นต่อมาว่าเป็น ฮ่องเต้หรือจักรพรรดิองค์แรกของจีน และชื่อของพระองค์ก็กลายมาเป็นคำว่า ฮ่องเต้ หรือ จักรพรรดิ ความหมายของชื่อก็กลายมาเป็นสีประจำตัวฮ่องเต้ด้วย คือ สีเหลือง ชาวจีนเชื่อว่า ในราชวงศ์ชั้นหลัง เช่น ราชวงศ์เซี่ย, ราชวงศ์ซาง, ราชวงศ์โจว ต่อมาต่างก็สืบเชื้อสายจากหวงตี้ทั้งนั้น หลังยุคหวงตี้ เป็นยุคของเชาเหา (少昊) และ ซวนซู (顓頊) ซึ่งในยุคนี้ได้กำเนิดดาราศาสตร์, ปฏิทิน, ความเชื่อ, ไสยศาสตร์และเรือ ต่อมาจึงเป็นยุคของ กู (帝嚳) และ เหยา (尧) ซึ่งในยุคนี้พระอาทิตย์มีมากมายพร้อมกันถึง 10 ดวง และต่างพากันเปล่งรัศมีความร้อนแรงมายังโลกมนุษย์ ทำให้เดือดร้อนกันมาก เง็กเซียนฮ่องเต้จึงมีบัญชาให้ โหวอี้ นักยิงธนูบนสวรรค์ลงไปยังโลกมนุษย์เพื่อจัดการ โหวอี้ใช้ธนูยิงดวงอาทิตย์ตกไปถึง 9 ดวง และตำนานโฮ๋วอี้ยิงดวงอาทิตย์ 9 ดวงนี้ก็ก่อให้เกิดตำนาน เทพธิดาฉางเอ๋อ เหาะไปดวงจันทร์และเป็นต้นกำเนิดเทศกาลไหว้พระจันทร์ของจีน ต่อมาเป็นยุคของซุน (舜) และ อวี่ (禹) ในยุคของอวี่ได้เกิดอุทกภัย (大禹治水) และอวี่สามารถสร้างเขื่อนควบคุมกระแสน้ำได้สำเร็จ โดยไม่ได้กลับบ้านเป็นระยะเวลานานถึง 9 ปี และวันหนึ่งก็ได้มีเต่าศักดิ์สิทธิ์ตัวหนึ่งผุดขึ้นมาจากแม่น้ำลั่ว บนกระดองเต่ามีอักษรที่ต่อมาเรียกว่า "แผนภูมิลั่วซู" (洛书) ซึ่งกลายมาเป็นศิลปะวิทยาการต่าง ๆ สืบมาจนปัจจุบัน ภายหลังจากอวี่เสียชีวิตลง บุตรชายของอวี่ก็สังหารอี้เพื่อแย่งชิงตำแหน่งหัวหน้า และเริ่มเข้าสู่ยุคแห่งการสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าโดยสายเลือดในระบบวงศ์วานว่านเครือ และหลังจากนั้น ประวัติศาสตร์จีนก้าวเข้าสู่ราชวงศ์แรกที่มีการสืบทอดบัลลังก์อำนาจโดยสายเลือด นั่นคือ จุดกำเนิดของราชวงศ์เซี่ย (夏代) ราชวงศ์แรกของจีน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและความเชื่อเรื่องการสร้างโลกของจีน · ดูเพิ่มเติม »

ตี้ อี่

ตี้ อี่ ตามสำเนียงกลาง หรือ ตีอิด ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ชาง เสวยราชย์ตั้งแต่ปีที่ 1101 ถึง 1076 ก่อนคริสตกาล ราชธานี คือ เมืองอิน (殷).

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและตี้ อี่ · ดูเพิ่มเติม »

ฉือ จิ้งถัง

ฉือ จิ้งถัง (30 มีนาคม 892Old History of the Five Dynasties, vol. 75.. – 28 กรกฎาคม 942Zizhi Tongjian, vol. 283.) เป็นที่รู้จักตามชื่อวัดประจำรัชกาลว่า อภิบรรพราช (高祖) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนช่วงห้าราชวงศ์สิบอาณาจักรจากราชวงศ์จิ้นยุคหลัง อยู่ในสมบัติตั้งแต่ปี 936 จนสิ้นชีวิต ฉือ จิ้งถัง เดิมเป็นแม่ทัพในราชวงศ์ถังยุคหลัง แต่ก่อกบฏในปี 936 โดยอาศัยความช่วยเหลือจากราชวงศ์เหลียว เมื่อการสำเร็จ เขาจึงยกหัวเมืองสิบหกมณฑลให้แก่ราชวงศ์เหลียวเป็นการตอบแทน แล้วตั้งราชวงศ์จิ้นยุคหลังขึ้นโดยมีตนเองเป็นปฐมกษัตริย์ การยกหัวเมืองดังกล่าวให้แก่ราชวงศ์เหลียวซึ่งเป็นของชาวชี่ตันนั้นเป็นผลต่อภูมิทัศน์บ้านเมืองจีนอย่างมากในอีกสองร้อยปีให้หลัง ฉือ จิ้งถัง ตายในปี 942 เพราะเหตุธรรมชาติTian, p.43 ฉือ จ้งกุ้ย (石重貴) บุตรบุญธรรม จึงขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดม.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและฉือ จิ้งถัง · ดูเพิ่มเติม »

ฉือ จ้งกุ้ย

ฉือ จ้งกุ้ย (914–947) ในเอกสารทางประวัติศาสตร์เรียก พระเจ้าสิ้นบัลลังก์แห่งจิ้นยุคหลัง (後晉出帝) หรือ ยุวกษัตริย์แห่งจิ้นยุคหลัง (後晉少帝) และเมื่อตายแล้วได้บรรดาศักดิ์ว่า องค์ชายจิ้น (晉王) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนช่วงห้าราชวงศ์สิบอาณาจักรจากราชวงศ์จิ้นยุคหลัง เป็นกษัตริย์องค์ที่สองและองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ดังกล่าว ราชวงศ์จิ้นยุคหลังนั้นถูกวิจารณ์ว่า เป็นเจว็ดของราชวงศ์เหลียว เพราะปรากฏว่า ราชวงศ์เหลียวมีส่วนช่วยก่อตั้งราชวงศ์จิ้นยุคหลัง ราชวงศ์จิ้นยุคหลังจึงยกหัวเมืองสิบหกมณฑลให้เป็นการตอบแทน ครั้นฉือ จิ้งถัง (石敬瑭) ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์จิ้นยุคหลัง ตายในปี 942 ฉือ จ้งกุ้ย บุตรบุญธรรมของเขา จึงสืบสมบัติต่อ และต่อต้านราชวงศ์เหลียว พระเจ้าไท่จงแห่งเหลียว (遼太宗) จึงยกมาตีในปี 946 เป็นเหตุให้ราชวงศ์จิ้นยุคหลังสิ้นสุดลงในปีถัดมา หมวดหมู่:ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและฉือ จ้งกุ้ย · ดูเพิ่มเติม »

ซางทัง

ทัง เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1675–1646 ปีก่อนคริสตกาล รัชกาล 29 ปี โดยพระองค์ทรงโค้นล่มพระเจ้าเจี่ย กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์เซี่ย王恆偉.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและซางทัง · ดูเพิ่มเติม »

ซุนกวน

ระเจ้าซุนกวน (181 — 252) หรือ พระเจ้าหวูต้าตี้ เป็นตัวละครในวรรณกรรม จีน อิง ประวัติศาสตร์ เรื่อง สามก๊ก ที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ผู้ก่อตั้งและพระมหากษัตริย์ของง่อก๊ก (吳) หนึ่งในสามอาณาจักรของยุคสามก๊ก ซุนกวนเป็นบุตรคนที่สองของซุนเกี๋ยน และเป็นน้องชายของซุนเซ็ก เมื่อซุนเซ็กพี่ชายตายไปจึงได้ขึ้นครองเมืองกังตั๋งแทนด้วยวัยแค่ 18 ปี แม้ซุนกวนจะไม่ปรากฏความสามารถในการรบเหมือนผู้พี่แต่มีความสามารถในการปกครองสูงมาก มารดาของซุนกวนได้ตายไปก่อนหน้านี้ ผู้ที่เลี้ยงซุนกวนขึ้นมา คือ ง่อก๊กไท่ ผู้มีศักดิ์เป็นน้าของซุนกวน ซึ่งซุนกวนนับถือง่อก๊กไท่ผู้นี้เสมือนแม่แท้ ๆ ของตัว ซุนกวนมีรูปร่างสูงใหญ่ ผิวขาว มีตาสีเขียว หนวดเคราแดง เมื่อขึ้นครองเมืองแต่ยังเล็ก จึงได้รับฉายาว่า "ทารกตาเขียว" ซึ่งในบรรดาผู้นำก๊กทั้ง 3 นั้น ซุนกวนเป็นผู้มีอายุน้อยที่สุด แม้ตอนที่โจโฉยกทัพไปรบกับง่อก๊กของซุนกวนในศึกหับป๋า ซุนกวนก็บัญชาการรบอย่างแข็งขัน จนโจโฉที่แม้แต่เป็นศัตรูยังเอ่ยปากชมว่า "ถ้าจะได้บุตร ต้องได้บุตรอย่างซุนกวน" ซุนกวนมีน้องสาวอยู่นางหนึ่ง เป็นบุตรสาวของง่อก๊กไท่ ชื่อว่าซุนซางเซียงแต่เรียกกันว่า ซุนฮูหยิน ซึ่งต่อมาในภายหลังได้แต่งงานกับเล่าปี่ เป็นภรรยาคนที่ 3 ของเล่าปี่ ซุนกวนออกอุบายให้นางกลับคืนมาง่อก๊ก โดยเชิญนางให้เร่งรีบกลับมาพร้อมอาเต๊าโดยที่เล่าปี่ไม่รู้ แต่ขงเบ้งอ่านอุบายออก จึงให้จูล่งเร่งรีบเดินทางติดตามไป เมื่อถึงเรือของนางก็กระโดดขึ้นเรือขอให้นางกลับไป แต่นางไม่ยอม จูล่งจึงให้นางไปได้แต่อาเต๊า บุตรของเล่าปี่ต้องอยู่ ท้ายที่สุดอาเต๊าก็ได้กลับไปจ๊กก๊ก และเมื่อซุนฮูหยินทราบเมื่อกลับไปถึงว่านี่เป็นอุบายของพี่ชาย ก็เศร้าโศกเสียใจ ท้ายที่สุดนางก็ตรอมใจตาย ซุนกวน เองก็ปรารถนาก็จะเป็นใหญ่ในแผ่นดินเช่นเดียวกับโจโฉและเล่าปี่ เมื่อตอนที่เล่าปี่มาที่ง่อก๊กเพื่อที่จะสมรสกับซุนฮูหยิน แต่ซุนกวนได้ให้คนคอยซุ่มทำร้ายเล่าปี่อยู่เป็นระยะ ๆ เล่าปี่ก็รู้ทันและได้จูล่งแก้สถานการณ์ให้ เมื่อออกมาจากงานได้รำพันถอดถอนหายใจถึงชะตากรรมตัวเอง และได้เจอหินก้อนใหญ่ก้อนหนึ่ง เล่าปี่อธิษฐานว่าหากตนจะได้เป็นใหญ่ ขอให้ใช้กระบี่ฟันหินนี้ให้แตกเป็น 2 ท่อน ก็ปรากฏว่าฟันหินได้ขาดจริง ๆ ซุนกวนเห็นดังนั้นจึงอธิษฐานบ้าง ก็ปรากฏว่าสามารถฟันหินได้แตกเช่นกัน และทั้งคู่จึงได้ขี่ม้าออกชมทัศนียภาพของง่อก๊กด้วยกัน แต่นโยบายในการทำสงครามของซุนกวนจะไม่ประกาศเป็นศัตรูกับก๊กใหญ่อีก 2 ก๊ก นั้นอย่างเต็มที่ แต่จะผูกไมตรีกับทุกก๊กที่จะเป็นประโยชน์กับตัวเอง ดังจะเห็นว่า ซุนกวนเองแม้จะผูกไมตรีกับจ๊กก๊ก แต่ก็หาทางจะกำจัดเล่าปี่อยู่เสมอ ๆ ถ้ามีโอกาส และซุนกวนเองก็เป็นสาเหตุการตายของกวนอู โดยซุนกวนออกอุบายทำให้จับกวนอูได้ จากนั้นจึงตัดหัวกวนอูส่งไปให้โจโฉ ซึ่งทำให้ทั้งเล่าปี่และเตียวหุยแค้นซุนกวนมาก และทั้งเตียวหุยและเล่าปี่ก็ต้องมาตายด้วยการมาแก้แค้นให้กวนอูทั้งสิ้น และต่อมาใน ปี..252 พระเจ้าซุนกวนสวรรคต รวมเวลาเสวยราชย์อยู่ได้ 24 ปี ภายหลังพระเจ้าซุนกวนสวรรคตไปแล้ว พระโอรสก็ได้ขึ้นเป็นผู้นำก๊กต่อ แต่สภาพภายในง่อก๊กไม่แข็งแกร่งเหมือนเก่า ขุนนางแตกแยกกันเอง จนนำมาสู่การล่มสลายของก๊กในที.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและซุนกวน · ดูเพิ่มเติม »

ซุนฮิว (ง่อก๊ก)

พระเจ้าซุนฮิว เป็นตัวละครหนึ่งในเรื่อง สามก๊ก ปรากฏในตอนท้ายของเรื่อง พระองค์เป็นพระราชโอรสองค์ที่หกในพระเจ้าซุนกวน ร่วมมือกับซุนหลิมชิงราชสมบัติจากพระเจ้าซุนเหลียงได้สำเร็จ หลังจากครองง่อก๊กได้ไม่นานก็ระแวงซุนหลิมว่าจะชิงบัลลังก์จึงจับซุนหลิมประหารชีวิตเสีย ต่อมาวุยก๊กจะมาบุกก็ตื่นตระหนกจนสิ้นพระชนม์ลงหลังจากครองราชย์ได้ 7 ปี และแต่งตั้งให้พระเจ้าซุนโฮปกครองง่อก๊กแทน และง่อก๊กก็ต้องล่มสลายลงในสมัยนี้เอง หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่:ราชวงศ์จิ้น หมวดหมู่:จักรพรรดิในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและซุนฮิว (ง่อก๊ก) · ดูเพิ่มเติม »

ซุนโฮ

ซุนโฮ (Sun Hao) เป็นตัวละครในวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์เรื่องสามก๊กที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งง่อก๊ก ได้ชื่อว่าเป็นฮ่องเต้ที่เป็นทรราชย์มากที่สุดผู้หนึ่งจนอาณาจักรล่มสลาย เป็นราชโอรสในพระเจ้าซุนเหลียง ราชโอรสในพระเจ้าซุนกวน ขึ้นครองราชย์หลังจากที่ พระเจ้าสุมาเอี๋ยนหลังจากที่กลืนจ๊กก๊กไปแล้ว ก็หมายจะถล่มง่อก๊ก พระเจ้าซุนฮิวตกพระทัยจนประชวรและสิ้นพระชนม์ลง บรรดาขุนนางง่อก๊กครั้นเมื่อถวายพระศพพระเจ้าซุนฮิวเสร็จแล้ว ก็มีความเห็นตรงกันว่า ควรเชิญซุนเปียน ราชบุตรขึ้นครองราชย์สืบไปตามประเพณี แต่บั้นเฮ็กและเตียวเป๋าขุนนางผู้ใหญ่ คัดค้านเพราะมีความเห็นว่า ถ้าเป็นซุนเปียนเกรงว่าบ้านเมืองจะไปไม่รอด จึงเห็นว่าควรทูลเชิญซุนโฮ ผู้เป็นราชนัดดาในพระเจ้าซุนกวนขึ้นครองราชย์จะสมกว่า เพราะมีสติปัญญาเฉียบแหลมกว่า จึงมีพิธีราชาภิเษกขึ้นในวันขึ้นหนึ่งค่ำ เดือนเก้า เมื่อได้ครองราชย์แล้ว พระเจ้าซุนโฮก็สถาปนาซุนเปียนเป็นเจ้าเจี๋ยงอ๋อง ให้ขุนพลเตงฮองเป็นต้ายสุมา จากนั้นก็ทรงมีพฤติกรรมวิปริต มิได้ตั้งอยู่ในธรรม ทรงฟังแต่คำของยิมหุน ขันทีในวัง เอียงเหียงและเตียวเป๋าได้เข้าไปทูลห้ามเตือนหลายต่อหลายครั้ง พร้อมกล่าวว่า ถ้าพระองค์ขืนประพฤติองค์เช่นนี้ ไม่ช้าแผ่นดินนี้จะต้องตกเป็นของสุมาเอี๋ยนอย่างแน่นอน พระเจ้าซุนโฮกริ้ว จึงสั่งให้ประหารขุนนางทั้งสอง จากนั้นมาก็ไม่มีใครกล้าเพ็ดทูลห้ามปรามอีกเลย วันหนึ่ง พระเจ้าซุนโฮแปรพระราชฐานจากกังตั๋ง ไปประทับอยู่ยังเมืองบู๊เฉียง ก็ทรงใช้จ่ายพระราชทรัพย์ในการสร้างพระราชวังแห่งใหม่อย่างฟุ่มเฟื่อย จากการขูดรีดภาษีราษฎร พร้อมเสพสมกามากับเด็กสาววัยรุ่นมากมาย ต่อมาได้ทรงให้โหรหลวงทำนายดวงชะตา โหรทำนายว่า ต่อไปภายภาคหน้า พระเกียรติยศจะขจรขจายไปถึงลกเอี๋ยง พระเจ้าสุมาเอี๋ยนต้องมาสยบกับแทบพระบาท พระเจ้าซุนโฮดีพระทัยนัก จึงฮึกเหิมหมายจะบุกตีนครลกเอี๋ยง จึงเรียกบรรดาขุนนางมาประชุมถึงการบุกไปตีลกเอี๋ยง หอกหยก ขุนนางคนหนึ่งจึงทูลคัดค้านไปพร้อมกับสั่งสอนพระองค์ให้ตั้งมั่นอยู่ในธรรม ทำนุบำรุงราษฎร บ้านเมืองจะดีกว่า พระเจ้าซุนโฮทรงกริ้วไล่หอกหยกออกจากราชการ พร้อมกับดึงดันแต่งตั้งให้ลกข้องเป็นแม่ทัพใหญ่ ยกทัพไปประชิดเมืองซงหยง ปากทางเข้าอาณาจักรไต้จิ้น พระเจ้าสุมาเอี๋ยน จึงมีบัญชาให้เอียวเก๋า เจ้าเมืองซงหยงตั้งพร้อมเตรียมรับศึก เอียวเก๋าเป็นผู้มีเมตตาธรรม ไม่ชอบออกทัพจับศึก จึงคิดผูกไมตรีกับลกข้อง ท้ายที่สุดลกข้องก็ปลาบปลื้มในน้ำใจเอียวเก๋า มีหนังสือไปยังพระเจ้าซุนโฮว่า ทางฝ่ายนี้มิได้คิดร้ายขออย่าได้สู้รบกันเลย พระเจ้าซุนโอก็กริ้ว สั่งปลดลกข้องออกจากตำแหน่ง และยกให้ซุนอี้เป็นแม่ทัพแทน ในเวลานั้น ขุนนางคนใดไม่เห็นด้วยกับพระองค์ ก็จะถูกปลดหรือถูกประหารชีวิตไปหมดสิ้น ทางฝ่ายเอียวเก๋า เมื่อทราบว่าลกข้องถูกปลดออกจากแม่ทัพใหญ่แล้ว มีหนังสือทูลไปยังพระเจ้าสุมาเอี๋ยน เป็นเวลาที่เหมาะสมแล้วที่จะบุกตีง่อก๊ก แต่กาอุ้นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ไม่เห็นด้วย เอียวเก๋าจึงเดินทางกลับลกเอี๋ยง และลาออกจากราชการ ไปพักอาศัยอยู่ยังบ้านเดิม จนกระทั่งสิ้นชีวิต ก่อนสิ้นชีวิตเอียวเก๋าได้กราบทูลว่า บัดนี้เห็นควรแต่งตั้ง เตาอี้ เป็นแม่ทัพใหญ่ทำการนี้แทน ท้ายที่สุดเตาอี้ก็สามารถเอาชนะง่อก๊กได้สำเร็จ ในปี พ.ศ. 823 แผ่นดินจีนจึงควบรวมเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้ง หลังจากแตกแยกเป็นสามก๊กนานถึง 60 ปี สำหรับ พระเจ้าซุนโฮ ทอดพระเนตรความพ่ายแพ้ของอาณาจักรพระองค์เองบนกำแพงเมือง และได้ทรงยอมแพ้ ถวายบรรณาการแด่พระเจ้าสุมาเอี๋ยน พระเจ้าสุมาเอี๋ยนก็แต่งตั้งให้เป็นอุ้ยเบ้งเฮา ขุนนางง่อก๊กทั้งหลายก็แต่งตั้งให้อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมกันไป เป็นอันอวสานของอาณาจักรง่อ หรือ อู๋ ที่ดำรงมานานกว่า 58 ปี (พ.ศ. 765- พ.ศ. 823) หลังจากนั้นอีกต่อมา 4 ปี พระเจ้าซุนโฮก็สวรรคตด้วยพระชนมายุ 43 พรรษา ครองราชย์ได้ 12 ปี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและซุนโฮ · ดูเพิ่มเติม »

ซุนเหลียง

พระเจ้าซุนเหลียง เป็นพระราชโอรสองค์เล็กในพระเจ้าซุนกวนและครองราชย์ต่อจากซุนกวน ตอนแรกอำนาจตกอยู่กับจูกัดเก๊กจึงให้ซุนจุ้นจัดการสังหารจูกัดเก๊กเสีย เมื่อซุนจุ้นเสียชีวิตอำนาจก็ตกอยู่กับซุนหลิมจึงตั้งใจจะสังหารซุนหลิมเสียแต่ซุนหลิมจับได้เสียก่อนจึงบังคับให้สละราชสมบัติและให้ซุนฮิวโอรสองค์ที่หกของพระเจ้าซุนกวนขึ้นครองราชย์แทนและให้พระเจ้าซุนเหลียงเป็นอ๋อง ต่อมาถูกลดตำแหน่งเป็นพระยาและเนรเทศไปที่ชายแดนจึงตรอมใจและฆ่าตัวตาย หมวดหมู่:บุคคลในยุคสามก๊ก หมวดหมู่:จักรพรรดิในยุคสามก๊ก.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและซุนเหลียง · ดูเพิ่มเติม »

นฺหวี่วา

250px นฺหวี่วา ตามสำเนียงกลาง หรือ หนึ่งออ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นนางฟ้าในเทพปกรณัมจีน เป็นที่รู้จักว่าสร้างสรรค์มนุษยชาติและซ่อมกำแพงสวรรค์ (ท้องฟ้า) นอกจากนี้ ยังอาจนับเป็นประมุขคนที่สองของประเทศจีนด้ว.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและนฺหวี่วา · ดูเพิ่มเติม »

โจมอ

พระเจ้าโจมอ (Cao Mao; พระราชนัดดาในพระเจ้าโจผี ทรงมีฐานันดรศักดิเป็นเกากุ้ยเซียงกงมีฉายาว่า เอี๋ยนซื้อ ครองอยู่ ณเมืองอ้วนเสีย เมื่อสุมาสูถอดพระเจ้าโจฮองออกจากราชสมบัติแล้ว ได้อัญเชิญพระเจ้าโจมอขึ้นครองราชสมบัติสืบต่อไป เมื่อปี พ.ศ. 797(ค.ศ. 254) ต่อมาสุมาสูสิ้นชีพ สุมาเจียวได้ดำรงตำวแหน่งสมุหนายกกุมอำนาจไว้อีก พระเจ้าโจมออยู่ในราชสมบัตินาน 5 ปี มีความรู้สึกกดดันที่อยู่ภายใต้อำนาจสุมาเจียวจึงแต่งกลอนเพื่อระบายความในใจออกมาแต่กลอนนี้กับหลุดไปถึงหูสุมาเจียว ทำให้เกิดความโมโหจึงบุกเข้าไปด่าทอในท้องพระโรงต่อหน้าข้าราชบริพารและออกจากท้องพระโรงโดยไม่ทูลลา ทำให้พระเจ้าโจมอเกิดความพิโรธและทนการรุกรานของสุมาเจียวไม่ไหว จึงเตรียมการโค่นอำนาจของสุมาเจียวโดยไม่ฟังเสียงคัดค้านขุนางที่จงรักภักดีเลย ยกทัพทหารประมาณ 300 เศษ จะไปจับสุมาเจียวจึงเกิดการปะทะกับกำลังของสุมาเจียว และถูกเซงเจ (เฉิงจี้) เอาง้าวแทงถูกพระอุระพลัดตกจากราชรถ แล้วเอาง้าวฟันซ้ำ พระเจ้าโจมอก็สิ้นพระชนม์ จโมอ จโมอ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและโจมอ · ดูเพิ่มเติม »

โจฮวน

ระเจ้าโจฮวน (Cáo Huàn) เป็นฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของวุย ก๊ก ซึ่งถูกสุมาเอี๋ยน (Sima Yan) ขับออกจากราชบังลังก์และสถาปนาราชวงศ์จิ้นขึ้นแทนที่ราชวงศ์วุยและเปลี่ยนชื่อก๊กจากวุยก๊กเป็นไต้จิ้น โจฮวน ตอนเกิดชื่อ โจฮวง (Cao Huang 曹璜) เป็นบุตรของโจฮู (Cao Yu) ซึ่งเป็นบุตรคนที่ 3 ของโจโฉกับนางฮวนฮูหยิน (บุตรคนโตของโจโฉกับนางฮวนฮูหยินคือโจฉอง ซึ่งได้ชื่อว่ามีสติปัญญาคิดวิธีชั่งน้ำหนักช้างได้ แต่เสียชีวิตตั้งแต่ยังเด็ก) ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและโจฮวน · ดูเพิ่มเติม »

โจฮอง

พระเจ้าโจฮอง (เฉาฟาง) เป็นพระราชโอรสเลี้ยงในพระเจ้าโจยอย มีฉายาว่าหลันชิง ไม่ทราบว่าเป็นบุตรใครมาแต่เดิม ขึ้นเสวยราชย์ต่อจากพระเจ้าโจยอยเมื่อพระชนมายุ 8 พรรษา โดยมีชื่อโจซอง บุตรโจจิ๋นเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ พระเจ้าโจฮองทรงมีนิสัยดื้อด้าน มัวเมาแต่สุรานารี เมื่อเสวยราชย์ได้ 10 ปี สุมาอี้ทำรัฐประหารฆ่าโจซองเสีย แล้วตั้งตัวเป็นสมุหนายก คุมอำนาจไว้ทั้งหมด ครั้นสุมาอี้สิ้นชีพ สุมาสูยึดอำนาจสืบต่อไปและ รุกรานพระเจ้าโจฮองหนักมือขึ้น พระเจ้าโจฮองทรงพระราชดำริจะโค่นอำนาจของสุมาสู แต่สุมาสูจับแผนการได้ จึงถอดเสียราชบัลลังก์ตั้งให้เป็นฉีอ๋อง (ในสามก๊กไทยเรียกว่าเจอ่อง) ออกไปอยู่เสียหัวเมืองบ้านนอก อยู่ในราชสมบัติ 15 ปี ระหว่าง พ.ศ. 782 (ค.ศ. 239) ถึง พ.ศ. 797 (ค.ศ. 254) หมวดหมู่:วุยก๊ก.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและโจฮอง · ดูเพิ่มเติม »

โจผี

ระเจ้าโจผี หรือ เฉาพี พระนามรอง จื่อหวน เป็นพระโอรสองค์รองในพระเจ้าโจโฉ ได้สืบต่อตำแหน่ง วุยอ๋อง และอำนาจต่อหลังจากโจโฉสิ้นพระชนม์ไปแล้ว ภายหลังจึงได้ล้มล้างราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ปราบดาภิเษกเป็นปฐมจักรพรรดิของราชวงศ์เว่ย (วุยก๊ก) ทรงพระนามว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเว่ยเหวินตี้ (- จักรพรรดิแห่งเว่ย) ในปี พ.ศ. 763 โจผีนั้นเป็นบุตรคนรอง แต่ก็ได้มีบทบาทในการสืบทอดอำนาจจากโจโฉ เนื่องจากบุตรชายคนโต คือ โจงั่ง ได้เสียชีวิตไปตั้งแต่ยังอายุน้อยในการติดตามโจโฉไปทำสงคราม ในนิยายสามก๊กได้ โจโฉได้กล่าวถึงโจผี ว่าเป็นคนมีปัญญา จิตใจหนักแน่น โอบอ้อมอารีย์ จึงสมควรจะเป็นสืบทอดอำนาจของตน โจผีเป็นผู้เชี่ยวชาญในการแต่งกลอน กาพย์กวี เช่นเดียวกับโจโฉผู้บิดา และยังได้เคยติดตามบิดาออกไปทำสงครามบ่อยครั้ง ตั้งแต่ยังเยาว์ โจผีมีภรรยาหลวง คือนางเอียนสี ซึ่งได้ตัวมาเมื่อครั้งที่โจโฉทำสงครามกัวต๋อกับตระกูลอ้วน นางเอียนสีนั้นเป็นสาวงามที่มีชื่อว่า เป็นหญิงงามแห่งแผ่นดินทางเหนือ และยังเป็นภรรยาม่ายของอ้วนฮี บุตรชายของอ้วนเสี้ยว คู่ศึกของโจโฉ จึงย่อมถือเป็นเชลยศึก แต่โจผีก็ได้รับนางมาตกแต่งเป็นภรรยาหลวง ในขณะนั้นโจผีอายุได้ 17 ปี ขณะที่นางเอียนสีอายุมากกว่า คือ 22 ปี ซึ่งภายหลังเมื่อโจผีได้ขึ้นครองราชย์ ก็ได้สถาปนานางเป็นฮองเฮา เนื่องจากการที่โจผีขึ้นครองราชย์ สถาปนาตนเองเป็นฮ่องเต้ จึงทำให้ซุนกวนและเล่าปี่ต้องสถาปนาตนเองเป็นฮ่องเต้ตามไปด้วย ก่อให้เกิดสภาพของสามก๊กอย่างแท้จริง พระเจ้าโจผีเมื่อได้ปราบดาภิเษกเป็นฮ่องเต้ในเบื้องแรกนั้นก็ได้ทรงดำริจะทำการกวาดล้างศัตรูทุกคน รวมไปถึงพระอนุชา คือ โจสิด ซึ่งมีสติปัญญา และฝีมือในเชิงการกวี เช่นเดียวกับพระองค์ และเคยเป็นคู่แข่งในการแต่งตั้งรัชทายาทของโจโฉด้วย แต่โจสิดสามารถเอาตัวรอดได้ โดยการแต่งโคลงมีใจความว่า ต้นถั่วเผาต้นถั่ว ในกระทะถั่วร้องไห้ กำเนิดจากรากเดียวกัน เหตุไฉนคิดทำลาย มีความหมายถึง การที่พี่น้องซึ่งมาจากจุดกำเนิดเดียวกัน กลับต้องมาสังหารเข่นฆ่ากัน ด้วยเหตุใด ทำให้พระเจ้าโจผีสะเทือนพระทัย และไม่อาจสังหารพระอนุชาได้ ซึ่งโคลงบทกวีที่โจสิดแต่งขึ้นเพื่อเอาชีวิตรอดนี้มีชื่อเสียงมาก พระเจ้าเว่ยเหวินตี้ โจผี เป็นฮ่องเต้ที่ครองราชย์ในระยะอันสั้นเพียง 7 ปี เท่านั้น ก็ทรงพระประชวร และเสด็จสวรรคต ในปี พ.ศ. 769 สิริรวมพระชนมายุได้ 39 พรรษ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและโจผี · ดูเพิ่มเติม »

ไห่ฮุนโหว

องค์ชายชังอี้ (Prince of Changyi; ตาย: ปีที่ 59 ก่อนคริสตกาล) ชื่อตัวว่า หลิว เฮ่อ (劉賀) เป็นพระเจ้าแผ่นดินจีนในราชวงศ์ฮั่น ในปีที่ 74 ก่อนคริสตกาล โฮ่ว กวัง (霍光) เสนาบดี ยกหลิว เฮ่อ ขึ้นสืบราชบัลลังก์ ใช้ชื่อรัชกาลว่า เยฺวี๋ยนผิง (元平) ยี่สิบเจ็ดวันให้หลัง โฮ่ว กวัง ก็ถอดหลิว เฮ่อ ออกจากสมบัติ โดยให้เหตุผลว่า เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวฮั่น แต่ยอมให้ใส่ชื่อหลิว เฮ่อ ไว้ในลำดับกษัตริย์ได้ เมื่อหลิว เฮ่อ พ้นจากตำแหน่งแล้ว ก็กลับไปสู่บรรดาศักดิ์เดิม คือ องค์ชายชังอี้ แต่ไร้อำนาจราชศักดิ์ใด ๆ เมื่อนำหลิว เฮ่อ ออกจากตำแหน่งแล้ว โฮ่ว กวัง ก็ยกหลิว ปิ้งอี่ (劉病已) ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ถัดมา หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและไห่ฮุนโหว · ดูเพิ่มเติม »

ไท่ อู้

ระเจ้าไท่อู่ เป็นกษัตริย์รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์ซางในประวัติศาสตร์จีน ทรงครองราชย์ระหว่าง 1555 ปีก่อนคริสตกาล - 1480 ปีก่อนคริสตกาล ปีรัชกาลยาวนานถึง 75 ปี เมื่อ 1480 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์สวรรคต พระเจ้าจงติง พระราชโอรสขึ้นสืบราชวงศ์ ปีรัชกาลของพระองค์ยาวนานที่สุดในราชวงศ์ซาง โดยในรัชสมัยของพระองค์การเก็บเกี่ยวผลผลิตทางเกษตรกรรมได้ผลดีมาก ในสมัยของพระองค์มีทูตจากเผ่าอื่นๆมาเจริญทางพระราชไมตรีด้ว.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและไท่ อู้ · ดูเพิ่มเติม »

ไท่ช่างหฺวัง

ท่ช่างหฺวัง (แปลตรงตัวว่า พระเจ้าหลวง) เป็นสมัญญาของจักรพรรดิจีนที่สละราชสมบัต.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและไท่ช่างหฺวัง · ดูเพิ่มเติม »

ไฉ หรง

ฉ หรง (柴榮; 27 ตุลาคม 921 – 27 กรกฎาคม 959) หรือชื่อใหม่ว่า กัว หรง (郭榮) indicates that he was called Guo Rong at least since 950.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและไฉ หรง · ดูเพิ่มเติม »

ไฉ จงซฺวิ่น

ฉ จงซฺวิ่น ตามสำเนียงกลาง หรือ จิวซาซือ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (柴宗訓; 14 กันยายน 953 – 973) หรือชื่ออื่นว่า กัว จงซฺวิ่น (郭宗訓) และเมื่อตายแล้วได้นามว่า ปูชนียกษัตริย์ (恭帝) เป็นกษัตริย์องค์ที่สามและองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โจวยุคหลังในประเทศจีนสมัยห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร ไฉ จงซฺวิ่น เป็นบุตรของไฉ หรง (柴榮) ไฉ หรง ตายฉับพลันในปี 959 ไฉ จงซฺวิ่น จึงสืบบัลลังก์ต่อ แต่ต้นปีถัดมา แม่ทัพเจ้า ควงอิ้น (趙匡胤) ยึดอำนาจแล้วตั้งราชวงศ์ซ่งขึ้น ไฉ จงซฺวิ่น ถูกฆ่าระหว่างถูกส่งไปขังไว้ที่เมืองซีจิง (西京).

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและไฉ จงซฺวิ่น · ดูเพิ่มเติม »

เล่าปี่

หลิว เป้ย์ ตามสำเนียงมาตรฐาน หรือ เล่าปี่ ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (ค.ศ. 161 – 10 มิถุนายน ค.ศ. 223) ชื่อรองว่า เสวียนเต๋อ (玄德) เป็นขุนศึกสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออกผู้ก่อตั้งรัฐฉู่ฮั่น/จ๊กฮั่น (蜀漢) ในสมัยสามก๊กและได้เป็นผู้ปกครองคนแรกของรัฐดังกล่าว แม้จะเริ่มต้นด้วยความล้มเหลวเมื่อเทียบกับคู่แข่ง ทั้งยังปราศจากขุมกำลังและสถานะทางสังคมดังที่คู่แข่งมี แต่นานวันเข้า หลิว เป้ย์ ก็ได้การสนับสนุนจากกลุ่มผู้ภักดีต่อราชวงศ์ฮั่นซึ่งต่อต้านเฉา เชา/โจโฉ (曹操) ขุนศึกผู้สามารถควบคุมการปกครองส่วนกลางรวมถึงพระเจ้าฮั่นเสี่ยน/ฮั่นเหี้ยน (漢獻帝) จักรพรรดิหุ่นเชิด ไว้ได้ ครั้นแล้ว หลิว เป้ย์ ก็ขับเคลื่อนขบวนการประชาชนเพื่อรื้อฟื้นราชวงศ์ฮั่น จนก่อตั้งดินแดนของตนซึ่งกินอาณาเขตที่ปัจจุบันคือกุ้ยโจว ฉงชิ่ง ซื่อชวน หูหนาน และบางส่วนของกานซู่กับหูเป่ย์ ในทางวัฒนธรรมแล้ว สืบเนื่องความโด่งดังของนวนิยายสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14 เรื่อง สามก๊ก หลิว เป้ย์ จึงได้รับการมองว่า เป็นผู้ปกครองที่โอบอ้อมอารี รักใคร่ปวงประชา และเลือกสรรคนดีเข้าปกครองบ้านเมือง เรื่องแต่งเหล่านี้เป็นไปเพื่อยกตัวอย่างเชิงสดุดีผู้ปกครองที่ยึดมั่นคุณธรรมแบบขงจื๊อ แต่ในทางประวัติศาสตร์แล้ว หลิว เป้ย์ ยึดถือเล่าจื๊อมากกว่า เฉกเช่นเดียวกับผู้ปกครองหลาย ๆ คนแห่งราชวงศ์ฮั่น ทั้งเขายังเป็นนักการเมืองที่ชาญฉลาด เป็นผู้นำที่ความสามารถฉายออกมาในแบบนักนิตินิยม ความนับถือขงจื๊อของหลิว เป้ย์ นั้นได้รับการแต่งเติมมากกว่าของคู่แข่งอย่างเฉา พี/โจผี (曹丕) กับซุน เฉวียน/ซุนกวน (孫權) ผู้ซึ่งบริหารบ้านเมืองอย่างนิตินิยมเต็มรูปแ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและเล่าปี่ · ดูเพิ่มเติม »

เล่าเสี้ยน

ระเจ้าเล่าเสี้ยน หรือ หลิวส้าน หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิเซี่ยวหวย พระมหาจักรพรรดิผู้ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานที่สุดของยุคสามก๊ก ทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ฮั่น เชื้อสายราชสกุลเล.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและเล่าเสี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

เสินหนง

วาดเสินหนงทดสอบคุณสมบัติของสมุนไพร เสินหนง (Shennong;; สำเนียงแต้จิ๋ว: ซิ่งล้ง, สำเนียงฮกเกี้ยน: สินเหน่ง) กษัตริย์ในตำนานของจีน ในยุคเริ่มต้นของอารยธรรมมนุษย์ มีอีกชื่อหนึ่งว่า เสินหนงสื่อ (จีนตัวเต็ม: 神農氏, จีนตัวย่อ: 神农氏, พินอิน: Shén nóng shì) โดยมีความหมายว่า "เทพเจ้าแห่งชาวนา" เสินหนงเป็นหัวหน้าเผ่าหัว (ฮั้ว) แซ่เจียง เมื่อ 5,000 ปี ก่อน ได้ร่วมทำไร่ไถนากับชาวบ้านสามัญชน และเป็นผู้คิดประดิษฐ์คันไถด้วยไม้และสอนให้ผู้คนรู้จักการปลูกข้าว ทำไร่ไถนา ซึ่งเป็นการขับเคลื่อนพัฒนาการเกษตรเป็นอย่างมาก ด้วยคุณงามความดีทางด้านการเพาะปลูก ผู้คนทั้งหลายจึงให้ความเคารพนับถือมาก สมัยเสินหนงเป็นระยะแรกเป็นไปเป็นแบบลูกชายสืบทอดเชื้อสายจากสายของพ่อ ประชาชนอยู่ด้วยกันอย่างปรองดองไม่มีการกดขี่ขูดรีด ตามบันทึกของจีนบันทึกไว้ว่า ในช่วงที่เสินหนงเป็นหัวหน้าเผ่านั้น แบ่งหน้าที่ตามสถานะทางเพศชัดเจน ผู้ชายออกจากบ้านไปทำไร่ไถนา ผู้หญิงทอผ้าในบ้าน การปกครองประเทศไม่ต้องมีเรือนจำและการลงโทษ และก็ไม่ต้องมีการทหารและตำรวจ แต่คุณูปการที่สำคัญยิ่งของเสินหนงได้แก่ การเสาะหาสมุนไพรตาม ป่าเขา เพื่อใช้รักษาโรคของผู้คนทั้งหลายและในการทดสอบสรรพคุณ ของสมุนไพรว่า จะรักษาโรคเช่นไรได้ เสินหนงได้ใช้ตนเองเป็นเครื่องทดลอง ด้วยการลองกินสมุนไพรชนิดนั้น ๆ ดูว่า จะมีผลต่อร่างกายอย่างไร จึงถูกพิษเล่นงานบ่อยครั้งจนกระทั่งบางวันเป็นพิษถึง 70 กว่าครั้งภายในวันเดียว กล่าวกันว่าเสินหนงยังได้แต่งหนังสือชื่อ "เสินหนงไป๋ฉ่าว" แปลว่า "ยาสมุนไพรเสินหนง" โดยได้จดบันทึกใบสั่งยาสมุนไพรที่รักษาโรคแต่ละอย่างไว้ จึงอาจถือได้ว่าเป็นตำราทางการแพทย์เล่มแรกของโลกก็ว่าได้ นอกจากนี้แล้ว เสินหนงเป็นคนแรกที่รู้จักการดื่มน้ำชา เล่ากันว่า เสินหนงดื่มเฉพาะน้ำต้มสุก วันหนึ่งขณะที่เสินหนงกำลังพักผ่อนอยู่ใต้ต้นชาในป่า และกำลังต้มน้ำอยู่ ปรากฏว่า ลมได้พัดโบกใบชาร่วง หล่นลงในน้ำที่ใกล้เดือดพอดีเมื่อลองดื่มดูก็เกิดความรู้สึกสดชื่นกระปรี้กระเปร่าขึ้นมาก จึงเป็นที่ของวัฒนธรรมการดื่มชาของชาวจีนจนปัจจุบัน ในทางด้านวิทยาการ เสินหนง ยังเป็นนักปฏิทินดาราศาสตร์ ได้ปรับปรุงและขยาย "แผนภูมิปากั้ว" หรือ "แผนภูมิ 8" ที่ "ฝูซี" (伏羲) เป็นผู้คิดค้นขึ้นเพื่อใช้ในการแสดงปรากฏการณ์ของธรรมชาติและปรากฏการณ์ของมนุษย์ต่าง ๆ มาเป็น "ลิ่วสือซื่อกั้ว" หรือ "แผนภูมิ 64" ตั้งชื่อว่า "กุยฉาง" ซึ่งนอกจากใช้บันทึกเหตุการณ์ แล้ว ยังนำมาใช้ในการเสี่ยงทายได้ด้วย (ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็นอี้จิง หรือ โจวอี้) นอกจากนั้น เมื่อเสินหนงเห็นคนบางคนต้องการสิ่งของที่ตนเองผลิตไม่เป็น แต่บางคนกลับมีเกินความจำเป็น ทำให้การดำรงชีวิตไม่สะดวกสมดุล จึงเสนอให้ประชาชนนำสิ่งของของตนไปแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน และให้มีการค้าขายกัน จึงถือได้ว่าระบบเศรษฐกิจของจีนถือกำเนิดมาในยุคนี้เอง เพื่อให้ประชาชนมีความสนุกสนานหลังใช้แรงงานแล้ว เสินหนง ได้คิดประดิษฐ์เครื่องดนตรีชนิดหนึ่งเรียกว่า "อู่เสียนฉิน" หรือ พิณ 5 สาย ที่มีเสียงไพเราะน่าฟัง เสินหนงเป็นหัวหน้าเผ่านานถึง 140 ปี ภายหลังหวงตี้ได้เข้าครองตำแหน่งการปกครองต่อมา ส่วนสุสานของเสินหนงอยู่ที่เมืองฉางชาของมณฑลหูหนานในปัจจุบัน แต่คนทั่วไปเรียกว่า สุสานเหยียนตี้.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและเสินหนง · ดูเพิ่มเติม »

เหวิน ติง

หวิน ติง เป็นกษัตริย์โบราณแห่งจีน ในราชวงศ์ชาง ที่ทรงครองราชย์ใน 1112 – 1102 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและเหวิน ติง · ดูเพิ่มเติม »

เหิง เจิ้น

องค์ชายเหิง เจิ้น ในพิธีเคารพบรรพบุรุษ เหิง เจิ้น เกิด ณ กรุงปักกิ่ง เมื่อปี ค.ศ. 1944 เป็นพระประมุขราชสกุลอ้ายซินเจว๋หลัว ต่อจากยวี่เหยียน โดยสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิเต้ากวง รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์ชิง และเป็นญาติกับจักรพรรดิผู่อี๋ จักรพรรดิต้าชิงพระองค์สุดท้าย ปัจจุบันนี้ถึงแม้เขาจะไม่ค่อยออกสื่อมากนัก เพราะมีกฏเหล็กข้อห้ามให้อดีตพระราชวงศ์ทุกคนห้ามแสดงปฏิกิริยาออกหน้าออกตาหรือออกสื่อ เพราะจะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐบาล แต่ถึงแม้อย่างไรก็ตามพระองค์และราชวงศ์ก็ได้รับความนิยมต่อประชาชนไม่น้อย ปัจจุบันนี้มีมูลนิธิในพระอุปถัมภ์ของราชวงศ์ชิงอยู่มากมายที่ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนและยังได้รับการอุปถัมภ์จากรัฐบาลจีนด้วย ทั้งนี้ทั้งนั้นราชวงศ์ชิงยังได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ถึงขนาดมีการตั้งองค์กรขึ้นมาเพื่อช่วยเหลือสมาชิกราชวงศ์ที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามถึงแม้เขาและญาติจะไม่มีอำนาจเหมือนดังแต่ก่อน แต่ก็ยังได้รับพระเกียรติและความเคารพจากรัฐบาลให้พระองค์และพระญาติอาศัยในพระราชวังกู้กงได้ในพื้นที่ที่รัฐบาลจัดให้เท่านั้น และทุก ๆ วันชาติจีนรัฐบาลและประชาชนองค์กรต่าง ๆ จะมีการจัดพิธีเคารพบรรพบุรุษที่เสียสละเพื่อชาติบ้านเมือง เขาและญาติก็จะเสด็จมาร่วมในการนี้ด้วยทุกๆปี ปัจจุบันหากเขาและญาติจะออกงานต่าง ๆ ที่ได้ทรงรับเชิญนั้น จะต้องได้รับการอนุญาตจากรัฐบาลจีนเท่านั้นถึงจะไปได้ ยกเว้นในศาสนพิธีตามโบราณราชประเพณีเท่านั้นซึ่งจะมีการจัดขึ้นทุก ๆ ปี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและเหิง เจิ้น · ดูเพิ่มเติม »

เตมูร์ ข่าน

thumb เตมูร์ ข่าน หรือ สมเด็จจักรพรรดิหยวนเฉินจง (15 ตุลาคม ค.ศ. 1265 - 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1307) พระบรมราชสมภพเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและเตมูร์ ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

เป่ย์เซียงโหว

หลวงเป่ย์เซียง (Marquess of Beixiang) ชื่อตัวว่า หลิว อี้ (劉懿) และบางทีเรียก เยาวราช (少帝) จักรพรรดิจีนในสมัย ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เสวยราชย์หลังจาก จักรพรรดิฮั่นอัน สวรรคตอย่างกะทันหันในปี 125 แต่ก็สวรรคตตามไปไม่ช้าในปีเดียวกันต่อจากนั้นเหล่าขันทีก็ยึดอำนาจแล้วยก หลิว เป่า ขึ้นเป็นจักรพรรดิองค์ใหม่ หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ฮั่น หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่สวรรคตขณะทรงพระเยาว์.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและเป่ย์เซียงโหว · ดูเพิ่มเติม »

12 กรกฎาคม

วันที่ 12 กรกฎาคม เป็นวันที่ 193 ของปี (วันที่ 194 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 172 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและ12 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและ16 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 ตุลาคม

วันที่ 17 ตุลาคม เป็นวันที่ 290 ของปี (วันที่ 291 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 75 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและ17 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

28 กุมภาพันธ์

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 59 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและ28 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

7 กุมภาพันธ์

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 38 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 327 วันในปีนั้น (328 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิจีนและ7 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »