โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรพรรดิเฮราคลิอัส

ดัชนี จักรพรรดิเฮราคลิอัส

ักรพรรดิเฮราคลิอัส หรือ จักรพรรดิเฮราเคลออส(Heraclius; ชื่อเต็ม: Flavius Heraclius Augustus, Φλάβιος) (ราว ค.ศ. 575 – 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 641) เฮราคลิอัสเป็นจักรพรรดิเชื้อสายอาร์มีเนียแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์เป็นเวลากว่าสามสิบปีระหว่างวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ. 610 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 641 การเรืองอำนาจของพระองค์เริ่มขึ้นในปี..

18 ความสัมพันธ์: ชาวสลาฟพ.ศ. 1118พ.ศ. 1153พ.ศ. 1184พ.ศ. 1723ลัทธินอกศาสนาสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 4สงครามไบแซนไทน์-อาหรับจักรพรรดิจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์จักรพรรดิโพกัสจักรพรรดิเฮราโคลนาสจักรวรรดิแซสซานิดจักรวรรดิไบแซนไทน์ประเทศโครเอเชียแดลเมเชีย11 กุมภาพันธ์5 ตุลาคม

ชาวสลาฟ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและชาวสลาฟ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1118

ทธศักราช 1118 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและพ.ศ. 1118 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1153

ทธศักราช 1153 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและพ.ศ. 1153 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1184

ทธศักราช 1184 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและพ.ศ. 1184 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1723

ทธศักราช 1723 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและพ.ศ. 1723 · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธินอกศาสนา

้อน Mjölnir ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญของลัทธิเพกันใหม่เยอรมัน ลัทธินอกศาสนา หรือ เพเกิน หรือ เพแกน (Paganism มาจากภาษาPaganus แปลว่า “ผู้ที่อยู่ในชนบท”) เป็นคำที่มีความหมายกว้างที่ใช้บรรยายศาสนาหรือการปฏิบัติของหมู่ชนสมัยก่อนมีการนับถือคริสต์ศาสนาในยุโรป หรือถ้าขยายความขึ้นไปอีกก็จะหมายถึงผู้ที่มีธรรมเนียมการนับถือพระเจ้าหลายองค์ (polytheistic) หรือศาสนาพื้นบ้าน (folk religion) โดยทั่วไปในโลกจากมุมมองของผู้ที่นับถือคริสต์ศาสนาในโลกตะวันตก คำนี้มีความหมายหลายอย่างแต่จากทัศนคติตะวันตกในนัยยะของความหมายในปัจจุบันหมายถึงความศรัทธาที่เป็นพหุเทวนิยมของผู้ที่ปฏิบัติตามแบบเจตนิยม (spiritualism) วิญญาณนิยม (animism) หรือลัทธิเชมัน เช่นในศาสนาพื้นบ้าน ในลัทธิการนับถือพระเจ้าหลายองค์ หรือในลัทธินอกศาสนาใหม่ คำว่า “ลัทธินอกศาสนา” ได้รับการตีความหมายอย่างกว้างที่รวมถึงศาสนาทุกศาสนาที่อยู่นอกกลุ่มศาสนาอับราฮัมของผู้นับถือลัทธิเอกเทวนิยม (monotheism) ที่รวมทั้งศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม กลุ่มที่ว่านี้รวมทั้งศาสนาตะวันออก (Eastern religions) ปรัมปราวิทยาอเมริกันพื้นเมือง (Native American mythology) และศาสนาพื้นบ้านโดยทั่วไปที่ไม่ใช่คริสต์ศาสนา ในความหมายที่แคบลง "ลัทธินอกศาสนา" จะไม่รวมศาสนาของโลก (world religions) ที่เป็นศาสนาที่เป็นที่ยอมรับกันอย่างเป็นทางการแต่จะจำกัดอยู่ในศาสนาท้องถิ่นที่ยังไม่ได้จัดอยู่ในระบบศาสนาของโลก ลักษณะการปฏิบัติของลัทธิเพกันคือความขาดสาวก (proselytism) และการความนิยมในการนับถือปรัมปราวิทยาต่าง ๆ (mythology) คำว่า “ลัทธินอกศาสนา” เป็นคำที่ผู้นับถือคริสต์ศาสนานำมาใช้สำหรับ “เจนไทล์” (gentile) ของศาสนายูดาห์หรือชาวยิว ที่เป็นการใช้คำที่ออกไปทางเหยียดหยามโดยหมู่ผู้นับถือลัทธิเอกเทวนิยมของโลกตะวันตก เทียบเท่ากับการใช้คำว่า “heathen” (ฮีทเธน) หรือ “อินฟิเดล” (infidel) หรือ “กาฟิร” (kafir หรือ كافر) และ “มุชริก” (mushrik หรือ مشرك ผู้เคารพรูปปั้น) ในการเรียกผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม ด้วยเหตุผลต่างๆ เหล่านี้นักชาติพันธุ์วิทยาจึงเลี่ยงใช้คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" เพราะความหมายอันแตกต่างกันและไม่แน่นอน ในการกล่าวถึงความศรัทธาตามที่มีกันมาหรือในประวัติศาสตร์ และมักจะใช้คำที่มีความหมายเฉพาะเจาะจงมากกว่า เช่น เจตนิยม, วิญญาณนิยม, ลัทธิชามัน หรือสรรพเทวนิยม (pantheism) แต่ก็มีผู้วิจารณ์การใช้คำเหล่านี้ที่อ้างว่าเป็นคำที่ให้ความหมายของศรัทธาในมุมมองหนึ่งและมิได้กล่าวถึงตัวความเชื่อของศาสนาที่กล่าว ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" ก็กลายมาเป็นที่นิยมใช้กันสำหรับผู้นับถือลัทธินอกศาสนาใหม่ ฉะนั้นนักวิชาการหลายแขนงในปัจจุบันจึงต้องใช้คำนี้ในความหมายที่แบ่งเป็นสามกลุ่ม: พหุเทวนิยมในประวัติศาสตร์ (เช่นลัทธินอกศาสนาเซลต์ (Celtic paganism) หรือลัทธินอกศาสนานอร์ส (Norse paganism)), ศาสนาพื้นบ้าน/ศาสนาเผ่าพันธุ์/ศาสนาท้องถิ่น (เช่น ศาสนาพื้นบ้านของชาวจีนหรือ ศาสนาพื้นบ้านของชาวแอฟริกา) และลัทธินอกศาสนาใหม่ (เช่นวิคคา (Wicca) และ ลัทธินอกศาสนาใหม่เยอรมัน (Germanic Neopaganism)).

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและลัทธินอกศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 4

thumb สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 4 (John IV) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 640 ถึง ค.ศ. 642 จอห์นที่ 4 หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามไบแซนไทน์-อาหรับ

งครามไบแซนไทน์-อาหรับ (Byzantine–Arab Wars) เป็นสงครามที่ต่อเนื่องกันระหว่างจักรวรรดิกาหลิป และจักรวรรดิไบแซนไทน์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่เริ่มตั้งแต่การพิชิตดินแดนของมุสลิมภายใต้จักรวรรดิกาหลิปรอชิดีนและจักรวรรดิกาหลิปอุมัยยะห์ และต่อสู้ต่อเนื่องกันมาด้วยสาเหตุความขัดแย้งของพรมแดนจนถึงสงครามครูเสดเริ่มต้นขึ้น ผลของสงครามคือการเสียดินแดนของจักรวรรดิไบแซนไทน์ หรือชาวอาหรับเรียกว่า “รุม” ในบันทึกทางประวัติศาสตร์ ความขัดแย้งครั้งแรกยืนยาวตั้งแต่ ค.ศ. 634 จนถึง ค.ศ. 718 ที่จบลงด้วยการการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลครั้งที่สองที่หยุดยั้งการขยายตัวของจักรวรรดิอาหรับเข้ามายังอนาโตเลีย ความขัดแย้งครั้งเกิดขึ้นระหว่างราว ค.ศ. 800 จนถึง ค.ศ. 1169 เมื่อฝ่ายอิสลามยึดดินแดนทางตอนใต้ของอิตาลีโดยกองกำลังของอับบาซียะห์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10 แตไม่ประสบกับความสำเร็จเท่าใดนักในซิซิลี เมื่อมาถึงสมัยการปกครองของราชวงศ์มาซีโดเนียไบแซนไทน์ก็ยึดบริเวณลว้านคืนมาได้ และบุกต่อไปเพื่อที่จะยึดเยรูซาเลมทางตอนใต้ อาณาจักรอีเมียร์แห่งอเล็พโพและอาณาจักรเพื่อนบ้านกลายเป็นอาณาจักรบริวารของไบแซนไทน์ทางตะวันออก ที่อันตรายส่วนใหญ่มาจากจักรวรรดิกาหลิปฟาติมียะห์ในอียิปต์ สถานะการณ์มาเปลี่ยนแปลงเมื่อราชวงศ์เซลจุครุ่งเรืองขึ้นและทำให้อับบาซียะห์ได้ดินแดนลึกเข้าไปในอนาโตเลีย ซึ่งเป็นผลให้จักรพรรดิไบแซนไทน์อเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอสต้องเขียนพระราชสาส์นไปขอความช่วยเหลือจากสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2ที่การประชุมสภาสงฆ์แห่งปิอาเชนซา ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของการเริ่มสงครามครูเสดครั้งที่ 1.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและสงครามไบแซนไทน์-อาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิ

ักรพรรดิ หรือ พระราชาธิราช หมายถึง ประมุขของจักรวรรดิ หากเป็นสตรีเรียกว่า จักรพรรดินี (Empress) แต่คำว่า “จักรพรรดินี” ก็ใช้เรียกพระมเหสีของจักรพรรดิด้วย ในภาษาอังกฤษจะมีคำต่อท้ายให้เป็นที่เข้าใจคือ “Empress Consort” โดยทั่วไปถือกันว่า “จักรพรรดิ” มีฐานันดรสูงกว่า “พระราชา”.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งไบแซนไทน์ หรือ เฮราคลิอัส โนวัส คอนสแตนตินัส (Constantine III (Byzantine emperor); ชื่อเต็ม: Heraclius Novus Constantinus; Ηράκλειος (νέος) Κωνσταντίνος) (3 พฤษภาคม ค.ศ. 612 – 20 เมษายน หรือ 24/26 พฤษภาคม ค.ศ. 641) คอนสแตนตินที่ 3 ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์เพียงสี่เดือนตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ ค.ศ. 641 จนเสด็จสวรรคต คอนสแตนตินเป็นพระราชโอรสองค์โตในจักรพรรดิเฮราคลิอัสและพระอัครมเหสีองค์แรกจักรพรรดินียูโดเคี.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 3 แห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโพกัส

ักรพรรดิโพกัส หรือ จักรพรรดิเฟลเวียส โพกัส ออกัสตัส (Phocas; ชื่อเต็ม: Flavius Phocas Augustus) (– ค.ศ. 610) โพกัสทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ โดยการชิงราชบัลลังก์จากจักรพรรดิเมาริกิอุส ต่อมาพระองค์เองก็ถูกโค่นราชบัลลังก์โดยจักรพรรดิเฮราคลิอัสหลังจากที่ทรงพ่ายแพ้ในสงครามกลางเมือง ระยะเวลาการครองราชย์ของพระองค์เริ่มขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 602 และสิ้นสุดลงใน ค.ศ. 610.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและจักรพรรดิโพกัส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเฮราโคลนาส

ักรพรรดิเฮราโคลนาส (Heraklonas หรือ Heraclonas หรือ Heracleonas; Κωνσταντίνος Ηράκλειος) (ค.ศ. 626 – ค.ศ. 641) เฮราโคลนาสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ของราชวงศ์เฮราเคลียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกันยายน ค.ศ. 641 เฮราโคลนาสเสด็จพระราชสมภพในปี ค.ศ. 626 เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิเฮราคลิอัสและจักรพรรดินีมาร์ตินา พระองค์มีพระนามอย่างเป็นทางการว่า “คอนแสตนตินัส เฮราคลิอัส” แต่พระนามเล่น “เฮราโคลนาส” (Ηρακλωνάς) หรือ “เฮราคลิอัสน้อย” กลายเป็นพระนามที่ปรากฏในบันทึกไบแซนไทน์และกลายเป็นพระนามที่มาใช้ในมาตรฐานของประวัติศาสตร์ศาสตร์ (historiography) เฮราโคลนาสอาจจะประสูติที่ลาซิคา (Lazica) ขณะที่พระราชบิดาทำการรณงค์ต่อต้านพระเจ้าโคสเราที่ 2 (Khosrau II) แห่งจักรวรรดิซาสซานิยะห์ และอาจจะเป็นพระราชโอรสองค์ที่สี่ของจักรพรรดิเฮราคลิอัสและจักรพรรดินีมาร์ตินาแต่เป็นพระองค์แรกที่ไม่ทรงมีความผิดปกติทางร่างกายจึงทรงทำให้เป็นผู้มีสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ ในตอนปลายของรัชสมัยของจักรพรรดิเฮราคลิอัส เฮราโคลนาสก็ทรงได้รับตำแหน่งออกัสตัสโดยอิทธิพลของพระราชมารดาเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและจักรพรรดิเฮราโคลนาส · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิแซสซานิด

ักรวรรดิซาสซานิยะห์ (ساسانیان, Sassanid Empire) ที่เป็นหนึ่งในจักรวรรดิเปอร์เชียและที่เป็นจักวรรดิสุดท้ายก่อนที่ศาสนาอิสลามจะเริ่มขึ้นเป็นหนึ่งในสองมหาอำนาจของเอเชียตะวันตกเป็นเวลากว่าสี่ร้อยปี ราชวงศ์ซาสซานิยะห์ก่อตั้งโดยอาร์ดาเชอร์ที่ 1 (Ardashir I) หลังจากที่ทรงได้รับชัยชนะต่อจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิพาร์เธียนองค์สุดท้ายอาร์ตาบานัสที่ 4 (Artabanus IV) และมาสิ้นสุดลงเมื่อยาซเดเกิร์ดที่ 3 (Yazdegerd III) มาพ่ายแพ้หลังจากที่ทรงใช้เวลาถึงสิบสี่ปีในการต่อต้านจักรวรรดิกาหลิปรอชิดีนซึ่งเป็นหนึ่งในจักรวรรดิกาหลิปอิสลามที่ตามกันมา จักรวรรดิซาสซานิยะห์หรือที่เรียกว่า “Eranshahr” (“จักรวรรดิอิหร่าน”) ตั้งอยู่ในบริเวณที่เป็นปัจจุบันคืออิหร่าน, อิรัก, อาร์มีเนีย, ทางตอนใต้ของคอเคซัส (รวมทั้งทางตอนใต้ของดาเกสถาน), ตะวันตกเฉียงใต้ของเอเชียกลาง, ตะวันตกของอัฟกานิสถาน, บางส่วนของตุรกี, บางส่วนของซีเรีย, บริเวณริมฝั่งทะเลของคาบสมุทรอาหรับ, บริเวณอ่าวเปอร์เซีย และบางส่วนของทางตะวันตกเฉียงใต้ของปากีสถาน สมัยการปกครองของซาสซานิยะห์เป็นสมัยอันยาวนานของปลายสมัยโบราณและถือกันว่าเป็นสมัยที่สำคัญที่สุดและมีอิทธิพลที่สุดทางประวัติศาสตร์สมัยหนึ่งของ เป็นสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของวัฒนธรรมของเปอร์เซียแ ละเป็นจักรวรรดิอันยิ่งใหญ่จักรวรรดิสุดท้ายก่อนที่จะเริ่มยุคการพิชิตของมุสลิมและการยอมรับนับถือศาสนาอิสลาม วัฒนธรรมของเปอร์เซียมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมของโรมันเป็นอันมากในยุคซาสซานิยะห์J.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและจักรวรรดิแซสซานิด · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรววรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า "จักรวรรดิไบแซนไทน์" และ "จักรวรรดิโรมันตะวันออก" เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า "จักรวรรดิโรมัน" หรือ "โรมาเนีย" เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน..

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโครเอเชีย

รเอเชีย (Croatia; Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (Republic of Croatia; Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและประเทศโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

แดลเมเชีย

แดลเมเชีย (Dalmatia) หรือ ดัลมาตซียา (Dalmacija) คือภูมิภาคในบริเวณฝั่งตะวันออกของทะเลเอเดรียติกที่ในประเทศโครเอเชียปัจจุบัน บริเวณนี้รวมตั้งแต่เกาะราบทางตะวันตกเฉียงเหนือและอ่าวโคทอร์ทางตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและแดลเมเชีย · ดูเพิ่มเติม »

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและ11 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

5 ตุลาคม

วันที่ 5 ตุลาคม เป็นวันที่ 278 ของปี (วันที่ 279 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 87 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรพรรดิเฮราคลิอัสและ5 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Emperor HeracliusHeracliusจักรพรรดิเฮราคลิอุสจักรพรรดิเฮราเคลียสเฮราคลิอัสเฮราคลิอุสเฮราเคลียส

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »