โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์

ดัชนี รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์

นี่คือ รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์ ตั้งแต่การสถาปนากรุงคอนสแตนติโนเปิลในปี..

111 ความสัมพันธ์: บอลข่านชาร์เลอมาญชาวออสโตรกอทชาวอาร์มีเนียชาวแฟรงก์ชาวแวนดัลบิแซนเทียมชนบัลการ์พ.ศ. 1996พ.ศ. 873พระสันตะปาปาพระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศสพระเจ้าธีโอดอริคมหาราชพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอนการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 674–678)การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 717-718)การทำลายรูปเคารพสมัยไบแซนไทน์การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิลภาษากรีกรัฐนักรบครูเสดรัฐเคาะลีฟะฮ์ฟาติมียะห์ราชวงศ์ราชวงศ์ตีมูร์ราชวงศ์เซลจุคราชอาณาจักรฮังการีลัทธิเอเรียสสมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 1 แห่งคาสตีลสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3สังคายนาไนเซียครั้งที่หนึ่งสุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมันสงครามครูเสดครั้งที่ 1สงครามครูเสดครั้งที่ 4หลักข้อเชื่อไนซีนอะทาเนเชียสแห่งอะเล็กซานเดรียอิซนิคอิไพรัส (ภูมิภาค)ฮายาโซฟีอาจักรพรรดิกงสตันติอุส โคลรุสจักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอสจักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิมิคาเอลที่ 3จักรพรรดิมิคาเอลที่ 8 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิมิคาเอลที่ 9 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1จักรพรรดิยุสตีนุสที่ 2จักรพรรดิลิกินิอุสจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอสจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 3 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิอาร์กาดิอุส...จักรพรรดิอเล็กซานเดอร์แห่งไบแซนไทน์จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอสจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอสจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 3 อันเจลอสจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 4 อันเจลอสจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 5 ดูคาสจักรพรรดิจอห์นที่ 1จักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอสจักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 2จักรพรรดิดิออเกลติอานุสจักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราชจักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 2จักรพรรดิคอนสแตนสที่ 2จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 4จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 7จักรพรรดิคอนสแตนเชียสที่ 2จักรพรรดิติแบริอุสที่ 2จักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์จักรพรรดินีเฮเลนาจักรพรรดิโพกัสจักรพรรดิโรมันจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 อันเจลอสจักรพรรดิเมาริกิอุสจักรพรรดิเฮราคลิอัสจักรพรรดิเฮราโคลนาสจักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 1จักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 2จักรพรรดิเซโนจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2จักรวรรดิละตินจักรวรรดิออตโตมันจักรวรรดิแซสซานิดจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรวรรดิโรมันตะวันตกจักรวรรดิไบแซนไทน์จักรวรรดิไนเซียขันทีดัชชีเอเธนส์ดูร์เรสครีตคอนสแตนติโนเปิลคาร์เธจซีรากูซาประชุมกฎหมายแพ่งนอร์มันนีชแพทริเซียนแคว้นปกครองตนเองซิซิลีแคปพาโดเชียเลสบอสเลือดออกในสมองใหญ่เอเธนส์เทสซาโลนีกีเนื้อตายเน่า11 พฤษภาคม29 พฤษภาคม ขยายดัชนี (61 มากกว่า) »

บอลข่าน

แผนที่ทางอากาศของคาบสมุทรบอลข่าน คาบสมุทรบอลข่าน (Balkans) เป็นชื่อทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ หมายถึงดินแดนทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 550,000 ตร.กม. และมีประชากรรวมกันราว 53 ล้านคน ชื่อนี้มาจากชื่อของเทือกเขาบอลข่านที่พาดผ่านใจกลางประเทศบัลแกเรียไปยังด้านตะวันออกของสาธารณรัฐเซอร์เบี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และบอลข่าน · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์เลอมาญ

ร์เลอมาญ (Charlemagne) หรือชื่อในภาษาเยอรมันคือ คาร์ลมหาราช (Karl der Große) เป็นกษัตริย์แห่งชาวแฟรงก์ (ฝรั่งเศสโบราณ) ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และชาร์เลอมาญ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวออสโตรกอท

ออสโตรกอท (Ostrogoths, Ostrogothi, Austrogothi) เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มชาติพันธ์กอทซึ่งเป็นสาขาของชนเจอร์มานิคตะวันออกที่มีบทบาทสำคัญในทางการเมืองในตอนปลายจักรวรรดิโรมัน อีกสาขาหนึ่งคือชาววิซิกอท ชนออสโตรกอทก่อตั้งรัฐในกรุงโรมในอิตาลีและคาบสมุทรบอลข่านอยู่ชั่วระยะหนึ่ง และในช่วงนั้นก็รวมส่วนใหญ่ของฮิสเปเนีย และตอนใต้ของกอล ออสโตรกอทรุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยของพระเจ้าธีโอดอริคมหาราชในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6 แต่เมื่อมาถึงกลางคริสต์ศตวรรษ ออสโตรกอทก็ถูกพิชิตโดยโรมในสงครามกอทิก (ค.ศ. 535–554) ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงให้แก่อิตาลี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และชาวออสโตรกอท · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอาร์มีเนีย

วอาร์มีเนีย (Armenians; հայեր) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่เป็นประชากรหลักในประเทศอาร์มีเนีย และยังมีชุมชนชาวอาร์มีเนียในประเทศเพื่อนบ้านของอาร์มีเนีย เช่น จอร์เจีย อิหร่าน รัสเซีย ยูเครน ฯลฯ เหตูการณ์การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอาร์มีเนียทำให้ชาวอาร์มีเนียอพยพไปยังหลาย ๆ ประเทศทั่วโลก เช่น ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา ฯลฯ ชาวอาร์มีเนียเป็นชนชาติแรก ๆ ในโลกที่นับถือคริสต์ศาสนา ทำให้อาร์มีเนียเป็นประเทศแรกในโลกที่นับถือศาสนาคริสต์เป็นศาสนาประจำชาติ โดยที่ศาสนจักรของอาร์มีเนียไม่ได้ขึ้นตรงหรือมีความเกี่ยวข้องกับศาสนจักรโรมันคาทอลิกแต่อย่างใ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และชาวอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแฟรงก์

หนังสือสำหรับทำพิธีศาสนา “Gelasian Sacramentary” จากราว ค.ศ. 750 แฟรงก์ (Franks, Franci) เป็นกลุ่มชนเจอร์มานิกตะวันตกที่เริ่มก่อตัวขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 โดยมีถิ่นฐานอยู่ทางเหนือและทางตะวันออกของลุ่มแม่น้ำไรน์ตอนล่าง ภายใต้การปกครองโดยราชวงศ์เมโรแว็งเชียง ชนแฟรงก์ก็ก่อตั้งสถาบันพระมหากษัตริย์เจอร์มานิกที่มาแทนจักรวรรดิโรมันตะวันตกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 รัฐของชนแฟรงก์และมารวมตัวกันเป็นอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของยุโรปตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ที่กลายมาเป็นจักรวรรดิคาโรลินเจียนและรัฐต่างๆ ที่ตามมา ความหมายของคำว่า “ชนแฟรงก์” ที่กลุ่มชนแตกต่างกันไปตามสมัยและปรัชญา โดยทั่วไปแล้วมักจะเป็นความหมายที่ไม่ชัดเจน ภายในกลุ่มแฟรงเคีย “ชนแฟรงก์” เป็นกลุ่มชนที่มีเป็นกลุ่มชนเอกลักษณ์ที่มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง รากของคำว่า “แฟรงก์” อาจจะมาจากภาษาละติน “francisca” (จากเจอร์มานิก “*frankon” ที่เกี่ยวเนื่องกับภาษาอังกฤษเก่า “franca”) ที่แปลว่า “แหลน” ชนแฟรงก์ที่โยนขวานได้รับนามว่า “francisca” (ขว้างขวาน) ซึ่งอาจจะเป็นการเรียกกลุ่มชนตามอาวุธที่ใช้ เอ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และชาวแฟรงก์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแวนดัล

การโจมตีกรุงโรม โดยไฮน์ริช ลอยเตอมันน์ ราว ค.ศ. 1860–ค.ศ. 1880 กลุ่มชนเจอร์แมนิกในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 1 แวนดัล/ลูกีอี สีเขียวในบริเวณโปแลนด์ปัจจุบัน แวนดัล (Vandals) เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มชาติพันธุ์เจอร์แมนิกตะวันออกที่เข้ามามีบทบาทในตอนปลายสมัยจักรวรรดิโรมัน ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 กษัตริย์ชาวกอทพระเจ้าธีโอดอริคมหาราชพระเจ้าแผ่นดินของชาวออสโตรกอทและผู้สำเร็จราชการของชาววิซิกอทเป็นพันธมิตรของแวนดัลโดยการสมรส และเป็นพันธมิตรกับเบอร์กันดีและแฟรงก์ภายใต้การปกครองของโคลวิสที่ 1 แวนดัลอาจจะมีชื่อเสียงจากการโจมตีกรุงโรม (Sack of Rome) ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และชาวแวนดัล · ดูเพิ่มเติม »

บิแซนเทียม

ที่ตั้งของบิแซนเทียม บิแซนเทียม (Byzantium; Βυζάντιον) เป็นนครกรีกโบราณตั้งอยู่ ณ ที่ซึ่งภายหลังเป็นคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูลสมัยใหม่) ผู้อยู่ในนิคมกรีกจากเมการาก่อตั้งนครแห่งนี้เมื่อ 657 ปีก่อน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และบิแซนเทียม · ดูเพิ่มเติม »

ชนบัลการ์

ัยชนะของทหารบัลการ์ในการต่อสู้กับทหารฝ่ายไบแซนไทน์ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ชนบัลการ์ หรือ ชนโบลการ์ (Bulgars, หรือ Bolgars, หรือ Bulghars, หรือ Proto-Bulgarians, ภาษาฮั่น-Bulgars) เป็นกลุ่มชาติพันธ์กึ่งเร่ร่อนที่อาจจะสืบเชื้อสายมาจากชนเตอร์กิกที่เดิมมาจากเอเชียกลาง ที่มาเริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณต่างๆ ในยุโรปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 2 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ชนบัลการ์ก่อก่อตั้งรัฐเกรตบัลแกเรีย, วอลกาบัลแกเรีย และ จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 ในบริเวณต่างๆ ในยุโรปสามบริเวณ ภาษาบัลการ์ที่ใช้ในพูดกันในบรรดาชนชั้นสูงเป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มเตอร์กิกซึ่งกับภาษาฮั่น คาซาร์ และ เตอร์กิกอวาร์เป็นหนึ่งในสาขาOghuricของภาษากลุ่มเตอร์กิกEncyclopaedia Britannica Online - หลังจากการโยกย้าถิ่นฐานมาจากเอเชียกลางชนบัลการ์ก็มาตั้งถิ่นฐานในบริเวณเสต็ปป์ (steppe) ทางตอนเหนือของCaucasusและในบริเวณรอบฝั่งแม่น้ำวอลกา (ต่อมา คอเคซัส) ระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และชนบัลการ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1996

ทธศักราช 1996 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และพ.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 873

ทธศักราช 873 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และพ.ศ. 873 · ดูเพิ่มเติม »

พระสันตะปาปา

หลุมฝังพระศพพระสันตะปาปาในมหาวิหารนักบุญเปโตร พระสันตะปาปา (Santo Papa; Pope) หมายถึง มุขนายกแห่งคริสตจักรกรุงโรม (Bishop of the Church of Rome) และผู้นำคริสตจักรโรมันคาทอลิกทั่วโลก คริสตจักรนี้ถือว่าพระสันตะปาปาเป็นผู้สืบตำแหน่งจากนักบุญซีโมนเปโตรอัครทูตของพระเยซู สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสเป็นพระสันตะปาปาพระองค์ปัจจุบันตามการประชุมเลือกตั้งพระสันตะปาปาในวันที่ 13 มีนาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส (Louis XII of France) (27 มิถุนายน ค.ศ. 1462 - 1 มกราคม ค.ศ. 1515) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฝรั่งเศส จากสายวาลัวส์-ออร์เลอองส์ พระเจ้าหลุยส์ที่ 12 เสด็จพระราชสมภพที่วังบลัวส์ในประเทศฝรั่งเศส เป็นพระราชโอรสของชาร์ลส์ ดยุกแห่งออร์เลอองส์ และ มารีแห่งคลีฟส์ ทรงราชย์ระหว่างวันที่ 7 เมษายน ค.ศ. 1498 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1515 ที่ปารีสในประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และพระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าธีโอดอริคมหาราช

left พระเจ้าธีโอดอริคมหาราช (Theodoric The Great; ค.ศ. 454 - ค.ศ. 526) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งออสโตรกอธ (ค.ศ. 471 - ค.ศ. 526) กษัตริย์แห่งอิตาลี (ค.ศ. 493 - ค.ศ. 526) และผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแห่งวิซิกอท (ค.ศ. 511 - ค.ศ. 526) หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์อิตาลี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และพระเจ้าธีโอดอริคมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน

ระเจ้าเฟรนานโดที่ 2, พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 2 แห่งอารากอน หรือ พระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 5 แห่งคาสตีล (สเปน: Fernando II de Aragón, อังกฤษ: Ferdinand II of Aragon; 10 มีนาคม พ.ศ. 1995 - 23 มกราคม พ.ศ. 2059) เป็นกษัตริย์แห่งอารากอน (พ.ศ. 2022 - พ.ศ. 2059), กษัตริย์แห่งซิชิลี (พ.ศ. 2011 - พ.ศ. 2059) กษัตริย์แห่งเนเปิลส์ (พ.ศ. 2047 - พ.ศ. 2059) กษัตริย์แห่งวาเลนเซีย ซาร์ดิเนีย เคานท์แห่งบาร์เซโลนา, กษัตริย์แห่งคาสตีล (พระสวามีในพระราชินีนาถแห่งคาสตีล) (พ.ศ. 2017 - พ.ศ. 2047) และหลังจากนั้นก็เป็นกษัตริย์อย่างแท้จริงแต่แท้จริงแล้วผู้ที่ได้เป็นกษัตริย์แห่งคาสตีลคือพระธิดาของพระองค์ เจ้าหญิงโจแอนนาผู้วิปล.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 674–678)

การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลระหว่าง (ค.ศ. 674-678) หรือ การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลโดยชาวอาหรับครั้งแรก (Siege of Constantinople) เป็นความขัดแย้งที่เป็นส่วนหนึ่งของสงครามไบแซนไทน์–อาหรับและเป็นการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลครั้งหนึ่งในหลายครั้งที่เกิดขึ้น การล้อมครั้งนี้เป็นการต่อสู้ระหว่างจักรวรรดิไบแซนไทน์และฝ่ายจักรวรรดิอุมัยยะฮ์ของอาหรับ มุอาวิยะห์ผู้เรืองอำนาจขึ้นมาเป็นผู้นำจักรวรรดิอาหรับหลังจากสงครามกลางเมืองสงครามฟิตนาครั้งที่ 1 (First Fitna) ส่งลูกชายยาซิดไปล้อมเมืองคอนสแตนติโนเปิลที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 4 ในล้อมเมืองครั้งนี้ฝ่ายอุมัยยะฮ์ไม่สามารถทำลายกำแพงธีโอโดเซียนที่เป็นกำแพงป้องกันเมืองทางฝั่งบอสฟอรัส เพื่อเข้าตีเมืองได้ เมื่อมาถึงฤดูหนาวฝ่ายอาหรับก็ต้องถอยทัพลึกเข้าไปบนแผ่นดินใหญ่ราว 80 ไมล์จากตัวเมือง ก่อนหน้าที่จะล้อมเมืองผู้ลี้ภัยคริสเตียนชาวซีเรียชื่อคาลลินคอสแห่งเฮลิโอโพลิสประดิษฐ์อาวุธใหม่ที่มีประสิทธิภาพให้แก่จักรวรรดิไบแซนไทน์ ที่มารู้จักกันว่า “ปืนไฟกรีก” (Greek fire) ในปี ค.ศ. 677 ราชนาวีของไบแซนไทน์ก็ใช้อาวุธนี้ในการทำลายกองเรือของฝ่ายอุมัยยะฮ์อย่างย่อยยับในทะเลมาร์มารา ที่เป็นผลทำให้ฝ่ายอุมัยยะฮ์ยุติการล้อมเมืองในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 674–678) · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 717-718)

การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 717-718) หรือ การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลโดยชาวอาหรับครั้งที่สอง (Siege of Constantinople) เป็นความขัดแย้งที่เป็นส่วนหนึ่งของสงครามไบแซนไทน์–อาหรับและเป็นการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลครั้งที่สองในหลายครั้งที่เกิดขึ้น การล้อมครั้งนี้เป็นการต่อสู้ระหว่างจักรวรรดิไบแซนไทน์และจักรวรรดิบัลแกเรียฝ่ายหนึ่งและจักรวรรดิอุมัยยะฮ์ของอาหรับอีกฝ่ายหนึ่ง การสงครามครั้งนี้เกิดขึ้นทางทางบกและทางทะเลโดยฝ่ายอาหรับในการพยายามยึดกรุงคอนสแตนติโนเปิลที่เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิไบแซนไทน์ กองทหารราบของฝ่ายอาหรับนำโดยมาสลามา อิบุน อับดาล มาลิคได้รับความพ่ายแพ้ จากการพยายามตีกำแพงธีโอโดเซียนของคอนสแตนติโนเปิลของที่ไม่สามารถตีแตกได้ และจากการโจมตีของกองกำลังบัลแกเรีย ขณะเดียวกันทางด้านการรบทางทะเลกองเรือฝ่ายอาหรับก็ถูกทำลายโดย “ไฟกรีก” (Greek fire) ไปเป็นอันมาก กองเรือที่รอดหลงเหลือก็มาล่มในพายุระหว่างการเดินเรือกลับ การสงครามครั้งนี้มักจะเปรียบเทียบกับยุทธการตูร์เพราะเป็นยุทธการที่หยุดยั้งการขยายตัวของมุสลิมเข้ามายังยุโรปเป็นเวลาเกือบ 700 ปี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 717-718) · ดูเพิ่มเติม »

การทำลายรูปเคารพสมัยไบแซนไทน์

การทำลายรูปเคารพสมัยไบแซนไทน์ (Εἰκονομαχία, Byzantine Iconoclasm) หมายถึงสมัยประวัติศาสตร์ของการทำลายรูปเคารพสองสมัยของจักรวรรดิไบแซนไทน์เมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิที่ทรงได้รับการหนุนหลังจากผู้นำที่ทรงแต่งตั้งและสภานิกายกรีกออร์โธด็อกซ์ออกประกาศห้ามการมีรูปเคารพหรือรูปสัญลักษณ์ทางศาสนา สมัยการทำลายรูปเคารพครั้งแรกเกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และการทำลายรูปเคารพสมัยไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิล

การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิล (Fall of Constantinople) เกิดขึ้นหลังจากที่คอนสแตนติโนเปิลถูกล้อมและยึดเมืองได้โดยสุลต่านเมห์เมดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมันจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่นำโดยจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 การล้อมเริ่มตั้งแต่พฤหัสบดีที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1453 และสิ้นสุดลงเมื่อวันอังคารที่ 29 พฤษภาคมของปีเดียวกัน (ตามปฏิทินจูเลียน) การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิลเท่ากับเป็นการสิ้นสุดอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่รุ่งเรืองมากว่าพันหนึ่งร้อยปี ที่ขณะนั้นก็เริ่มแตกแยกกันปกครองโดยราชวงศ์กรีกหลายราชวงศ์ หลังจากการขึ้นครองราชย์ของสุลต่านเมห์เมดแล้ว พระองค์ก็ทรงเพิ่มความกดดันต่อคอนสแตนติโนเปิลโดยการทรงสร้างเสริมป้อมปราการตามชายฝั่งช่องแคบดาร์ดะเนลส์ (Dardanelles) เมื่อวันที่ 2 เมษายน พระองค์ก็ทรงเข้าล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลพร้อมด้วยกองทัพราวระหว่าง 80,000 ถึง 200,000 คน ตัวเมืองมีทหารรักษาราว 7,000 คนในจำนวนนั้น 2,000 เป็นชาวต่างประเทศ การล้อมเริ่มต้นด้วยการโจมตีด้วยการยิงกำแพงเมืองอย่างรุนแรงจากฝ่ายออตโตมันขณะที่กองทหารอีกจำนวนหนึ่งไปยึดที่ตั้งมั่นของฝ่ายไบแซนไทน์ในบริเวณนั้น แต่ความพยายามที่ปิดเมืองในระยะแรกโดยฝ่ายออตโตมันไม่ประสบความสำเร็จ ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้เรือกองหนุนของฝ่ายคริสเตียนสี่ลำเดินทางเข้าไปยังคอนสแตนติโนเปิลได้ สุลต่านเมห์เมดจึงมีพระราชโองการให้นำเรือของพระองค์เข้าไปยังแหลมทอง (Golden Horn) โดยการลากขึ้นไปบนขอนไม้ที่ทำให้ลื่น ความพยายามของฝ่ายไบแซนไทน์ที่จะเผาเรือจึงไม่สำเร็จและสามารถทำให้ฝ่ายออตโตมันในที่สุดก็ปิดเมืองได้ การโจมตีกำแพงเมืองของฝ่ายตุรกีได้รับการโต้ตอบอย่างเหนียวแน่นจากฝ่ายไบแซนไทน์ที่ทำให้ต้องเสียกองกำลังไปเป็นจำนวนมาก และความพยายามที่จะระเบิดกำแพงเมืองลงก็ได้รับการตอบโต้เช่นกันจนในที่สุดก็ต้องเลิก สุลต่านเมห์เมดทรงเสนอว่าจะยุติการล้อมเมืองถ้าคอนสแตนติโนเปิลยอมให้พระองค์เข้าเมืองแต่ก็ไม่เป็นผล เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ก็เกิดจันทรุปราคาที่เป็นลางถึงการเสียเมือง สองสามวันต่อมาจักรพรรดิคอนสแตนตินก็ทรงได้รับข่าวว่าจะไม่มีกองหนุนจากสาธารณรัฐเวนิสมาช่วย หลังเที่ยงคืนของวันที่ 29 พฤษภาคมกองทัพออตโตมันก็เข้าโจมตีกำแพงเมือง ระลอกแรกไม่ประสบความสำเร็จ ระลอกสองสามารถเจาะกำแพงทางตอนเหนือได้ แต่ฝ่ายไบแซนไทน์ก็สามารถตีฝ่ายออตโตมันกลับไปได้และสามารถยืนหยัดต่อต้านกองทหารชั้นเอก Janissaries ของตุรกีได้ ระหว่างการต่อสู้จิโอวานนิ จุสติเนียนินายทัพจากเจนัวก็ได้รับบาดเจ็บสาหัสจนต้องถอยกลับไปยังเรือกับกองทหารและเสียชีวิตในที่สุด ทางด้านจักรพรรดิคอนสแตนตินพระองค์และกองทหารก็ดำเนินการต่อต้านต่อไปจนกระทั่งฝ่ายตุรกีเปิดประตูเมืองและบุกเข้าไปในเมืองพร้อมกับกองทหารเป็นจำนวนมากได้ กล่าวกันว่าจักรพรรดิคอนสแตนตินทรงถูกสังหารระหว่างการต่อสู้แต่ก็มิได้พบพระวรกายของพระองค์ จากนั้นฝ่ายตุรกีก็ปล้นเมือง การเสียเมืองครั้งนี้เป็นการสิ้นสุดอำนาจการปกครองของจักรวรรดิไบแซนไทน์โดยสิ้นเชิงหลังจากที่รุ่งเรืองมากว่า 1,100 ปี และเป็นความสูญเสียอันยิ่งใหญ่ของคริสต์ศาสนจักร สมเด็จพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 5 ทรงมีโองการให้โจมตีโต้ตอบทันทีแต่พระองค์ก็มาสิ้นพระชนม์ไม่นานหลังจากที่ทรงวางแผน สุลต่านเมห์เมดทรงประกาศให้คอนสแตนตินโนเปิลเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิของพระองค์ และทรงดำเนินการโจมตีและพิชิตอาณาจักรของไบแซนไทน์อีกสองอาณาจักรได้--อาณาจักรเดสโพเททแห่งโมเรียและจักรวรรดิเทรบิซอนด์ ชาวกรีกที่ยังเหลืออยู่ในคอนสแตนตินโนเปิลก็หนีไปยังส่วนต่างๆ ของยุโรปโดยเฉพาะอิตาลี การเคลื่อนย้ายของประชากรครั้งนี้เป็นปัจจัยหนึ่งที่เป็นเชื้อเพลิงที่ในที่สุดก็นำไปสู่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา นักวิชาการบางคนมีความเห็นว่าการเสียเมืองคอนสแตนตินโนเปิลเป็นเหตุการณ์หลักที่นำไปสู่การสิ้นสุดของยุคกลาง และบางท่านก็ใช้เหตุการณ์นี้เป็นเครื่องหมายของการสิ้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และการเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิล · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากรีก

ษากรีก ซึ่งคนที่พูดและเขียนภาษานี้เรียกว่า เฮลเลนิก หรือ เอลเลนิกา (Ελληνικά) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เกิดในประเทศกรีซ และเคยเป็นภาษาพูดตามชายฝั่งของเอเชียไมเนอร์และทางใต้ของประเทศอิตาลีในยุคโบราณ มีการพูดภาษาถิ่นจำนวนหนึ่ง เช่น ไอโอนิก ดอริก และแอททิก การเรียนการสอนภาษากรีกในประเทศไทยยังไม่แพร่หลายนัก ปัจจุบันมีเพียง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, รูปแบบไฟล.doc /สืบค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และภาษากรีก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนักรบครูเสด

ตะวันออกใกล้ในปี ค.ศ. 1135 โดยมีอาณาจักรครูเสดเป็นสีเขียว อานาโตเลียและอาณาจักรครูเสด ราว ค.ศ. 1140 รัฐนักรบครูเสด (Crusader states) คือกลุ่มรัฐเจ้าขุนมูลนายที่นักรบครูเสดชาวยุโรปตะวันตกตั้งขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 - 13 ในอานาโตเลีย กรีซ และแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ (อิสราเอลโบราณและปัจจุบัน และในบริเวณปาเลสไตน์) แต่ในที่สุดอำนาจของอิสลามในตะวันออกกลางก็พิชิตรัฐเหล่านี้ได้หมด นอกจากนั้นรัฐนักรบครูเสดก็ยังหมายถึงดินแดนอื่นที่คริสตจักรสมัยกลางได้มา (ส่วนใหญ่เป็นรัฐเล็กและเพียงชั่วระยะเวลาอันสั้น) เพื่อป้องกันชาวมุสลิมและดินแดนของผู้นอกศาสนาอื่น ๆ ด้ว.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และรัฐนักรบครูเสด · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์ฟาติมียะห์

การปกครองฟาฏิมียะห์คือขบวนการปกครองที่เริ่มตนขึ้นเมื่อปี ๙๐๙ (ค.ศ)และทำการปกครองเป็นเวลาสองศตวรรษ(จนถึงปี ๑๑๗๑ ค.ศ)โดยปกครองภาคเหนือของแอฟริกาและเอเชียตะวันออกกลาง รวมถึงทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ผู้ปกครองฟาฏิมีคือผู้นำชีอะห์นิกายอิสมาอีลียะห์ และชื่อขบวนการของพวกเขาคือ ฟาฏิมี หมายถึงท่านหญิงฟาฏีมะห์(ซ)บุตรสาวของท่านศาสดา(ศ็อลฯ) พวกเขาได้ก่อตั้งรัฐบาลขึ้นถึงมากกว่าสองศตวรรษในแถบตะวันออกกลางและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และมีความรักต่อวิชาความรู้และการค้าขายเป็นอย่างมาก ไคโรเมืองหลวงของประเทศอียิปต์ ถูกก่อตั้งโดย การปกครองฟาฏิมี คอลีฟะห์ การปกครองฟาฏิมี ถูกก่อตั้งเมื่อปี ๙๐๙ (ค.ศ) ณ แอฟริกาเหนือ และขยายตัวอย่างรวดเร็วสู่ ประเทศ ซิซิลี ปาเลสไตน์ อียิปต์ และ ซีเรีย และมีอิทธิพลมากที่สุดในยุคคอลีฟะห์คนที่แปด คือ อัลมุสตันศัร บิลลาฮ์ (เสียชีวิตเมื่อปี ๑๐๙๔)ในช่วงสองศตวรรษแห่งการปกครอง พวกเขาได้ทำการปกครองที่ราบรื่นสดใส่ บนรากฐานของสติปัญญา เศรษฐกิจที่สมบูร์ และวัฒนธรรมที่น่าสนใจ ฟาฏีมียอนคือกลุ่มชีอะห์นิการอิสมาอีลียะห์ ซึ่งเป็นผู้ที่คัดค้านการปกครองของอับบาซีโดยอ้างว่าพวกเขาคือผู้ปกครองที่เป็นธรรม การปกครองอันยาวนานของฟาฏิมีทำให้นิกายชีอะห์ถูกเผยแพร่อย่างกว้างขว้าง ในยุคดังกล่าวสถาบันการศึกษาอิสลามที่ยิ่งใหญ่ อาธิ ญาเมะอฺ อัลอัซฮัร ถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อเผยแพร่แนวทางอิสมาอีลียะห์ ซึ่งมีผลงานการเขียนมากมายเกี่ยวกับอิสมาอีลียะ กลุ่มฟาฏีมีมุ่งมั่นในการเผยแพร่จึงส่งทูตของตนไปยังประเทศ และ เมืองต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่แนวคิดของตนและสามารถขยายความเชื่ออิสมาอีลียะอย่างกว้างขว้างในประเทศ เยเมน อินเดีย และภาคตะวันออกของประเทศอิหร่าน ผู้นำของฟาฏีมี อัลมะฮ์ดี บิลลาฮ อะบูมุฮัมหมัด อุบัยดัลลอฮ               ปกครองเมื่อปี ๙๐๙ (ค.ศ) อัลกออิม บิอัมริลลาฮ อะบูกอเซ็มมุฮัมหมัด ปกครองเมื่อปี ๙๓๔(ค.ศ) อัลมันศูรบิลลาฮ อะบูฏอฮิรอิสมาอีล                              ปกครองเมื่อปี ๙๔๖(ค.ศ) อัลมุอิซ ลิดีนิลลาฮ์ อะบูตะมีม มุอิด                               ปกครองเมื่อปี ๙๕๓(ค.ศ) อัลอะซีซ บิลลาฮ์ อะบูมันศูร นิซาร์                                ปกครองเมื่อปี ๙๗๕ (ค.ศ) อัลฮากิม บิอัมริลลาฮ์ อะบูอาลีมันศูร                              ปกครองเมื่อปี ๙๙๖ (ค.ศ) อัซซอฮิร ลา อิรอซ ดีนิลลาฮ์ อะบูลฮะซัน อะลี           ปกครองเมื่อปี ๑๐๒๑ อัลมุซตันศิร บิลลาฮ์ อะบูตะมีม มุอิด                             ปกครองเมื่อปี ๑๐๓๖ อัลมุสตะอฺลี บิลลาฮ์ อะบูกอเซ็มอะห์หมัด                    ปกครองเมื่อปี ๑๐๙๔ อัลอัมร์ บิอะห์กามิลลาฮ์ อะบูอะลี มันศูร                      ปกครองเมื่อปี ๑๑๐๑ (ค.ศ) อัลฮาฟิซ ลิดีนิลลาฮ์ อะบูอัลมัยมูน อับดุลมะญีด         ปกครองเมื่อปี ๑๑๓๐(ค.ศ) อัลซิฟิร บิอัมริลลาฮ์ อะบูมันศูร อิสมาอีล                     ปกครองเมื่อปี ๑๑๔๙(ค.ศ) อัลฟาอิร บินัศริลลาฮ์ อะบูกอเซ็ม อีซา                          ปกครองเมื่อปี ๑๑๕๔(ค.ศ) อัลอาฎิด ลิดีนิลลาฮ์ อะบูมุฮัมหมัดอับดุลลอฮ              ปกครองเมื่อปี ๑๑๖๐-๑๑๗๑(ค.ศ)  .

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และรัฐเคาะลีฟะฮ์ฟาติมียะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตีมูร์

ราชวงศ์ตีมูร์ หรือ จักรวรรดิตีมูร์ (Timurid dynasty, تیموریان ตั้งตนเป็นGurkānī, گوركانى) เป็นราชวงศ์หนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เชียของซุนนีย์มุสลิมในเอเชียกลางที่เดิมมาจากผู้สืบเชื้อสายจากราชวงศ์เติร์ก-มองโกล (Turko-Mongol)Encyclopædia Britannica, "", Online Academic Edition, 2007.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และราชวงศ์ตีมูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เซลจุค

จักรวรรดิเซลจุค ใน ค.ศ. 1092 เมื่อมาลิค ชาห์ที่ 1เสียชีวิต ราชวงศ์เซลจุค หรือ เซลจุคตุรกี (Seljuq dynasty หรือ Seljuq Turks) “เซลจุค” (หรือ “Seldjuks” “Seldjuqs” “Seljuks” Selçuklular, سلجوقيان Ṣaljūqīyān; سلجوق ''Saljūq'' หรือ السلاجقة ''al-Salājiqa''.) เป็นราชวงศ์เทอร์โค-เปอร์เชีย ซุนนีมุสลิมผู้ปกครองบางส่วนของทวีปเอเชียกลางและตะวันออกกลางระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ราชวงศ์เซลจุคก่อตั้งจักรวรรดิเซลจุคซึ่งในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดมีดินแดนตั้งแต่อานาโตเลียไปจนถึงเปอร์เชียและเป็นฝ่ายปฏิปักษ์ในสงครามครูเสดครั้งที่ 1 ราชวงศ์มีที่มาจากกลุ่มสมาพันธ์ของชนเทอร์โคมันของทางตอนกลางของเอเชีย ซึ่งเป็นการเริ่มการขยายอำนาจของเทอร์กิคในตะวันออกกลาง เมื่อเปอร์เชียขยายตัวเข้ามาเซลจุคก็รับวัฒนธรรม และภาษาเข้ามาเป็นของตนเอง และมีบทบาทสำคัญในการวิวัฒนาการของวัฒนธรรมเทอร์โค-เปอร์เชีย ใน “วัฒนธรรมเปอร์เชียที่รับโดยประมุขของเทอร์กิค” ในปัจจุบันเซลจุคเป็นที่รู้จักกันว่าเป็นผู้อุปถัมภ์อันยิ่งใหญ่ของวัฒนธรรม, ศิลปะ, วรรณคดี และ ภาษาเปอร์เชียO.Özgündenli, "Persian Manuscripts in Ottoman and Modern Turkish Libraries", Encyclopaedia Iranica, Online Edition,Encyclopaedia Britannica, "Seljuq", Online Edition,: "...

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และราชวงศ์เซลจุค · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮังการี

ราชอาณาจักรฮังการี หรือเรียกสั้นๆ ว่า ฮังการี (Kingdom of Hungary, Magyar Királyság) มีชื่อเต็มว่า “ราชอาณาจักรแห่งพระมหามงกุฎอันศักดิ์สิทธิ์แห่งเซนต์สตีเฟน” (A magyar Szent Korona országai) เริ่มก่อตั้งราชอาณาจักรขึ้นราว..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และราชอาณาจักรฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเอเรียส

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 ทรงเผาหนังสือของลัทธิเอเรียส ลัทธิเอเรียส (Arianism) เป็นแนวคำสอนทางเทววิทยาของเอเรียส (ราว ค.ศ. 250–ค.ศ. 336) บาทหลวงที่สังคายนาไนเซียครั้งที่ 1 ปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และลัทธิเอเรียส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 1 แห่งคาสตีล

มเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 1 แห่งคาสตีล (Isabel I de Castilla; Isabella I of Castile22 เมษายน พ.ศ. 1994-26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2047) เป็นพระราชินีนาถแห่งคาสตีลและเลออนในราชวงศ์ตรัสตามารา พระนางและพระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน พระราชสวามี ได้วางรากฐานในการรวมสเปนให้สืบต่อไปจนถึงรุ่นหลาน คือจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทั้งสองได้เป็นขั้วอำนาจที่ยิ่งใหญ่ในการยึดดินแดนสเปนกลับคืนมาจากพวกมัวร์และได้กระทำการรวมชาติสเปนเป็นปึกแผ่น พระนางทรงอนุมัติให้คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสไปแสวงหาดินแดนโพ้นทะเลและจนสำรวจพบทวีปอเมริกา พระนางจัดได้ว่าเป็นนักปกครองที่ได้รับการกล่าวชื่อในประวัติศาสตร์ พระนางได้ทำให้ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเจริญอย่างมากในสเปนและพระนางทำให้กรานาดาในการปกครองของมุสลิมมัวร์ยินยอมส่งเครื่องบรรณาการต่อพระองค์ ต่อมาพระนางได้ทำการยึดครองกรานาดาได้สำเร็จ และยึดครองนาวาร์ได้ในปี พ.ศ. 2055 แล้ว คำว่า สเปน (España) ก็เริ่มถูกนำมาใช้เพื่อเรียกชื่อของราชอาณาจักรที่รวมกันใหม่นี้ การรวมเป็นหนึ่งเดียวของราชอาณาจักรคาสตีล ราชอาณาจักรอารากอน และราชอาณาจักรนาวาร์ได้วางรากฐานให้กับการเกิดสเปนสมัยใหม่และจักรวรรดิสเปน (Spanish Empire) สเปนกลายเป็นผู้นำอำนาจของยุโรปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 จนถึงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 17 เนื่องมาจากการปรับปรุงด้านการเมือง สังคม และการทหารในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 การขยายตัวของผลผลิตที่ได้จากเหมืองแร่เงินในทวีปอเมริกาในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ก็ยิ่งเสริมตำแหน่งมหาอำนาจให้มั่นคงขึ้นอีก.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และสมเด็จพระราชินีนาถอีซาเบลที่ 1 แห่งคาสตีล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3

thumbnail สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 (อังกฤษ: Leo III) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 795 ถึง ค.ศ. 816 ลีโอที่ 3 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 8 หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 9.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สังคายนาไนเซียครั้งที่หนึ่ง

ังคายนาไนเซียครั้งที่ 1 สังคายนาไนเซียครั้งที่หนึ่ง (First Council of Nicaea) เป็นสภาสังคายนาสากลครั้งแรกในศาสนาคริสต์ โดยจักรพรรดิคอนสแตนตินมหาราชทรงเรียกประชุมบรรดามุขนายกทั่วจักรวรรดิโรมันมาประชุมกันที่เมืองไนเซีย เพื่อหาข้อสรุปความเชื่อเกี่ยวกับสถานะของพระบุตร และความสัมพันธ์ระหว่างพระบุตรกับพระบิดา, pp.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และสังคายนาไนเซียครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมัน

ลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมัน หรือ สุลต่านเมห์เหม็ดผู้พิชิต (Mehmed II หรือ Fatih Sultan Mehmet) (30 มีนาคม ค.ศ. 1432 – 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1481) เป็นสุลต่านหรือพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิออตโตมันผู้ครองราชย์สองครั้ง ครั้งแรกระหว่างปี ค.ศ. 1444 จนถึงปี ค.ศ. 1446 และครั้งที่สองระหว่างปี ค.ศ. 1451 จนถึงปี ค.ศ. 1481 เมื่อมีพระชนมายุได้ 21 สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 ก็ทรงตีกรุงคอนสแตนติโนเปิลแตกเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1453 ซึ่งเป็นการสิ้นสุดของจักรวรรดิไบแซนไทน์ หลังจากนั้นพระองค์ก็ทรงดำเนินการศึกต่อไปและทรงได้รับชัยชนะในเอเชียซึ่งเป็นการรวมอานาโตเลีย และทรงได้รับชัยชนะในยุโรปไปจนถึงเบลเกรด พระปรีชาสามารถทางด้านการบริหารคือการผสานระบบการบริหารของจักรวรรดิไบแซนไทน์ให้เข้ามาอยู่ในระบบเดียวกับจักรวรรดิออตโตมัน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และสุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 แห่งจักรวรรดิออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 1

งครามครูเสดครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1096–1099) เริ่มต้นเป็นการแสวงบุญอย่างกว้างขวาง (ฝรั่งเศสและเยอรมนี) และจบลงด้วยปฏิบัติการนอกประเทศของทหารโดยทวีปยุโรปที่นับถือโรมันคาทอลิกเพื่อทวงแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ซึ่งถูกยึดในการพิชิตเลแวนต์ของมุสลิม (ค.ศ. 632–661) จนเป็นผลให้ยึดเยรูซาเลมได้เมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และสงครามครูเสดครั้งที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 4

งครามครูเสดครั้งที่ 4 (Fourth Crusade) (ค.ศ. 1202-ค.ศ. 1204) เป็นสงครามครูเสด ครั้งที่สี่ที่เริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1202 และสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1204 จุดประสงค์แรกของสงครามก็เพื่อยึดเยรูซาเลมคืนจากมุสลิม แต่ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1204 นักรบครูเสดจากยุโรปตะวันตกก็เข้ารุกรานและยึดเมืองคอนสแตนติโนเปิลที่เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิไบแซนไทน์ของอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์แทนที่ ซึ่งถือกันว่าเป็นวิกฤติการณ์สุดท้ายที่ทำให้เกิดความแตกแยกระหว่างคริสต์ศาสนจักรตะวันออกและตะวันตก (East-West Schism) ระหว่างอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ และ โรมันคาทอลิก.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และสงครามครูเสดครั้งที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

หลักข้อเชื่อไนซีน

ักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 และเหล่ามุขนายกสมาชิกสภาสังคายนาถือคำประกาศหลักข้อเชื่อไนซีน หลักข้อเชื่อไนซีนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 177 (Nicene Creed; Symbolum Nicaenum) คือการประกาศศรัทธาและหลักข้อเชื่อที่ถูกใช้มากที่สุดในพิธีกรรมทางศาสนาคริสต์ และเป็นบรรทัดฐานความเชื่อในคริสต์ศาสนากระแสหลักในปัจจุบัน แม้หลักข้อเชื่อฉบับนี้จะถูกเรียบเรียงขึ้นโดยสภาสังคายนาคอนสแตนติโนเปิลครั้งที่หนึ่งเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และหลักข้อเชื่อไนซีน · ดูเพิ่มเติม »

อะทาเนเชียสแห่งอะเล็กซานเดรีย

นักบุญอะทาเนเชียสแห่งอะเล็กซานเดรีย (Ἀθανάσιος Ἀλεξανδρείας; Athanasius of Alexandria) บาทหลวงชาวโรมันแอฟริกัน ดำรงตำแหน่งอาร์ชบิชอปแห่งอะเล็กซานเดรียตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และอะทาเนเชียสแห่งอะเล็กซานเดรีย · ดูเพิ่มเติม »

อิซนิค

อิซนิค เดิมชื่อ ไนเซีย (İznik, ชื่อเดิม: Νίκαια หรือ Nicaea) เป็นเมืองในประเทศตุรกี ที่เป็นที่รู้จักกันดีจากการเป็นสถานที่จัดการสังคายนาไนเซียครั้งที่หนึ่งและครั้งที่สอง ซึ่งเป็นสภาสังคายนาสากลครั้งแรกและครั้งที่เจ็ดในประวัติศาสตร์ศาสนาคริสต์ และเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิไนเซีย นอกจากนั้นก็ยังเป็นเมืองหลวงชั่วคราวของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ระหว่างปี..1204 แล..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และอิซนิค · ดูเพิ่มเติม »

อิไพรัส (ภูมิภาค)

แผนที่โบราณของอิไพรัส อิไพรัส, เอปีรุส (อังกฤษ, Epirus) หรือ อีปีรอส (Ήπειρος) เป็นภูมิภาคทั้งทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ที่ตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันภูมิภาคอิไพรัสแบ่งระหว่างแคว้นอิไพรัส ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศกรีซ กับจังหวัดจีโรกอสเตอร์, วโลเรอ, เบรัต และกอร์เชอทางตอนใต้ของประเทศแอลเบเนี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และอิไพรัส (ภูมิภาค) · ดูเพิ่มเติม »

ฮายาโซฟีอา

ัณฑ์อายาโซเฟียในปัจจุบัน โครงสร้างโบสถ์ ฮายาโซฟีอา (Hagia Sophia), อายาโซเฟีย (Ayasofya), ฮากีอาโซพีอา (Ἁγία Σοφία) หรือ ซางก์ตาซาปีเอนเตีย (Sancta Sapientia) เดิมเคยเป็นโบสถ์ของคริสต์ศาสนา นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ต่อมาถูกเปลี่ยนเป็นสุเหร่า ปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑ์ ตั้งอยู่ที่นครอิสตันบูล ประเทศตุรกี ถือเป็นสิ่งก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งและมักถูกจัดให้อยู่ในรายการสิ่งมหัศจรรย์ของโลกในยุคกลางHereward Carrington (1880-1958), "The Seven Wonders of the World: ancient, medieval and modern", reprinted in the Carington Collection (2003) ISBN 0-7661-4378-3,.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และฮายาโซฟีอา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิกงสตันติอุส โคลรุส

ักรพรรดิกงสตันติอุส โคลรุส หรือ จักรพรรดิกงสตันติอุสที่ 1 (Constantius Chlorus; ชื่อเต็ม: Flavius Valerius Constantius) (ราว 31 มีนาคม ค.ศ. 250 – 25 กรกฎาคม ค.ศ. 306) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันผู้ครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 293 ถึงปี ค.ศ. 305 ในฐานะซีซาร์ร่วมกับจักรพรรดิแม็กซิเมียน และระหว่างปี ค.ศ. 305 ถึงปี ค.ศ. 306 ในฐานะออกัสตัสทางตะวันตก และร่วมกับจักรพรรดิกาเลริอัสทางตะวันออก พระองค์ทรงได้รับฉายานามจากนักประวัติศาสตร์ไบแซนไทน์ว่า “Chlorus” (ผิวสีอ่อน) โกงสตันติอุส โคลรุสเป็นพระราชบิดาของจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 และทรงเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์คอนสแตนติเนียน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิกงสตันติอุส โคลรุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส

ักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส หรือ โคมเนนัส (Manuel I Komnenos หรือ Comnenus, Μανουήλ Α' Κομνηνός) (28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1118 – 24 กันยายน ค.ศ. 1180) มานูเอลที่ 1 โคมเนนอสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์โคมเนนอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1143 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 1180 โดยมีจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา มานูเอลที่ 1 โคมเนนอสเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1118 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอส มานูเอล โคมเนนอสทรงปกครองในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของจักรวรรดิและของบริเวณเมดิเตอเรเนียน พระองค์มีพระราชประสงค์ที่จะฟื้นฟูจักรวรรดิให้รุ่งเรืองเช่นในอดีตในฐานะมหาอำนาจของบริเวณเมดิเตอเรเนียนโดยทรงดำเนินนโยบายทางการต่างประเทศอันทะเยอทะยาน ที่รวมทั้งการสร้างพันธมิตรกับพระสันตะปาปา, ทรงรุกรานคาบสมุทรอิตาลี, และทรงสามารถดำเนินสงครามครูเสดครั้งที่ 2 ฝ่าอันตรายของจักรวรรดิของพระองค์ได้ และทรงก่อตั้งระบบการพิทักษ์แก่อาณาจักรครูเสดต่างๆ เมื่อฝ่ายมุสลิมนำทัพเข้ามายังดินแดนศักดิ์สิทธิ์พระองค์ก็เข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับราชอาณาจักรเยรูซาเลมในไปการรุกรานฟาติมิดอียิปต์ มานูเอล โคมเนนอสทรงมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงแผนที่เขตแดนทางการเมืองของคาบสมุทรบอลข่านและเมดิเตอเรเนียนตะวันออกโดยทรงทำให้ราชอาณาจักรฮังการีและอาณาจักรครูเสดมาอยู่ภายใต้อิทธิพลของพระองค์ และทรงรณรงค์อย่างเอาจริงเอาจังในอาณาจักรที่อยู่ใกล้เคียงทั้งทางด้านตะวันออกและตะวันตก แต่ในปลายรัชสมัยความสำเร็จของพระองค์ทางด้านตะวันออกก็ต้องมาเสียไปกับความพ่ายแพ้ในยุทธการไมริโอเคฟาลอน (Battle of Myriokephalon) ซึ่งเป็นความเพลี่ยงพล้ำของพระองค์เองในการพยายามโจมตีที่มั่นของฝ่ายเซลจุคที่มีการป้องกันอย่างแข็งแรง มานูเอลทรงได้รับการขนานพระนามว่า “ho Megas” หรือ “มหาราช” (ὁ Μέγας) โดยกรีก และทรงเป็นผู้นำผู้ทรงสามารถสร้างความจงรักภักดีจากผู้ตามอย่างเหนียวแน่น นักประวัติศาสตร์จอห์น คินนามอส (John Kinnamos) กล่าวว่ามานูเอลทรงเป็นผู้มีคุณลักษณะสมกับเป็นวีรบุรุษในประวัติศาสตร์ นอกจากนั้นก็ยังทรงเป็นผู้ที่ได้รับความนับถือจากนักรบครูเสดจากตะวันตกว่าเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงคุณธรรมแห่งกรุงคอนสแตนติโนเปิลP.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอส

ักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอส (Manuel II Palaiologos; Μανουήλ Β΄ Παλαιολόγος) (27 มิถุนายน ค.ศ. 1350 – 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1425) มานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์พาลาโอโลกอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 1391 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1425 โดยมีพระราชโอรสจักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา มานูเอลเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1350 เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองในจักรพรรดิจอห์นที่ 5 พาลาโอโลกอสและเฮเลนา คานทาคูเซเน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมิคาเอลที่ 3

ักรพรรดิจักรพรรดิมิคาเอลที่ 3 (Michael III; Μιχαήλ Γ΄) (19 มกราคม ค.ศ. 840 – 23 กันยายน/24 ค.ศ. 867) จักรพรรดิมิคาเอลที่ 3 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ฟริเจียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 842 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 23 กันยายน/24 ค.ศ. 867 มิคาเอลทรงได้รับฉายานามว่า “มิคาเอลขี้เมา” (the Drunkard) โดยนักประวัติศาสตร์ของราชวงศ์มาซิโดเนียผู้เป็นปฏิปักษ์ต่อพระองค์ แต่นักประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีความเห็นใหม่ว่าทรงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการดำรงอำนาจของจักรวรรดิไบแซนไทน์ในคริสต์ศตวรรษที่ 9.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิมิคาเอลที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมิคาเอลที่ 8 พาลาโอโลกอส

ักรพรรดิมิคาเอลที่ 8 พาลาโอโลกอส (Michael VIII Palaiologos, กรีก: Μιχαήλ Η΄ Παλαιολόγος, Mikhaēl VIII Palaiologos) (ค.ศ. 1223 – 11 ธันวาคม ค.ศ. 1282) มิคาเอลที่ 8 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไนเซียร่วมกับจักรพรรดิจอห์นที่ 4 ลาสคาริสระหว่างปี ค.ศ. 1259 จนถึงปี ค.ศ. 1261 และทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ระหว่างปี ค.ศ. 1261 จนถึงวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1282 และทรงเป็นจักรพรรดิร่วมกับพระราชโอรสจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอสตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิมิคาเอลที่ 8 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมิคาเอลที่ 9 พาลาโอโลกอส

ักรพรรดิมิคาเอลที่ 9 พาลาโอโลกอส (Michael IX Palaiologos; Μιχαήλ Θ΄ Παλαιολόγος) (17 เมษายน ค.ศ. 1277 – 12 ตุลาคม ค.ศ. 1320) มิคาเอลทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์พาลาโอโลกอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างราวปี ค.ศ. 1294/ค.ศ. 1295 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1320 มิคาเอลเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 เมษายน ค.ศ. 1277 เป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอสและแอนนาแห่งฮังการีพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าสตีเฟนที่ 5 แห่งฮังการี ก่อนที่จะทรงราชย์ด้วยพระองค์เองมิคาเอลทรงเป็นจักรพรรดิคู่กับพระราชบิดามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1281.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิมิคาเอลที่ 9 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1

thumb จักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1 (ค.ศ. 482 - 565) จักรพรรดิองค์ที่ 2 แห่ง ราชวงศ์ยุสตินิอานุส ทรงเป็นจักรพรรดิแห่ง จักรวรรดิโรมันตะวันออก ทรงครองราชย์สืบต่อจาก จักรพรรดิจัสตินที่ 1 พระปิตุลา ตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิยุสตีนุสที่ 2

ักรพรรดิยุสตีนุสที่ 2 หรือ เฟลวิอัส ยุสตีนุส (จูเนียร์) ออกัสตัส (Justin II หรือ Flavius Iustinus (Iunior) Augustus) (ราว ค.ศ. 520 – 5 ตุลาคม ค.ศ. 578) การที่ทรงมี “จูเนียร์” อยู่ในพระนามก็เพื่อให้แตกต่างจากยุสตีนุสที่ 1 ยุสตีนุสที่ 2 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์ยุสตินิอานุส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 565 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 578 พระองค์เป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1 รัชสมัยของพระองค์เป็นรัชสมัยของสงครามกับจักรวรรดิซาสซานิยะห์แห่งเปอร์เชีย ซึ่งเป็นผลให้ทรงเสียดินแดนส่วนใหญ่ในอิตาลีไป เมื่อจักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1 เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 565 ยุสตีนุสก็ทรงได้รับการเลื่อนฐานะขึ้นเป็นจักรพรรดิโดยกลุ่มข้าราชสำนักที่อ้างว่าจักรพรรดิยุสตินิอานุสได้มีพระบรมราชโองการขณะที่ประชวรอยู่บนพระแท่นให้พระองค์เป็นรัชทายาท โดยการข้ามผู้ที่อาจจะมีสิทธิอีกคนหนึ่งที่เป็นพระราชนัดดาของยุสตินิอานุสที่ 1 เช่นกัน (เจอร์มานัส ยุสตีนุสนัส) ผู้ที่มิได้อยู่ในเมืองหลวงขณะที่จักรพรรดิยุสตินิอานุสเสด็จสวรรคต.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิยุสตีนุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิลิกินิอุส

หรียญรูปลิซิเนียสจักรพรรดิโรมัน วาเลรีอุส ลิซิเนียนัส ลิกินิอุส (Valerius Licinianus Licinius พ.ศ. 793-868) เรียกกันโดยทั่วไปว่า ลิกินิอุส จักรพรรดิโรมันร่วมกับจักรพรรดิกาเลริอุส (Galerius) โดยได้รับมอบให้ครองอาณาจักรอิลลีพริคัม (พ.ศ. 851) ลิกินิอุสมีกำเนิดจากครอบครัวชาวบ้านจากดาเซีย (Dacia) ได้กลายเป็นเพื่อนสนิทและนายทหารคู่ใจของจักรพรรดิกาเลริอุส ได้เข้าร่วมรบในสงครามเปอร์เซียกับพระองค์ในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิลิกินิอุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอส

ักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอส (Andronikos I Komnenos) (ราว ค.ศ. 1118 – 12 กันยายน ค.ศ. 1185) อันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์โคมเนนอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ ค.ศ. 1183 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1185.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 1 โคมเนนอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอส

| name.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 2 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 3 พาลาโอโลกอส

ักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 3 พาลาโอโลกอส (Andronikos III Palaiologos หรือ Andronicus III Palaeologus; Ανδρόνικος Γ' Παλαιολόγος) (25 มีนาคม ค.ศ. 1297 – 15 มิถุนายน ค.ศ. 1341) อันโดรนิคอสที่ 3 พาลาโอโลกอสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์พาลาโอโลกอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 1328 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1341 โดยมีพระราชโอรสจักรพรรดิจอห์นที่ 5 พาลาโอโลกอสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา อันโดรนิคอสเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1297 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิมิคาเอลที่ 9 และ เจ้าหญิงริตาแห่งอาร์มีเนียผู้เป็นพระราชนัดดาของพระเจ้าเลวอนที่ 2 แห่งอาร์มีเนีย และ พระราชินีเครันแห่งอาร์มีเนี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิอันโดรนิคอสที่ 3 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอาร์กาดิอุส

ักรพรรดิอาร์กาดิอุส หรือ เฟลเวียส อาร์กาดิอุส (Arcadius; ชื่อเต็ม: Flavius Arcadius) (ค.ศ. 377 – 1 พฤษภาคม ค.ศ. 408) อาร์กาดิอุสมีตำแหน่งเป็นออกัสตัสภายใต้พระราชบิดาระหว่างวันที่ 23 มกราคม ค.ศ. 393 จนถึงปี ค.ศ. 395 เมื่อทรงขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิ แห่ง จักรวรรดิโรมันตะวันออก จนกระทั่งเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 408 โดยมีพระอนุชาจักรพรรดิโฮโนริอัสเป็นจักรพรรดิ แห่ง จักรวรรดิโรมันตะวันตก อาร์กาดิอุสเสด็จพระราชสมภพในสเปน เป็นพระราชโอรสองค์โตของจักรพรรดิธีโอโดเซียสที่ 1 และเอเลีย ยูโดเซีย และเป็นพระเชษฐาของโฮโนริอัส จักรพรรดิธีโอโดเซียสทรงประกาศแต่งตั้งให้อาร์กาดิอุสเป็น “ออกัสตัส” และผู้ร่วมราชบัลลังก์ในการปกครองครึ่งตะวันออกของจักรวรรดิในเดือนมกราคม ค.ศ. 393 และให้โฮโนริอัสเป็น “ออกัสตัส” และผู้ร่วมราชบัลลังก์ในการปกครองครึ่งตะวันตกของจักรวรร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิอาร์กาดิอุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอเล็กซานเดอร์แห่งไบแซนไทน์

ักรพรรดิอเล็กซานเดอร์แห่งไบแซนไทน์ (Alexander; Αλέξανδρος) (19 กันยายน ค.ศ. 870 – 6 มิถุนายน ค.ศ. 913) บางครั้งก็ลำดับเป็นอเล็กซานเดอร์ที่ 3 พระองค์ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์มาซิโดเนียนผู้ทรงครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 912 จนถึง ค.ศ. 913 อเล็กซานเดอร์เป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในพระจักรพรรดิบาซิลที่ 1 และจักรพรรดินียูโดเคีย อินเจรินา พระองค์ไม่ทรงมีปัญหาเหมือนกับพระเชษฐาจักรพรรดิลีโอที่ 6 เดอะไวส์ว่าผู้ใดเป็นพระราชบิดาที่แท้จริงระหว่างจักรพรรดิบาซิลและจักรพรรดิมิคาเอลที่ 3 เพราะประสูติหลายปีหลังจากที่จักรพรรดิมิคาเอลเสด็จสวรรคตไปแล้ว อเล็กซานเดอร์ทรงได้รับการสวมมงกุฎให้เป็นพระจักรพรรดิร่วมกับพระราชบิดาราวปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์แห่งไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอส

ักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอส (Alexios I Komnenos, Ἀλέξιος Α' Κομνηνός) (ค.ศ. 1048 – 15 สิงหาคม ค.ศ. 1118) อเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ผู้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากจักรพรรดินิเคโฟรอสที่ 3 โบตาเนอาตีสเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1081 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1118 โดยมีพระราชโอรสจักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา อเล็กซิออสทรงเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์โคมเนนอส รัชสมัยของอเล็กซิออสเป็นรัชสมัยที่เต็มไปด้วยการสงครามทั้งจากฝ่ายเซลจุคตุรกี (Seljuk Turks) ในเอเชียไมเนอร์และจากนอร์มันทางตะวันตกของคาบสมุทรบอลข่าน พระองค์ทรงสามารถหยุดยั้งความเสื่อมของจักรวรรดิและทรงเริ่มการเปลี่ยนแปลงทางการทหาร, ทางการเศรษฐกิจ และทางการได้ดินแดนคืนที่เรียกว่่าสมัย “การปฏิรูปโคมีเนียน” (Komnenian restoration) อเล็กซิออสทรงยื่นคำร้องไปยังยุโรปตะวันตกให้มาช่วยต่อต้านฝ่ายตุรกีและทรงเป็นผู้มีส่วนในการเริ่มสงครามครู.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอส

ักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอส (Alexios II Komnenos หรือ Alexius II Comnenus) (10 กันยายน ค.ศ. 1169 – ตุลาคม ค.ศ. 1183) อเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์โคมเนนอส ผู้ทรงครองราชย์ต่อจากพระราชบิดาจักรพรรดิมานูเอลที่ 1 โคมเนนอสระหว่างวันที่ ค.ศ. 1180 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ตุลาคม ค.ศ. 1183.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 2 โคมเนนอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 3 อันเจลอส

ักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 3 อันเจลอส (Alexios III Angelos, Αλέξιος Γ' Άγγελος) (ค.ศ. 1153 – ค.ศ. 1211) อเล็กซิออสที่ 3 อันเจลอสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์อันเจลิด ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 1195 จนถึงปี ค.ศ. 1211 เมื่อทรงถูกถอดจากการเป็นจักรพรร.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 3 อันเจลอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 4 อันเจลอส

ักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 4 อันเจลอส (Alexios IV Angelos หรือ Alexius IV Angelus; Αλέξιος Δ' Άνγελος) (ราว ค.ศ. 1182 – 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1204) อเล็กซิออสที่ 4 อันเจลอสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์อันเจลิด ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 1203 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1204 โดยมีจักรพรรดินิโคลอส คานาบอสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา อเล็กซิออสที่เสด็จพระราชสมภพเมื่อราว ค.ศ. 1182 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 อันเจลอสและไอรีนพระอัครมเหสีพระองค์แรก เป็นพระราชนัดดาของจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 3 อันเจลอ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 4 อันเจลอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 5 ดูคาส

ักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 5 ดูคาส (Alexios V Doukas, Ἀλέξιος Δούκας Μούρτζουφλος) (เสียชีวิต ธันวาคม ค.ศ. 1205) อเล็กซิออสที่ 5 ดูคาสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์อันเจลิด ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 5 กุมภาพันธ์ จนถึงวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1204 ในระหว่างครึ่งหลังของการล้อมเมืองคอนสแตนติโนเปิลโดยผู้เข้าร่วมสงครามครูเสดครั้งที่ 4 อเล็กซิออสทรงมีความเกี่ยวข้องกับตระกูลดูคาส ทรงได้รับการขนานพระนามเล่นว่า “Mourtzouphlos” ที่อาจจะหมายถึงพระเกศาที่เป็นพุ่มและพระขนงหนา หรืออาจจะเป็นการบ่งพระลักษณะนิสัยที่เป็นผู้ซึมเศร้าที่อาจจะโปรดที่จะขมวดพระขนง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 5 ดูคาส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจอห์นที่ 1

ักรพรรดิจอห์นที่ 1 (John I Tzimiskes หรือ Tzimisces; Ιωάννης Α΄ Τζιμισκής, Հովհաննես Ա Չմշկիկ) (ราว ค.ศ. 925 – 10 มกราคม ค.ศ. 976) จอห์นทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์มาซิโดเนีย ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 969 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 976 จักรพรรดิจอห์นทรงเป็นแม่ทัพผู้ทรงประปรีชาสามารถ แม้จะทรงครองราชย์เพียงระยะเวลาอันสั้นแต่ก็ทรงสามารถทำการขยายดินแดนและสร้างเสริมเขตแดนให้แข็งแรงขึ้น ซึ่งทำให้จักรวรรดิมีความแข็งแกร่งขึ้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิจอห์นที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอส

จักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอส (John II Komnenos) จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ทรงเป็น พระราชโอรสใน จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอส เสด็จขึ้นครองราชย์แทนพระราชบิดาเมื่อปี ค.ศ. 1118 ขณะพระชนม์ได้ 31 พรรษาตลอดรัชสมัยของจอห์นที่ 2 เต็มไปด้วยสงครามมากมายที่สืบเนื่องมาจากรัชสมัยพระราชบิดารวมทั้งสงครามครูเสด สวรรคตเมื่อวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 1143 ขณะพระชนม์ได้ 56 พรรษา หมวดหมู่:เสียชีวิตจากยาพิษ หมวดหมู่:จักรพรรดิไบแซนไทน์ หมวดหมู่:บุคคลในสงครามครูเสด.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิจอห์นที่ 2 โคมเนนอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอส

ักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอส (John VIII Palaiologos; Ίωάννης Η' Παλαιολόγος) (18 ธันวาคม ค.ศ. 1392 – 31 ตุลาคม ค.ศ. 1448) จอห์นที่ 8 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์พาลาโอโลกอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 1425 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1448 จอห์นเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1392 เป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอสและจักรพรรดินีเฮเลนา ดรากาสผู้เป็นพระธิดาของเจ้าชายคอนสแตนติน ดรากาสแห่งเซอร์เบีย ก่อนที่จะทรงราชย์ด้วยพระองค์เองจอห์นทรงเป็นจักรพรรดิคู่กับพระราชบิดามาก่อน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิจัสติเนียนที่ 2

ักรพรรดิจัสติเนียนที่ 2 (Justinian II; Ιουστινιανός Β΄) (ค.ศ. 669 – ธันวาคม ค.ศ. 711) จัสติเนียนทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนามว่า “Rinotmetos” หรือ “Rhinotmetus” (Ρινότμητος) ทรงเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์เฮราเคลียน พระองค์ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์สองครั้งๆ แรกระหว่างปี ค.ศ. 685 จนถึงปี ค.ศ. 695 และครั้งที่สองระหว่างปี ค.ศ. 705 จนเสด็จสวรรคตเมื่อเดือน ธันวาคม ค.ศ. 711 ในรัชสมัยของพระองค์จัสติเนียนทรงรวมตำแหน่งกงสุลกับจักรพรรดิเข้าด้วยกันซึ่งทำให้ตำแหน่งพระมหาจักรพรรดิเป็นตำแหน่งของประมุขของรัฐที่ไม่แต่จะเป็นตำแหน่งโดยพฤตินัยเท่านั้นแต่ยังเป็นตำแหน่งตามกฎหมายด้วย และเท่ากับเป็นการยุบเลิกสภากงสุลโดยปริยาย พระองค์ทรงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกงสุลในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิดิออเกลติอานุส

ออเกลติอานุส (Gaius Aurelius Valerius Diocletianus; ภาษาอังกฤษ: Diocletian; ภาษากรีก: Διοκλής) (ราว 22 ธันวาคม ค.ศ. 244 - เสียชีวิต 3 ธันวาคม ค.ศ. 311) เมื่อแรกเกิดชื่อ “ไดโอคลีส” และรู้จักกันว่า “ดิออเกลติอานุส”เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 284 ถึงวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 286 ด้วยพระองค์เอง และระหว่างวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 286 ถึงวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 305 ในฐานะออกัสตัสแห่งตะวันออก และร่วมกับแม็กซิเมียนในฐานะออกัสตัสแห่งตะวันตก ดิออเกลติอานุสเป็นจักรพรรดิที่เป็นผู้ยุติเหตุการณ์ที่นักประวัติศาสตร์เรียกว่า วิกฤติการณ์ของคริสต์ศตวรรษที่ 3 ที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิดิออเกลติอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราช

ักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 (ConstantineI 27 กุมภาพันธ์ ประมาณ ค.ศ. 272Birth dates vary but most modern historians use "ca. 272". Lenski, "Reign of Constantine", 59. – 22 พฤษภาคม ค.ศ. 337) ครองราชสมบัติเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน ระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 306 ถึงวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 312 มีพระนามเต็มว่า “Flavius Valerius Aurelius Constantinus” หรือที่รู้จักกันว่า “คอนสตันไทน์ที่ 1” ในบรรดาผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิก หรือ “คอนสตันไทน์มหาราช” หรือ “นักบุญคอนสตันไทน์” ในบรรดาผู้นับถือนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์หรือนิกายไบแซนไทน์คาทอลิก พระราชกรณียกิจสำคัญที่สุดคือการประกาศให้ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่ถูกต้องตามกฎหมายของจักรวรรดิโรมันเมือปี ค.ศ. 313 จักพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 จึงเป็นจักรพรรดิพระองค์แรกของจักรวรรดิโรมันที่นับถือศาสนาคริสต์ตามพระราชกฤษฎีกาแห่งมิลาน (Edict of Milan) ที่ประกาศโดยจักรพรรดิลีซีนีอุส (Licinius) ผู้ทรงเป็นจักรพรรดิร่วมกับพระองค์ พระราชกฤษฎีกาแห่งมิลานเป็นพระราชกฤษฎีกาที่ยกเลิกการทารุณกรรมต่อคริสต์ศาสนิกชนทั่วทั้งจักรวรรดิโรมัน ตามปฏิทินศาสนาของไบเซ็นไทน์ของนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ และนิการคาทอลิกตะวันออกแห่งไบเซนไทน์บันทึกจักพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1และเฮเลนแห่งคอนสแตนติโนเปิลพระมารดาว่าเป็นนักบุญ แต่ในปฏิทินศาสนาของตะวันตกไม่มีอยู่ในรายนามนักบุญ คอนสตันไทน์ได้รับนาม “มหาราช” เพราะพระราชกรณียกิจต่างที่ทรงทำให้ต่อคริสต์ศาสนา ในปี ค.ศ. 324 จักรพรรดิคอนสตันไทน์ทรงประกาศการปรับปรุงเมืองไบเซนเทียมให้เป็น “กรุงโรมใหม่” (Nova Roma) และเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 330 ทรงประกาศให้เมืองไบเซ็นเทียมเป็นเมืองหลวงใหม่ของจักรวรรดิโรมัน เมืองไบเซ็นเทียมเปลื่ยนชื่อเป็น “คอนสแตนติโนเปิล” แปลว่า “เมืองของคอนสตันไทน์” หลังจากจักพรรดิคอนสตันไทน์สิ้นพระชนม์เมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 2

จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 2 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 1 และ พระนางฟาอัสตา ประสูติเมื่อปีค.ศ. 316 ปีค.ศ. 317พระชนม์เพียง 1 พรรษาก็ทรงครองจักรวรรดิโรมันร่วมกับพระราชบิดาทรงครองราชย์ร่วม กับพระราชบิดานานถึง 20 ปีก่อนที่จักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่1 จะสวรรคตในวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 337และทรงครองจักรวรรดิร่วม กับจักรพรรดิคอนแสตนติอัสที่ 2พระราชอนุชา และ จักรพรรดิคอนสแตนส์ ก่อนจะสวรคตในปีค.ศ. 340 ขณะพระชนม์เพียง 24 พรรษา คอนสตันไทน์ที่ 2 คอนสตันไทน์ที่ 2.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิคอนสตันไทน์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนสที่ 2

ักรพรรดิคอนสแตนสที่ 2 (Constans II หรือ Constantine the Bearded; Κώνστας Β', Kōnstas II) (7 พฤศจิกายน ค.ศ. 630 – 15 กันยายน ค.ศ. 668) คอนสแตนสที่ 2 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 641 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 668 นอกจากนั้นก็ยังทรงเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายที่เป็นกงสุลในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิคอนสแตนสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 พาลาโอโลกอส

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 พาลาโอโลกอส (Constantine XI Palaiologos, 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1405-29 พฤษภาคม ค.ศ. 1453) เป็นจักรพรรดิโรมันองค์สุดท้าย ครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 1449-ค.ศ. 1453 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1947 หมวดหมู่:จักรพรรดิไบแซนไทน์ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่เสด็จสวรรคตในสงคราม.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 11 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งไบแซนไทน์ หรือ เฮราคลิอัส โนวัส คอนสแตนตินัส (Constantine III (Byzantine emperor); ชื่อเต็ม: Heraclius Novus Constantinus; Ηράκλειος (νέος) Κωνσταντίνος) (3 พฤษภาคม ค.ศ. 612 – 20 เมษายน หรือ 24/26 พฤษภาคม ค.ศ. 641) คอนสแตนตินที่ 3 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์เพียงสี่เดือนตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ ค.ศ. 641 จนเสด็จสวรรคต คอนสแตนตินเป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิเฮราคลิอัสและพระอัครมเหสีองค์แรกจักรพรรดินียูโดเคี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 4

ักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 4 (Constantine IV; Κωνσταντίνος Δ', Kōnstantinos IV, Constantinus) (ค.ศ. 652 – กันยายน ค.ศ. 685) คอนสแตนตินที่ 4 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 668 จนเสด็จสวรรคตในเดือนกันยายน ค.ศ. 685 โดยมีพระราชโอรสจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 2 ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระองค์ ก่อนที่จะทรงเป็นจักรพรรดิด้วยพระองค์เองคอนสแตนตินที่ 4 ทรงเป็นจักรพรรดิร่วมกับพระราชบิดาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 7

ักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 7 (Constantine VII หรือ Constantine Porphyrogennetos (Constantine the Purple-born), Κωνσταντίνος Ζ΄ Πορφυρογέννητος, Kōnstantinos VII Porphyrogennētos) (2 กันยายน ค.ศ. 905 – 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 959) คอนสแตนตินเป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิลีโอที่ 6 เดอะไวส์และพระอัครมเหสีองค์ที่สี่โซอี คาร์โบนอพซินา และเป็นพระราชนัดดาในจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์แห่งไบแซนไทน์ คอนสแตนตินทรงมีชื่อเสียงในการทรงพระราชนิพนธ์หนังสือสองเล่ม “De Administrando Imperio” และ “De Ceremoniis” คอนสแตนตินที่ 7 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์มาซิโดเนีย ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 908 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 959.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนเชียสที่ 2

ักรพรรดิคอนสแตนเชียสที่ 2 (Constantius II) หรือฟลาวิอุส ยูลิอุส คอนสตานติอุส(Flavius Iulius Constantius) (7 สิงหาคม ค.ศ. 317 – 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 361) คอนสแตนเชียสที่ 2 เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์คอนแสตนติเนียน คอนสแตนเชียสที่ 2 ทรงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นซีซาร์โดยพระราชบิดาระหว่างวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 324 จนถึงวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 337; ระหว่าง ค.ศ. 337 ถึง ค.ศ. 340 ทรงมีตำแหน่งเป็นออกัสตัสร่วมกับจักรพรรดิคอนสแตนและจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 2 ในการปกครองมณฑลในเอเชียและอียิปต์; ระหว่าง ค.ศ. 340 ถึง ค.ศ. 350 ทรงเป็นออกัสตัสร่วมกับจักรพรรดิคอนสแตนในการปกครองจังหวัดในเอเชียและอียิปต์ และระหว่าง ค.ศ. 350 ถึงวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 361 คอนสแตนเชียสที่ 2 ก็ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันทั้งหม.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิคอนสแตนเชียสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิติแบริอุสที่ 2

ักรพรรดิติแบริอุสที่ 2 กงสตันตีนุส หรือ เฟลเวียส ติแบริอุส กงสตันตีนุสัส ออกัสตัส (Tiberius II Constantine; Tiberios Konstantinos) (ราว ค.ศ. 520/ค.ศ. 535 – 14 สิงหาคม ค.ศ. 582) ติแบริอุสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์จัสติเนียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 574 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 582 ระหว่างที่ทรงราชย์จักรพรรดิติแบริอุสพระราชทานทองจำนวน 7,200 ปอนด์ทุกปีเป็นเวลาสี่ปีJ.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิติแบริอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์

อรีนแห่งเอเธนส์ จักรพรรดินีแห่งไบแซนไทน์ หรือ ไอรีน เดอะเอเธนส์เนียน (กรีก:Εἰρήνη ἡ Ἀθηναία; ราวค.ศ. 712 - 9 สิงหาคม ค.ศ. 803) พระนามเดิมคือ ไอรีน ซารันตาเปชาอีนา (กรีก:Εἰρήνη Σαρανταπήχαινα) ทรงเป็นจักรพรรดินี พระประมุขแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดินีไอรีนแห่งเอเธนส์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีเฮเลนา

ลนาแห่งคอนสแตนติโนเปิล (Helen of Constantinople) หรือที่รู้จักกันในนามว่า นักบุญเฮเลนา หรือ นักบุญเฮเลนา เอากุสตา หรือ นักบุญเฮเลนาแห่งคอนสแตนติโนเปิล เป็นนักบุญในศาสนาคริสต์ที่เกิดเมื่อราว..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดินีเฮเลนา · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโพกัส

ักรพรรดิโพกัส หรือ จักรพรรดิเฟลเวียส โพกัส ออกัสตัส (Phocas; ชื่อเต็ม: Flavius Phocas Augustus) (– ค.ศ. 610) โพกัสทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ โดยการชิงราชบัลลังก์จากจักรพรรดิเมาริกิอุส ต่อมาพระองค์เองก็ถูกโค่นราชบัลลังก์โดยจักรพรรดิเฮราคลิอัสหลังจากที่ทรงพ่ายแพ้ในสงครามกลางเมือง ระยะเวลาการครองราชย์ของพระองค์เริ่มขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 602 และสิ้นสุดลงใน ค.ศ. 610.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิโพกัส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโรมัน

จักรพรรดิโรมัน เป็นผู้ที่ปกครองจักรวรรดิโรมันตั้งแต่ 27 ปีก่อนคริสตกาล ถึง ค.ศ. 476 สำหรับ จักรวรรดิโรมันตะวันตก และปี ค.ศ. 1453 สำหรับ จักรวรรดิโรมันตะวันออก.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Kaiser des Heiligen Römischen Reiches; Emperor of the Holy Roman Empire) หรือจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Holy Roman Emperor) หรือจักรพรรดิโรมัน-เยอรมัน (Römisch-Deutscher Kaiser) เป็นคำที่นักประวัติศาสตร์ใช้หมายถึงประมุขรัฐในสมัยกลางที่พระสันตะปาปาทรงแต่งตั้งให้เป็น "จักรพรรดิแห่งชาวโรมัน" ต่อมาตำแหน่งนี้มาจากการเลือกตั้งแต่ยังคงต้องรับราชาภิเษกจากพระสันตะปาปาอยู่ จนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมาจึงหมายถึงผู้ปกครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นมีอาณาเขตครอบคลุมดินแดนยุโรปกลาง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 อันเจลอส

ักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 อันเจลอส (Isaac II Angelos, Ισαάκιος Β’ Άγγελος) (กันยายน ค.ศ. 1156 – มกราคม ค.ศ. 1204) ไอแซ็คที่ 2 อันเจลอสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์อันเจลิดสองครั้งๆ แรกระหว่างปี ค.ศ. 1185 ถึงปี ค.ศ. 1195 และครั้งที่สองระหว่างปี ค.ศ. 1203 ถึงปี ค.ศ. 1204 จักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 เป็นพระราชโอรสของอันโดรนิคอส ดูคาส อันเจลอสผู้เป็นแม่ทัพคนสำคัญของอานาโตเลีย (ราว ค.ศ. 1122 - หลังจาก ค.ศ. 1185).

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิไอแซ็คที่ 2 อันเจลอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเมาริกิอุส

ักรพรรดิเมาริกิอุส หรือ จักรพรรดิเฟลเวียส มอริเชียส ไทบีเรียส ออกัสตัส (Maurice; ชื่อเต็ม: Flavius Mauricius Tiberius Augustus;; Մավրիկ, Mavrig) (ค.ศ. 539 – 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 602) เมาริกิอุสทรงเป็นนักการทหารและพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์จัสติเนียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 582 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 602 โดยมีพระราชจักรพรรดิโฟคาสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา จักรพรรดิเมาริกิอุสทรงเป็นประมุขคนสำคัญคนหนึ่งในสมัยแรกของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ในรัชสมัยของพระองค์เต็มไปด้วยการสงครามที่ต่อเนื่องกันตลอดรัชสมัยและจากทุกด้าน.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิเมาริกิอุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเฮราคลิอัส

ักรพรรดิเฮราคลิอัส หรือ จักรพรรดิเฮราเคลออส(Heraclius; ชื่อเต็ม: Flavius Heraclius Augustus, Φλάβιος) (ราว ค.ศ. 575 – 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 641) เฮราคลิอัสเป็นจักรพรรดิเชื้อสายอาร์มีเนียแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์เป็นเวลากว่าสามสิบปีระหว่างวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 610 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 641 การเรืองอำนาจของพระองค์เริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิเฮราคลิอัส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเฮราโคลนาส

ักรพรรดิเฮราโคลนาส (Heraklonas หรือ Heraclonas หรือ Heracleonas; Κωνσταντίνος Ηράκλειος) (ค.ศ. 626 – ค.ศ. 641) เฮราโคลนาสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกันยายน ค.ศ. 641 เฮราโคลนาสเสด็จพระราชสมภพในปี ค.ศ. 626 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิเฮราคลิอัสและจักรพรรดินีมาร์ตินา พระองค์มีพระนามอย่างเป็นทางการว่า “คอนแสตนตินัส เฮราคลิอัส” แต่พระนามเล่น “เฮราโคลนาส” (Ηρακλωνάς) หรือ “เฮราคลิอัสน้อย” กลายเป็นพระนามที่ปรากฏในบันทึกไบแซนไทน์และกลายเป็นพระนามที่มาใช้ในมาตรฐานของประวัติศาสตร์ศาสตร์ (historiography) เฮราโคลนาสอาจจะประสูติที่ลาซิคา (Lazica) ขณะที่พระราชบิดาทำการรณงค์ต่อต้านพระเจ้าโคสเราที่ 2 (Khosrau II) แห่งจักรวรรดิซาสซานิยะห์ และอาจจะเป็นพระราชโอรสองค์ที่สี่ของจักรพรรดิเฮราคลิอัสและจักรพรรดินีมาร์ตินาแต่เป็นพระองค์แรกที่ไม่ทรงมีความผิดปกติทางร่างกายจึงทรงทำให้เป็นผู้มีสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ ในตอนปลายของรัชสมัยของจักรพรรดิเฮราคลิอัส เฮราโคลนาสก็ทรงได้รับตำแหน่งออกัสตัสโดยอิทธิพลของพระราชมารดาเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิเฮราโคลนาส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 1

ักรพรรดิเทออดอซิอุส บนเหรียญสมัยโรมัน จักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 1 หรือ จักรพรรดิเทออดอซิอุสมหาราช (11 มกราคม ค.ศ. 347 - 11 มกราคม ค.ศ. 395) เป็นจักรพรรดิโรมัน ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 2

ักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 2 หรือ เฟลเวียส เทออดอซิอุส หรือ คาลิกราเฟอร์ (Theodosius II; ชื่อเต็ม: Flavius Theodosius) (10 เมษายน ค.ศ. 401 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 450) เทออดอซิอุสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ผู้ครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 408 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 450 จักรพรรดิเทออดอซิอุสทรงเป็นที่รู้จักจากกฎหมายที่ใช้พระนามของพระองค์ “ประมวลกฎหมายธีโอโดซิอานัส” (Codex Theodosianus) และกำแพงธีโอโดเซียนแห่งคอนสแตนติโนเปิลที่สร้างในรัชสมัยของพระอง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิเทออดอซิอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเซโน

thumb จักรพรรดิเซโน (Flavius Zeno Augustus,425–9 เมษายน 491) เป็นจักรพรรดิไบแซนไทน์ตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรพรรดิเซโน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1

ักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 (First Bulgarian Empire, Първo Българско царство, Părvo Bălgarsko Tsarstvo) เป็นอาณาจักรในยุคกลางของบัลแกเรียที่ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2

ักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2 หรือ อาณาจักรซาร์แห่งบัลแกเรีย (Second Bulgarian Empire, Второ българско царство, Vtorо Balgarskо Tsartsvo) เป็นจักรวรรดิในในยุคกลางของบัลแกเรียที่ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1185 และรุ่งเรืองมาจนถึงปี ค.ศ. 1396 (หรือ ค.ศ. 1422) จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2 เป็นจักรวรรดิที่สืบต่อจากจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 และมามีอำนาจรุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยของสมเด็จพระจักรพรรดิคาโลยัน และ สมเด็จพระจักรพรรดิไอวาน อาเซนที่ 2 แห่งบัลแกเรีย ก่อนที่มาจะค่อยๆ เสื่อมโทรมลงจนในที่สุดก็ถูกพิชิตโดยจักรวรรดิออตโตมันในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2 ตามมาด้วยราชอาณาจักรที่ปกครองโดยเจ้าชายและต่อมาโดยพระมหากษัตริย์เป็นราชอาณาจักรบัลแกเรียในปี ค.ศ. 1878 มาจนถึงปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิละติน

ักรวรรดิละติน หรือ จักรวรรดิละตินแห่งคอนสแตนติโนเปิล (Latin Empire หรือ Latin Empire of Constantinople, Imperium Romaniae (จักรวรรดิโรมาเนีย)) เป็นชื่อที่ใช้โดยนักประวัติศาสตร์ที่หมายถึงนครรัฐครูเสดที่ก่อตั้งโดยผู้นำต่างๆ ของสงครามครูเสดครั้งที่ 4 จากบริเวณที่ยึดได้จากจักรวรรดิไบแซนไทน์ จักรวรรดิละตินก่อตั้งขึ้นหลังการยึดเมืองคอนสแตนติโนเปิลใน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรวรรดิละติน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) มีจักรพรรดิเมห์เหม็ดที่ 6 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้าย และมีสาธารณรัฐตุรกี ขึ้นมาแทนที่ และมีมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรวรรดิออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิแซสซานิด

ักรวรรดิซาสซานิยะห์ (ساسانیان, Sassanid Empire) ที่เป็นหนึ่งในจักรวรรดิเปอร์เชียและที่เป็นจักวรรดิสุดท้ายก่อนที่ศาสนาอิสลามจะเริ่มขึ้นเป็นหนึ่งในสองมหาอำนาจของเอเชียตะวันตกเป็นเวลากว่าสี่ร้อยปี ราชวงศ์ซาสซานิยะห์ก่อตั้งโดยอาร์ดาเชอร์ที่ 1 (Ardashir I) หลังจากที่ทรงได้รับชัยชนะต่อจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิพาร์เธียนองค์สุดท้ายอาร์ตาบานัสที่ 4 (Artabanus IV) และมาสิ้นสุดลงเมื่อยาซเดเกิร์ดที่ 3 (Yazdegerd III) มาพ่ายแพ้หลังจากที่ทรงใช้เวลาถึงสิบสี่ปีในการต่อต้านจักรวรรดิกาหลิปรอชิดีนซึ่งเป็นหนึ่งในจักรวรรดิกาหลิปอิสลามที่ตามกันมา จักรวรรดิซาสซานิยะห์หรือที่เรียกว่า “Eranshahr” (“จักรวรรดิอิหร่าน”) ตั้งอยู่ในบริเวณที่เป็นปัจจุบันคืออิหร่าน, อิรัก, อาร์มีเนีย, ทางตอนใต้ของคอเคซัส (รวมทั้งทางตอนใต้ของดาเกสถาน), ตะวันตกเฉียงใต้ของเอเชียกลาง, ตะวันตกของอัฟกานิสถาน, บางส่วนของตุรกี, บางส่วนของซีเรีย, บริเวณริมฝั่งทะเลของคาบสมุทรอาหรับ, บริเวณอ่าวเปอร์เซีย และบางส่วนของทางตะวันตกเฉียงใต้ของปากีสถาน สมัยการปกครองของซาสซานิยะห์เป็นสมัยอันยาวนานของปลายสมัยโบราณและถือกันว่าเป็นสมัยที่สำคัญที่สุดและมีอิทธิพลที่สุดทางประวัติศาสตร์สมัยหนึ่งของ เป็นสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของวัฒนธรรมของเปอร์เซียแ ละเป็นจักรวรรดิอันยิ่งใหญ่จักรวรรดิสุดท้ายก่อนที่จะเริ่มยุคการพิชิตของมุสลิมและการยอมรับนับถือศาสนาอิสลาม วัฒนธรรมของเปอร์เซียมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมของโรมันเป็นอันมากในยุคซาสซานิยะห์J.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรวรรดิแซสซานิด · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันตะวันตก

ักรวรรดิโรมันตะวันตก (Western Roman Empire) หมายถึงครึ่งตะวันตกของจักรวรรดิโรมันหลังจากการแบ่งโดยไดโอคลีเชียนในปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรวรรดิโรมันตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรววรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า "จักรวรรดิไบแซนไทน์" และ "จักรวรรดิโรมันตะวันออก" เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า "จักรวรรดิโรมัน" หรือ "โรมาเนีย" เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไนเซีย

ักรวรรดิไนเซีย หรือ จักรวรรดิโรมันแห่งไนเซีย (Empire of Nicaea หรือ Roman Empire of Nicaea, Βασίλειον τῆς Νίκαιας) เป็นอาณาจักรที่ใหญ่ที่สุดในบรรดารัฐไบแซนไทน์กรีกที่ก่อตั้งโดยชนชั้นเจ้านายผู้ปกครองจักรวรรดิไบแซนไทน์ที่หนีมาหลังจากที่เสียคอนสแตนติโนเปิลไปในสงครามครูเสดครั้งที่ 4 จักรวรรดิไนเซียก่อตั้งโดยราชวงศ์ลาคาริสรุ่งเรืองระหว่างปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และจักรวรรดิไนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ขันที

หลี่เสียน ค.ศ. 706 ขันที คือ ชายที่ถูกตอน บางประเทศทางเอเชียสมัยโบราณใช้สำหรับควบคุมฝ่ายใน ในภาษาจีนเรียกว่า ไท้เจี๋ยน หรือไท้ก๋ำ (ฮกเกี้ยน:太監,ไท้ก่ำ) ในภาษาละตินและอาหรับเรียกว่ายูนุก (Eunuch) โดยมีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคำว่า ยูโนคอส (eunouchos) แปลว่าผู้ดูแลรักษาเตียง ส่วนชนชาติมอญเรียกขันทีว่า กมนุย (อ่านว่า ก็อมนอย) แปลว่า ขันทีที่ปราศจากความรู้สึกทาง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และขันที · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีเอเธนส์

อาณาจักรดยุกแห่งเอเธนส์ (Duchy of Athens) เป็นหนึ่งในอาณาจักรครูเสดที่ตั้งอยู่ในกรีซหลังจากการได้รับชัยชนะของจักรวรรดิไบแซนไทน์ระหว่างสงครามครูเสดครั้งที่ 4 ที่ครอบคลุมบริเวณอัตติคา และโบเธียและรุ่งเรืองต่อมาจนมาเสียแก่จักรวรรดิออตโตมันในคริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และดัชชีเอเธนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ดูร์เรส

ูร์เรส (Durrës) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศแอลเบเนีย เป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่และมีความสำคัญที่สุดของแอลเบเนีย ตั้งอยู่บนฝั่งทะเลเอเดรียติก ประชากรส่วนใหญ่เป็นมุสลิม อยู่ห่างจากเมืองหลวง ติรานา ทางตะวันตก 33 กิโลเมตร มีประชากรราว 202,000 คน (ค.ศ. 2009) เป็นเมืองท่าที่สำคัญในการขนส่งน้ำมันมะกอก ยาสูบ ผลิตภัณฑ์ยาง เครื่องหนัง เดิมชื่อ เอพิแดมนัส สร้างขึ้นเมื่อประมาณ 625 ปีก่อนคริสต์ศักราชและได้เปลี่ยนผู้ปกครองหลายทอดจนกระทั่งชาวเซิร์บเข้าปกครองระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และดูร์เรส · ดูเพิ่มเติม »

ครีต

รีต (Crete) หรือ ครีตี (Κρήτη: Krētē, Kriti) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะกรีกและเป็นเกาะที่ใหญ่เป็นลำดับห้าในบรรดาเกาะในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ที่มีเนื้อที่ 8,336 ตารางกิโลเมตร ครีตเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมมิโนอัน (Minoan civilization) ที่เป็นอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในบรรดาอารยธรรมกรีกที่รุ่งเรืองระหว่างราว 2600 ถึง 1400 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในปัจจุบันครีตเป็นหนึ่งในสิบสามเขตการปกครองของกรีซ (Peripheries of Greece) และมีความสำคัญทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมต่อกรีซ เดิมเกาะครีตรู้จักกันในชื่อภาษาอิตาลีว่า “คันเดีย” (Candia) จากชื่อเมืองหลวงในยุคกลางเฮราคลิออน (Heraklion) “Chandax” (ภาษากรีก: Χάνδαξ หรือ Χάνδακας, "คู", ตุรกี: Kandiye) ในภาษาละตินเรียกว่า “เครตา” (Creta) และในภาษาตุรกีเรียกว่า “กิริต” (Girit) ที่ตั้งของครีตมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่ในปัจจุบันเป็นสถานที่ที่เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว ครีตเป็นที่ตั้งของ สถาที่สำคัญของอารยธรรมมิโนอันที่รวมทั้งคนอสซอส และ ไฟทอส (Phaistos), กอร์ทิส (Gortys), เมืองท่าคาเนีย (Chania) ของเวนิส, ปราสาทเวนิสที่เรธิมโน (Rethymno) และ ซอกเขาซามาเรีย (Samaria Gorge) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเกาะครีตเป็นฐานทัพเรือของอิตาลี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และครีต · ดูเพิ่มเติม »

คอนสแตนติโนเปิล

แผนที่คอนสแตนติโนเปิล คอนสแตนติโนเปิล (Constantinople, (กรีก: Κωνσταντινούπολις (Konstantinoúpolis) หรือ ἡ Πόλις (hē Pólis), ภาษาละติน: CONSTANTINOPOLIS, ภาษาออตโตมันตุรกี (ทางการ): قسطنطينيه Konstantiniyye) คอนสแตนติโนเปิลเป็นเมืองหลวง (กรีก: Βασιλεύουσα (Basileúousa)) ของจักรวรรดิโรมัน ระหว่างปี ค.ศ. 330 ถึง ค.ศ. 395; ของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ระหว่างปี ค.ศ. 395 ถึง ค.ศ. 1204 และระหว่างปี ค.ศ. 1261 ถึง ค.ศ. 1453; ของจักรวรรดิละติน ระหว่างปี ค.ศ. 1204 ถึง ค.ศ. 1261); และของจักรวรรดิออตโตมัน ระหว่างปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และคอนสแตนติโนเปิล · ดูเพิ่มเติม »

คาร์เธจ

ร์เธจ (Carthago) เป็นเมืองโบราณ ปัจจุบันตั้งอยู่ในเมืองตูนิส ประเทศตูนีเซี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และคาร์เธจ · ดูเพิ่มเติม »

ซีรากูซา

ซีรากูซา (Siracusa; Sarausa; Syracusæ; Συρακοῦσαι Syrakoúsai) เป็นเมืองประวัติศาสตร์ในแคว้นปกครองตนเองซิซิลี ในทะเลไอโอเนียน เป็นเมืองหลวงของจังหวัดซีรากูซา ประเทศอิตาลี เป็นเมืองที่เต็มไปด้วยประวัติศาสตร์กรีกโบราณทั้งด้านวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม มีซากปรักหักพังของวิหารและโรงละครกรีกประมาณ 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช บางส่วนของกำแพงเมืองและป้อมปราการ ทวิอัฒจันทร์ของโรมัน และสุสานใต้ดินหลายแห่ง เป็นสถานที่เกิดของอาร์คิมิดีส นักคณิตศาสตร์และวิศวกรชาวกรีก เป็นเมืองเก่าแก่อายุ 2,700 ปี มีบทบาทสำคัญในยุคโบราณ หนึ่งในมหาอำนาจในโลกแห่งเมดิเตอร์เรเนียน เมืองนี้ก่อตั้งขึ้นโดยชาวอาณานิคมโครินเทียน ต่อมาเป็นเมืองใหญ่ที่สุดและสำคัญมาก ได้ขยายอิทธิพลไปทั่วทั้งเกาะและตอนใต้ของอิตาลี ชาวไบแซนไทน์เข้าครอบครองใน..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และซีรากูซา · ดูเพิ่มเติม »

ประชุมกฎหมายแพ่ง

วัดซันวีตาเล ประเทศอิตาลี ประชุมกฎหมายแพ่ง (Corpus Iuris Civilis) เป็นประชุมข้อเขียนทางนิติศาสตร์ซึ่งพระเจ้าจัสติเนียนที่ 1 พระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิโรมันตะวันออก มีพระราชโองการให้รวบรวมและเผยแพร่ตั้งแต..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และประชุมกฎหมายแพ่ง · ดูเพิ่มเติม »

นอร์มัน

ีแดงเป็นบริเวณที่นอร์มันได้รับชัยชนะ นอกจากนั้นก็ยังได้รับชัยชนะต่อหมู่เกาะมอลตีส และบางส่วนของตูนิเซีย และลิเบีย นอร์มัน (Normans) คือกลุ่มชนผู้ให้นามแก่ดินแดนนอร์ม็องดีซึ่งเป็นบริเวณทางตอนเหนือของฝรั่งเศส ชนนอร์มันสืบเชื้อสายมาจากไวกิงผู้ได้รับชัยชนะต่อผู้ตั้งถิ่นฐานอยู่แต่เดิมที่เป็นชนแฟรงค์ (Franks) และกอลล์-โรมัน (Gallo-Roman) ความเป็น “ชนนอร์มัน” เริ่มเป็นที่รู้จักกันเป็นครั้งแรกราวครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 10 และค่อยๆ วิวัฒนาการเรื่อยมาในคริสต์ศตวรรษต่อๆ มาจนกระทั่งสูญหายไปจากการเป็นกลุ่มชนที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 คำว่า “นอร์มัน” มาจากคำว่า “นอร์สเม็น” หรือ “นอร์ธเม็น” (Norsemen หรือ Northmen) ตามชื่อไวกิงจากสแกนดิเนเวียผู้ก่อตั้งนอร์ม็องดี หรือ “นอร์ธมานเนีย” เดิมในภาษาละติน ชนนอร์มันมีบทบาทสำคัญในทางการเมือง, การทหารและวัฒนธรรมของยุโรปและแม้แต่ในตะวันออกใกล้ (Near East) ชนนอร์มันมีชื่อเสียงในทางการรณรงค์และความศรัทธาทางคริสต์ศาสนา และยอมรับการใช้ภาษากอลล์-โรมานซ์ในดินแดนที่ไปตั้งถิ่นฐานอย่างรวดเร็ว สำเนียงการพูดและการใช้ภาษาที่ได้รับมากลายมาเป็นภาษานอร์มันซึ่งเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางวรรณกรรม อาณาจักรดยุคแห่งนอร์ม็องดี (Duchy of Normandy) ที่เป็นดินแดนที่เกิดจากสนธิสัญญากับราชบัลลังก์ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นอาณาบริเวณการปกครองที่มีความสำคัญที่สุดบริเวณหนึ่งในยุคกลางของฝรั่งเศส ทางด้านการสงครามชนนอร์มันขยายดินแดนโดยการรุกรานและยึดครองโดยเฉพาะในการยึดครองอังกฤษในการรุกรานและยึดครองอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1066 และการรุกรานและยึดครองอิตาลีตอนใต้ นอกจากในด้านการเมืองและการปกครองแล้วชนนอร์มันก็ยังมีชื่อเสียงทางด้านการสถาปัตยกรรมที่มีพื้นฐานมาจากสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ และความสามารถทางด้านดนตรี อิทธิพลของนอร์มันในด้านต่างๆ แผ่ขยายจากบริเวณที่ยึดครองตั้งแต่อาณาจักรครูเสดต่างๆ ในตะวันออกใกล้ไปจนถึงสกอตแลนด์ และเวลส์ ในสหราชอาณาจักร และในไอร์แลนด์ ในการศึกษาประวัติศาสตร์ (historiography) ของรัสเซีย คำว่า “นอร์มัน” มักจะใช้สำหรับชนวารันเจียน (Varangians) ซึ่งมาจากไวกิง ในการศึกษาประวัติศาสตร์ของฝรั่งเศสก็เช่นกันมักจะเป็นคำที่หมายถึงไวกิงกลุ่มต่างๆ ผู้รุกรานฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ก่อนจะตั้งหลักแหล่งในนอร์ม็องดี.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และนอร์มัน · ดูเพิ่มเติม »

นีช

นีช (Ниш / Niš) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศเซอร์เบีย (รองจากกรุงเบลเกรดและนอวีซาด) จากข้อมูลปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และนีช · ดูเพิ่มเติม »

แพทริเซียน

ำว่า แพทริเซียน (patricius, πατρίκιος, patrikios, patrician) เดิมหมายถึงกลุ่มครอบครัวอภิชนในโรมโบราณ รวมทั้งสมาชิกทั้งตามธรรมชาติและที่รับมาเป็นบุตรบุญธรรม ในจักรวรรดิโรมันตอนปลาย ชนชั้นแพทริเซียนยังขยายรวมไปถึงข้าราชการสภาสูง และหลังการล่มสลายของจักรวรรดิตะวันตก ยังคงเป็นบรรดาศักดิ์อันทรงเกียรติในจักรวรรดิไบแซนไทน์ ชนชั้นแพทริเซียนในยุคกลางนิยามอย่างเป็นทางการอีกครั้งหนึ่งว่าเป็นกลุ่มครอบครัวชาวเมืองอภิชนในสาธารณรัฐอิตาลียุคกลางทั้งหลาย เช่น เวนิสและเจนัว และภายหลัง "แพทริเซียน" เป็นคำที่กำกวมใช้กับผู้ดีและชนชั้นกระฎุมพีอภิชนในหลายประเท.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และแพทริเซียน · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นปกครองตนเองซิซิลี

ซิซิลี (Sicily) หรือ ซีชีเลีย (Sicilia; Sicìlia) เป็นหนึ่งในยี่สิบแคว้นและหนึ่งในห้าแคว้นปกครองตนเองของประเทศอิตาลี มีลักษณะเป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางภาคใต้ของประเทศโดยมีช่องแคบเมสซีนาคั่นระหว่างตัวเกาะกับแผ่นดินใหญ่ เกาะมีพื้นที่ 25,708 ตารางกิโลเมตร นับเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของอิตาลีและในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จุดสูงสุดของเกาะคือภูเขาไฟเอตนา (3,320 เมตร) บนเกาะมีประชากรอาศัยอยู่กว่า 5 ล้านคน เมืองสำคัญได้แก่ ปาแลร์โม (เมืองหลัก) เมสซีนา กาตาเนีย ซีรากูซา ตราปานี เอนนา คัลตานิสเซตตา และอากรีเจนโต ซิซิลีมีประวัติต่อเนื่องยาวนานกว่า 4,000 ปี ด้วยเหตุที่เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญแห่งหนึ่งของยุโรป ซิซิลีจึงตกเป็นเป้าหมายของการยึดครองจากชนชาติที่มีอำนาจเข้มแข็งในช่วงเวลาต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่ชาวกรีก โรมัน คาร์เทจ อาหรับ นอร์มัน เยอรมัน ฝรั่งเศส และสเปน แต่ละชาติผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเข้ามาปกครองดินแดนนี้ ขณะเดียวกันก็ได้นำเอาศิลปวัฒนธรรมของตนเข้ามาด้วย เกาะนี้จึงมีสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมที่หลากหลายผสมผสานกัน หากแต่ลงตัว นอกจากนี้ยังอุดมไปด้วยความงามทางธรรมชาติของทั้งชายหาด ทะเล และภูเขาไฟ และด้วยความที่อยู่ห่างไกลออกมา จึงสามารถสัมผัสได้ถึงความเป็นอิตาลีดั้งเดิมอย่างที่หาไม่พบอีกแล้วตามเมืองใหญ่ในอิตาลีภาคพื้นทวีป.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และแคว้นปกครองตนเองซิซิลี · ดูเพิ่มเติม »

แคปพาโดเชีย

แคปพาโดเชีย (Καππαδοκία กัปปาโดเกีย; Cappadocia) แผลงมาจากคำในภาษากรีก “Καππαδοκία” (Kappadokía) คือภูมิภาคตอนกลางของประเทศตุรกีที่ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดเนฟชีร์ “แคปพาโดเชีย” เป็นชื่อที่ปรากฏตลอดมาในประวัติศาสตร์ของคริสต์ศาสนาและเป็นชื่อที่ใช้โดยทั่วไปที่หมายถึงบริเวณที่เป็นที่น่าสนใจแก่นักท่องเที่ยว ในบริบทของภูมิภาคอันมีความน่าตื่นตาตื่นใจทางธรรมชาติ โดยเฉพาะภูมิสัณฐานที่มีลักษณะเป็นแท่งๆ คล้ายหอปล่องไฟ หรือ เห็ด (ปล่องไฟธรรมชาติ (fairy chimney)) และประวัติความเป็นมาทางประวัติศาสตร์อันเป็นเอกลักษณ์ของภูมิภาคอานาโตเลีย ในสมัยของเฮโรโดทัส กลุ่มชาติพันธุ์แคปพาโดเชียกล่าวว่าเป็นผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในภูมิภาคตั้งแต่ภูเขาทอรัสไปจนถึงบริเวณยูซีน (ทะเลดำ) ฉะนั้นแคปพาโดเชียในกรณีนี้จึงมีบริเวณทางตอนใต้จรดเทือกเขาทอรัส ที่เป็นพรมแดนธรรมชาติที่แยกจากซิลิเคีย, ทางตะวันออกโดยแม่น้ำยูเฟรทีสตอนเหนือและ ที่ราบสูงอาร์มีเนีย, ทางตอนเหนือโดยภูมิภาคพอนทัส และทางตะวันตกโดยภูมิภาคไลเคาเนีย และ กาเลเชียตะวันออกVan Dam, R. Kingdon of Snow: Roman rule and Greek culture in Cappadocia. Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 2002, p.13.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และแคปพาโดเชีย · ดูเพิ่มเติม »

เลสบอส

ลสบอส (Λέσβος; Lesbos) หรือในบางครั้งเรียก มีตีลีนี (Mytilini) เป็นเกาะในประเทศกรีซ ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลอีเจียน นอกฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศตุรกี มีพื้นที่ 1632 กม² (630 ตร.ไมล์) ชายฝั่งยาว 320 กม.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และเลสบอส · ดูเพิ่มเติม »

เลือดออกในสมองใหญ่

เลือดออกในสมองใหญ่ (cerebral/intracerebral hemorrhage) เป็นภาวะเลือดออกในกะโหลกศีรษะชนิดหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นในเนื้อสมอง อาจเกิดจากการบาดเจ็บต่อสมอง หรือเกิดขึ้นเองในลักษณะเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ก็ได้ หมวดหมู่:การบาดเจ็บของระบบประสาท หมวดหมู่:โรคหลอดเลือดสมอง.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และเลือดออกในสมองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เอเธนส์

อเธนส์ (Athens; Αθήνα อธีนา) เป็นเมืองหลวงของประเทศกรีซ และยังเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศกรีซ ใช้ชื่อตามพระเจ้าอะธีนาในปุราณวิทยา เป็นหนี่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดนกินช่วงระยะเวลามากกว่า 3,400 ปี และมีการตั้งถิ่นฐานมาตั้งแต่ประมาณช่วงสหัสวรรษที่ 11 และ 7 ก่อนคริสตกาล ในช่วงยุคคลาสสิกของกรีซ หรือประมาณปีที่ 508-322 ก่อนคริสต์ศักราช เอเธนส์ขึ้นสู่จุดสูงสุดของอำนาจ และเป็นนครรัฐที่มีอิทธิพลอย่างมากในยุคนั้น อีกทั้งยังเป็นศูนย์กลางของศิลปะ การเรียนรู้ และปรัชญา เมืองเอเธนส์ยังได้รับการอ้างอิงอย่างกว้างขวางว่าเป็นต้นกำเนิดของอารยธรรมตะวันตก และเป็นที่ที่การปกครองระบอบประชาธิปไตยถือกำเนิดขึ้นเป็นครั้งแรก ปัจจุบันเอเธนส์เป็นเมืองนานาชาติที่ทันสมัย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน อุตสาหกรรม การเมือง และชีวิตทางวัฒนธรรมในกรีซ และภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ของยุโรป เป็นที่ตั้งของท่าเรือไพรีอัส ซึ่งเป็นท่าเรือผู้โดยสารที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป เอเธนส์ถูกจัดอันดับให้เป็นเมืองที่รวยที่สุดอันดับที่ 39 ของโลก ในปี 2012 ประชากรในเขตเทศบาลเมือง บนขนาดพื้นที่ มีประมาณ 655,442 คน (796,442 คน ณ ปี ค.ศ. 2004) ส่วนประชากรในเขตเมือง (urban area) ทั้งหมด บนขนาดพื้นที่ มี 3,090,508 คน ตามสถิติเมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และเอเธนส์ · ดูเพิ่มเติม »

เทสซาโลนีกี

ทสซาโลนีกี (Θεσσαλονίκη; Thessaloniki) หรือ เทสซาโลนีกา (Thessalonica) หรือ ซาลอนีกา (Salonica) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศกรีซ เป็นเมืองหลวงของภูมิภาคเซนทรัลมาซิโดเนีย และเขตการปกครองกระจายอำนาจมาซิโดเนียและเทรซ (Decentralized Administration of Macedonia and Thrace) จากข้อมูลปี..

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และเทสซาโลนีกี · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อตายเน่า

เนื้อตายเน่า (Gangrene) คือภาวะซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเนื้อเยื่อบางส่วนของร่างกายตายไปเป็นปริมาณมาก จนเป็นภาวะซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ภาวะนี้อาจเกิดจากการบาดเจ็บหรือการติดเชื้อ หรือพบในผู้ป่วยเรื้อรังจากโรคที่ส่งต่อการไหลเวียนเลือด สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการขาดเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนนั้นๆ ทำให้เซลล์ตาย โรคเบาหวานและการสูบบุหรี่เป็นเวลานานเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดเนื้อตายเน่าได้ หมวดหมู่:อาการและอาการแสดงที่เกี่ยวกับระบบไหลเวียนโลหิต.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และเนื้อตายเน่า · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤษภาคม

วันที่ 11 พฤษภาคม เป็นวันที่ 131 ของปี (วันที่ 132 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 234 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และ11 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤษภาคม

วันที่ 29 พฤษภาคม เป็นวันที่ 149 ของปี (วันที่ 150 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 216 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รายพระนามจักรพรรดิไบแซนไทน์และ29 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »