สารบัญ
88 ความสัมพันธ์: บ้านพิบูลธรรมบ้านพิษณุโลกบ้านมนังคศิลาบ้านอับดุลราฮิมบ้านซอยสวนพลูพระบรมรูปทรงม้าพระราชวังพญาไทพระที่นั่งวิมานเมฆพระที่นั่งอนันตสมาคมพิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินกรมสรรพาวุธทหารบกกรุงเทพมหานครกรีฑาสถานแห่งชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวายราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์วชิราวุธวิทยาลัยวัดบรมนิวาสราชวรวิหารวัดบึงทองหลางวัดพระศรีมหาอุมาเทวีวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหารวัดมหาพฤฒารามวรวิหารวัดมัชฌันติการามวัดยานนาวาวัดราชาธิวาสราชวรวิหารวัดราชผาติการามวรวิหารวัดดอกไม้ ยานนาวาวัดคอนเซ็ปชัญวัดปทุมวนารามราชวรวิหารวัดโพธิ์แมนคุณารามวัดไผ่เงินโชตนารามวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารวังลดาวัลย์วังวาริชเวสม์วังวิทยุวังศุโขทัยวังสระปทุมวังสวนกุหลาบวังสวนปาริจฉัตก์วังจันทรเกษมวังปารุสกวันวังนางเลิ้งศุลกสถานสวนลุมพินีสะพานชมัยมรุเชฐสะพานพระราม 6สะพานกรุงธนสะพานเฉลิมหล้า 56สถานีรถไฟกรุงเทพสถานีรถไฟจิตรลดาสถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย... ขยายดัชนี (38 มากกว่า) »
บ้านพิบูลธรรม
้านพิบูลธรรม บ้านพิบูลธรรมด้านหลัง บ้านพิบูลธรรมด้านข้างบันไดเวียนภายในบ้านพิบูลธรรม มุมหนึ่งในบ้านพิบูลธรรม อาคารด้านหลังบ้านพิบูลธรรมด้าน บ้านพิบูลธรรม เลขที่ 17 เชิงสะพานกษัตริย์ศึก ยศเส เดิม เขตปทุมวัน ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของกระทรวงพลังงาน และหน่วยงานในสังกัด ได้แก่ สำนักงานรัฐมนตรี และสำนักงานปลัดกระทรวง ได้ตั้งอยู่ในพื้นที่ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และบ้านพิบูลธรรม
บ้านพิษณุโลก
้านบรรทมสินธุ์ ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2489 บ้านพิษณุโลก เป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยและเคยใช้เป็นที่ทำการของคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นบ้านแบบสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ออกแบบและสร้างโดย มาริโอ ตามานโญ สถาปนิกประจำราชสำนักสยามชาวอิตาลี (พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และบ้านพิษณุโลก
บ้านมนังคศิลา
้านมนังคศิลา บ้านมนังคศิลา ตั้งอยู่เลขที่ 514 ถนนหลานหลวง แขวงสี่แยกมหานาค เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นบ้านที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชทานแก่พระยาอุดมราชภักดี (โถ สุจริตกุล) อดีตอธิบดีกรมชาวที่ ผู้มีหน้าที่ดูแลพระราชฐานที่ประทับทั้งหมด และพระราชทานชื่อบ้านนี้ว่า "มนังคศิลา" อันหมายถึงที่ประทั.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และบ้านมนังคศิลา
บ้านอับดุลราฮิม
้านอับดุลราฮิม ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 960 ถนนพระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ด้านหลังคืออาคารอับดุลราฮิม เพลสซึ่งเป็นสำนักงานสูง 34 ชั้น โดยมีประชุม อับดุลราฮิม เป็นเจ้าของ สร้างเมื่อประมาณปี..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และบ้านอับดุลราฮิม
บ้านซอยสวนพลู
้านซอยสวนพลู บ้านซอยสวนพลู เป็นชื่อที่ใช้เรียกขานบ้านพักของม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ตั้งอยู่ในเลขที่ 19 ซอยพระพินิจ ซึ่งเป็นซอยย่อยของซอยสวนพลู (ซอยสาทร 3) ถนนสาทรใต้ เขตสาทร บ้านซอยสวนพลูตั้งบนพื้นที่ 5 ไร่ ที่ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ซื้อไว้ตั้งแต..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และบ้านซอยสวนพลู
พระบรมรูปทรงม้า
right พระบรมรูปทรงม้า อยู่ระหว่างการปั้นในสตูดิโอในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบรมรูปทรงม้า ตั้งอยู่ที่ลานพระบรมรูปทรงม้า สร้างขึ้นในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยนำแบบอย่างมาจากพระบรมรูปของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ที่กรุงปารีส ด้วยฝีมือนายช่างชาวฝรั่งเศส บริษัท ซุซ แฟรส์ ฟองเดอร์ (Susse Frères Fondeur) ในวโรกาส ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และพระบรมรูปทรงม้า
พระราชวังพญาไท
ระราชวังพญาไท หรือ วังพญาไท ตั้งอยู่ที่ริมคลองสามเสน ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น พระราชทานนามให้ว่า "พระตำหนักพญาไท" หรือ "วังพญาไท" ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระราชวังพญาไทในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และพระราชวังพญาไท
พระที่นั่งวิมานเมฆ
ระที่นั่งวิมานเมฆ เป็นพระที่นั่งในพระราชวังดุสิต กรุงเทพมหานคร.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และพระที่นั่งวิมานเมฆ
พระที่นั่งอนันตสมาคม
ระที่นั่งอนันตสมาคม เป็นท้องพระโรงเดิมของพระราชวังดุสิต ชื่อของพระที่นั่งนี้ นำมาจากพระที่นั่งองค์หนึ่งในพระบรมมหาราชวัง พระที่นั่งอนันตสมาคมสร้างขึ้นในปี พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และพระที่นั่งอนันตสมาคม
พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนิน
ัณฑ์ตำหนักปลายเนิน พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนิน หรือ วังคลองเตย ตั้งอยู่บนถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพฯ แต่เดิมเป็นพระตำหนักที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงใช้เป็นที่ประทับชั่วคราวในเบื้องแรกและทรงเป็นที่ประทับถาวรในเวลาต่อมา ปัจจุบันตำหนักปลายเนินนี้ได้ใช้เป็นสถานที่จัดงานวันนริศฯ โดยมูลนิธิสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ซึ่งจัดเป็นประจำในวันที่ 28 เมษายน ของทุกปี ซึ่งเป็นวันคล้ายวันประสูติของสมเด็จฯ กรมพระยานริศฯ และเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้าชมได้ในวันที่ 29 เมษายน ของทุกปี ในเวลาราชการ โดยไม่เสียค่าใช้.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และพิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนิน
กรมสรรพาวุธทหารบก
กรมสรรพาวุธทหารบก เป็นส่วนบัญชาการ (ฝ่ายยุทธบริการ) ของกองทัพบก ปัจจุบันมี พลโธ ศักดา ศิริรัตน์ เป็นเจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และกรมสรรพาวุธทหารบก
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และกรุงเทพมหานคร
กรีฑาสถานแห่งชาติ
กรีฑาสถานแห่งชาติ (The National Stadium of Thailand) เป็นสนามกีฬาแห่งชาติของประเทศไทย อยู่ในความดูแลของกรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา โดยส่งคืนสถานที่บางส่วนแก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา และใช้อาคารสถานที่ในส่วนที่ยังเช่าอยู่ เพื่อเป็นที่ทำการของกรมฯ ตลอดจนสมาคมหรือองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา และนันทนาการต่างๆ กรีฑาสถานแห่งชาติ ตั้งอยู่ภายในที่ทำการของกรมพลศึกษา เลขที่ 154 ถนนพระรามที่ 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และกรีฑาสถานแห่งชาติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Tawan-ok: Uthenthawai Campus) ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 225 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีน้ำเงิน สีขาว คติพจน์ "ถ้าเรารักสมัครจิต ก็ต้องคิดสมัครมือ ถิ่นสีน้ำเงิน คือ ที่รวมรักสมัครคง".
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย
ราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ตราสัญลักษณ์ราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมถ์ ราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Royal Turf Club of Thailand under the Royal Patronage) หรือที่นิยมเรียกกันว่าสนามม้านางเลิ้ง เป็นสถานที่จัดแข่งขันม้าในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งอยู่เลขที่ 183 ถนนพิษณุโลก แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เปิดสนามอย่างเป็นทางการในวันที่ 18 ธันวาคม..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
วชิราวุธวิทยาลัย
วชิราวุธวิทยาลัย เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยพระองค์พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้างโรงเรียนแก่กุลบุตรชาวไทยแทนการสร้างพระอารามซึ่งมีอยู่มากแล้วนั้น ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนย้ายมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ พร้อมทั้งได้พระราชทานนามโรงเรียนขึ้นใหม่ว่า “วชิราวุธวิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกำเนิดโรงเรียนสืบต่อไป วชิราวุธวิทยาลัยมีตึกที่พักนักเรียน เรียกว่า "คณะ" เป็นเสมือนบ้านของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง คือ คณะเด็กโต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยม แบ่งออกเป็น ๖ คณะ คือ คณะผู้บังคับการ คณะดุสิต คณะจิตรดา คณะพญาไท คณะจงรักภักดี คณะศักดิ์ศรีมงคล ส่วนคณะเด็กเล็กสำหรับนักเรียนชั้นประถม แบ่งออกเป็น ๓ คณะ คือ คณะสนามจันทร์ คณะนันทอุทยาน และ คณะสราญรมย์ นอกจากนี้ ทางโรงเรียนยังส่งเสริมให้นักเรียนได้เล่นกีฬาต่าง ๆ เช่น รักบี้ฟุตบอล แบดมินตัน นอกจากนี้ ยังมีการจัดการแข่งขันรักบี้ประเพณีกับมาเลย์ คอลเลจ (Malay College Kuala Kangsar) จากประเทศมาเลเซีย เป็นประจำทุก ๆ ปี ปัจจุบัน ดำเนินการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งอยู่ที่ ถนนราชวิถี แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวชิราวุธวิทยาลัย
วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร
วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ที่แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร
วัดบึงทองหลาง
วัดบึงทองหลาง เป็นวัดสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 1155 ถนนลาดพร้าว 101 วัดบึงทองหลาง แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร เป็นวัดที่มีอดีตเกจิคณาจารย์อย่างพระครูธรรมสมาจารย์ (พัก ธมฺมทตฺโต) ศิษย์สำนักวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร โดยสมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน) ในฐานะพระอุปัชฌาย์ และพระศรีสมโพธิ (แพ ติสสเทวมหาเถร ที่ต่อมาได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้ส่งพระภิกษุพัก ธมฺมทตฺโต ในขณะนั้น มาพัฒนา ปกครองดูแลวัดบึงทองหลางในอดีต และพระครูธรรมสมาจารย์ (พัก ธมฺมทตฺโต) ได้วางรากฐานและพัฒนาวัดบึงทองหลางให้มีความเจริญก้าวหน้า ดังเช่นปัจจุบัน.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดบึงทองหลาง
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี ตั้งอยู่บนถนนสีลม วัดพระศรีมหาอุมาเทวี หรือ วัดแขกสีลม เป็นโบสถ์พราหมณ์ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ถวายการบูชาพระศรีมหาอุมาเทวีซึ่งเป็นพระชายาของพระศิวะ โดยมีพระแม่มารีอัมมันหรือพระแม่อุมาเทวีที่คนไทยรู้จักเป็นประธานของวั.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดพระศรีมหาอุมาเทวี
วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร
วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นสำนักสงฆ์เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2484 และเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหารเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร
วัดมหาพฤฒารามวรวิหาร
วัดมหาพฤฒาราม วรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่บน ถนนมหาพฤฒาราม แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดมหาพฤฒารามวรวิหาร
วัดมัชฌันติการาม
วัดมัชฌันติการาม หรือ วัดน้อย เป็นวัดราษฎร์ เจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4 ผู้ที่ให้การอุปถัมภ์วัด เริ่มต้นนั้นไม่ทราบแน่ชัดว่าสร้างในสมัยใด มีผู้สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เจ้าจอมมารดาเที่ยง พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เข้ามาอุปถัมภ์ในปี..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดมัชฌันติการาม
วัดยานนาวา
วัดยานนาวา พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ติดถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร เป็นวัดโบราณมีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อ "วัดคอกควาย" เนื่องจากมีชาวทวายมาลงหลักปักฐานอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก และชาวทวายจะนำกระบือที่เลี้ยงไว้มาทำการซื้อขายแลกเปลี่ยนกัน หมู่บ้านบริเวณนั้นจึงได้ชื่อเรียกกันต่อมาว่า "บ้านคอกควาย" ในสมัยกรุงธนบุรีได้รับการยกฐานะวัดคอกควายขึ้นเป็นพระอารามหลวง เรียกชื่อใหม่ว่า "วัดคอกกระบือ" ต่อมารัชกาลที่ 1 ทรงสร้างพระอุโบสถใหม่ ครั้นถึงรัชกาลที่ 3 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์และสร้างเรือสำเภาพระเจดีย์แทนพระสถูปเจดีย์ทั่วไป เพื่อให้คนรุ่นหลังได้เห็นรูปแบบเรือสำเภาซึ่งกำลังจะหมดไปจากเมืองไทย จึงได้เปลี่ยนชื่อจากวัดคอกกระบือเป็น "วัดยานนาวา" ด้านในมีพระบรมสารีริกธาตุพระพุทธเจ้าให้สักการ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดยานนาวา
วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร
วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร หรือ วัดราชาธิวาสวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ผูกพัทธสีมาเมื่อ..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร
วัดราชผาติการามวรวิหาร
วัดราชผาติการามวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 147 ถนนราชวิถี แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดราชผาติการามวรวิหาร
วัดดอกไม้ ยานนาวา
วัดดอกไม้ ยานนาวา ตั้งอยู่ที่ ถนนพระรามที่ 3 สามารถเข้าจากซอย สาธุประดิษฐ์58 หรือจะเข้าทางซอยสาธุประดิษฐ์34ก็ได้ ภายในมีโรงเรียนประถมชื่อ โรงเรียนวัดดอกไม้ เป็นโรงเรียนในสังกัดของกรุงเทพมหานคร และศูนย์อนามัยชุมชนวัดดอกไม้ก็ตั้งอยู่ที่เดียวกัน มีสนามบาส สนามตะกร้อห่วง และโต๊ะเทเบิ้ลเทนนิส ไว้ให้บริการ วัดดอกไม้นี้มีบริเวณว่างพอสมควร ทุกวันพุธจะมีตลาดนัดขายของสดกันในบริเวณวัดมาช้านาน มีทั้งของสดพวกเนื้อสัตว์ อาหารทะเล ผักสด อาหารแห้งพวกปลาหมึก กุ้งแห้ง ปลาเค็ม รวมไปถึงสิ่งของเครื่องใช้สบู่ ยาสระผม ผงซักฟอก เครื่องครัว ถ้วยชามต่างๆ เสื้อผ้า รองเท้าก็มีเป็นแบบของพื้นๆ ไม่มีแบรนด์ ในอดีตพบว่ามีขายลูกเจี๊ยบสีต่างๆด้วย บริเวณรอบวัดเป็นชุมชนที่คนอยู่กันอย่างแออัด สมัยก่อนนานมากแล้วจะมีปัญหาเรื่องยาเสพติด แต่สมัยนี้ลดลงไปอย่างมาก และยังเคยมีเรื่องราวเล่าเกี่ยวกับสิ่งที่มองไม่เห็นว่าเคยมีในแถบนี้ด้วยเมื่อนานมาแล้ว แต่ปัจจุบันก็ไม่มีอะไร แต่ก็ไม่ดีนักถ้าจะเดินผ่านบริเวณนี้จากในซอย 58 ในตอนกลางคืนคนเดียวเนื่องจากยังเป็นที่เปลี่ยวและมืด น่ากลัวอยู่ แม้จะมีป้อมตำรวจบางโพงพางอยู่ติดกันก็ตาม ในบริเวณนี้ยังเป็นต้นสายของรถสองแถว สายที่วิ่งจาก วัดดอกไม้ ไป บางรักอีกด้วย นับเป็นสายรถสองแถวที่จอดแช่เพื่อคอยผู้โดยสารให้ขึ้นมาเต็มคันรถนานและบ่อยที่สุดในบรรดาสองแถวทุกสายในกรุงเทพมหานคร อัตราค่าบริการเมื่อก่อน 2 บาท ต่อมาเก็บ 3 บาท ต่อมา 5 บาท ปัจจุบัน 5.50 บาท วัดนี้เดิมไม่มีเมรุ แต่เพิ่งสร้างเสร็จราวปี..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดดอกไม้ ยานนาวา
วัดคอนเซ็ปชัญ
วัดคอนเซ็ปชัญ หรืออ่านออกเสียงว่า วัดคอนเซ็ปชั่น (Conception Church) เป็นโบสถ์คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ในซอยสามเสน 11 ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร วัดคอนเซ็ปชัญประกอบด้วย ตัวอาคารหลังเดิม ซึ่งเป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ทรงหลังคาจั่วแบบไทย เป็นอาคารที่เก่าแก่ที่สุดคาดว่าก่อสร้างขึ้นตั้งแต่ช่วงสมัยอยุธยาตอนปลาย ปัจจุบันได้ปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์ และส่วนของตัวโบสถ์คอนเซ็ปชัญซึ่งสร้างขึ้นโดยบาทหลวงฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว ชาวฝรั่งเศส ที่ได้เดินทางมาเป็นเจ้าอาวาส โดยได้ทำการเสกในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดคอนเซ็ปชัญ
วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร
วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ที่ ถนนพระรามที่ 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีจุดเด่นคือเป็นวัดกลางเมือง ตั้งอยู่ระหว่างศูนย์การค้าสยามพารากอนและห้างเซ็นทรัลเวิลด์ วัดสถาปนาขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดปทุมวนารามราชวรวิหาร
วัดโพธิ์แมนคุณาราม
ทางเข้าวัดโพธิ์แมนคุนาราม ภาพจากดาวเทียม วัดโพธิ์แมนคุณาราม (โพวมึ้งป่ออึงยี่) (普門報恩寺) เป็นวัดฝ่ายมหายานและเซน สังกัดคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย สืบทอดหลักธรรมคำสอนมาจากนิกายเซน สาขาหลินฉี (วิปัสสนา) และเป็นเป็นศูนย์กลางหลักธรรมคำสอนของนิกายวินัย และนิกายมนตรยานของศาสนาพุทธแบบทิเบต และเป็นศูนย์กลางการปกครองคณะสงฆ์จีนนิกายแห่งประเทศไทย และศูนย์กลางการเผยแผ่หลักธรรมคำสอนของศาสนาพุทธนิกายมหายานและวัชรยานอีกทั้งเป็นแหล่งข้อมูลพุทธศาสนาฝ่ายมหายานของประเทศไท.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดโพธิ์แมนคุณาราม
วัดไผ่เงินโชตนาราม
วัดไผ่เงินโชตนาราม ตั้งอยู่ที่ 882 ซอยวัดไผ่เงิน ถนนจันทน์ แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดไผ่เงินโชตนาราม
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด เดิมชื่อ วัดแหลม หรือ วัดไทรทอง ภายหลังได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร ซึ่งหมายถึง วัดของเจ้านาย ๕ พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างสวนดุสิตขึ้นพระองค์ทรงทำผาติกรรมสถาปนาวัดขึ้นใหม่และพระราชทานามว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ ๕.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร
วังลดาวัลย์
วังลดาวัลย์ ตั้งอยู่ติดถนน 3 ด้าน คือ ถนนประชาธิปไตย ถนนลูกหลวงและถนนราชสีมา ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ดีเด่น ปี..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังลดาวัลย์
วังวาริชเวสม์
วังวาริชเวสม์ วังวาริชเวสม์ ตั้งอยู่ที่ซอยสุโขทัย 6 ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2476 (1 ปี ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง) เพื่อเป็นที่ประทับของพระองค์เจ้าวาปีบุษบากร พระธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโดยมีพระสาโรชรัตนนิมมานก์ สถาปนิกไทยรุ่นบุกเบิกที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศเป็นผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง ปัจจุบัน วังวาริชเวสม์ เป็นอาคารอนุรักษ์ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และครอบครองการใช้ประโยชน์โดยบริษัทแม็ทชิ่ง สตูดิโอ จำกัด (มหาชน).
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังวาริชเวสม์
วังวิทยุ
กรมพระยาชัยนาทนเรนทร หม่อมเอลิซาเบท และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ที่วังถนนวิทยุเมื่อ พ.ศ. 2493 วังวิทยุ หรือ วังสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เป็นวังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร กับหม่อมเอลิซาเบท รังสิต ณ อยุธยา ตั้งอยู่ริมถนนวิทยุ ตรงข้ามกับปากซอยร่วมฤดี 3 หลังจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร สิ้นพระชนม์เมื่อ..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังวิทยุ
วังศุโขทัย
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี วังศุโขทัย ตั้งอยู่มุมถนนขาวและถนนสามเสน เป็นวังที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา ในครั้งนั้นสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง ในรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างวังศุโขทัยพระราชทานเป็นของขวัญในการอภิเษกสมรสของกรมขุนสุโขทัยธรรมราชากับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี สวัสดิวัตน์ เมื่อปี..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังศุโขทัย
วังสระปทุม
วังสระปทุม ตั้งอยู่บริเวณถนนพระรามที่ 1 และถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานที่ดินให้เป็นที่สร้างวังของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระองค์ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า แต่ยังมิได้มีการสร้างวังขึ้น ณ ขณะนั้น เนื่องจากสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนสงขลานครินทร์ได้เสด็จไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ หลังจากการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าได้เสด็จออกมาประทับนอกพระบรมมหาราชวัง ทรงเริ่มสร้างพระตำหนักขึ้น ณ วังสระปทุม และเสด็จประทับเป็นการถาวรตลอดพระชนม์ชีพพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ และครอบครัว ปัจจุบัน วังสระปทุมเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นอกจากนี้ วังสระปทุมยังใช้เป็นสถานที่จัดงานอภิเษกสมรสระหว่างสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี รวมทั้ง ยังเป็นสถานที่จัดพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสระหว่างพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถอีกด้ว.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังสระปทุม
วังสวนกุหลาบ
ระตำหนักวังสวนกุหลาบ วังสวนกุหลาบ เป็นวังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา ตั้งอยู่ที่มุมถนนราชสีมากับถนนศรีอยุธยา โดยทางด้านทิศเหนือติดกับถนนอู่ทองนอก และทิศตะวันออกติดกับสวนอัมพร ซึ่งอาณาเขตดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของพระราชวังดุสิต ตามเดิมพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำริที่จะสร้างวังสมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมหลวงนครราชสีมา ที่วังริมแม่น้ำเจ้าพระยาตอนใต้ปากคลอง(ตลาด) คูเมืองเดิม ครั้งเสด็จฯกลับมาจากทรงศึกษาในประเทศอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์จะให้ทรงศึกษาราชการอยู่ใกล้พระองค์ จึงได้โปรดเกล้าฯให้สร้างตำหนักชั่วคราวที่สวนดุสิต ตรงริมถนนใบพร พระราชทานนามว่า "สวนกุหลาบ" สมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมหลวงนครราชสีมา จึงเสด็จประทับอยู่ตลอดรัชกาลที่ 5 ในสมัยรัชกาลที่ 6 โปรดเกล้าฯ ให้ขยายเขตที่วังสวนกุหลาบออกไปให้กว้างขวางกว่าเก่า สร้างพระตำหนักและท้องพระโรงพระราชทานเป็นอาคารถาวร สมเด็จเจ้าฟ้าฯกรมหลวงนครราชสีมาได้ประทับอยู่จนเสด็จทิวงคตในปีพุทธศักราช 2467 วังสวนกุหลาบสร้างตามแบบสถาปัตยากรรมของยุโรป ตัวอาคารมี 2 ชั้น ก่ออิฐถือปูน ทาสีเหลืองอ่อน หลังคามุงกระเบื้องสีแดง ภายในตกแต่งอย่างงดงาม ที่วังนี้เคยเป็นที่ทำการของรัฐบาล ในสมัยจอมพล ป.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังสวนกุหลาบ
วังสวนปาริจฉัตก์
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ภรณ์ แก่ เจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลที่ 5 ณ สวนปาริจฉัตก์ วังสวนปาริจฉัตก์ เดิมเป็นวังของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรประพันธ์รำไพ, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอดิศัยสุริยาภา และเจ้าจอมมารดาอ่อน ตั้งอยู่ที่ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร วังสวนปาริจฉัตก์.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังสวนปาริจฉัตก์
วังจันทรเกษม
้านหน้าของวังจันทรเกษม (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของกระทรวงศึกษาธิการ) อาคารราชวัลลภ ภายในวังจันทรเกษม วังจันทรเกษม ตั้งอยู่บนถนนราชดำเนิน ใกล้สะพานมัฆวานรังสรรค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชทานแก่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร (รัชกาลที่ 6) โดยเริ่มก่อสร้างฐานรากเมื่อ พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังจันทรเกษม
วังปารุสกวัน
ตำหนักปารุสก์ ตำหนักสวนจิตรลดา ตำหนักจิตรลดาในวังปารุสกวัน วังปารุสกวัน หรือย่อว่า วังปารุสก์ ตั้งอยู่หัวมุมถนนพิษณุโลก ตัดกับถนนราชดำเนินนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นวังที่ประทับของจอมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พระราชโอรสในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสที่ทรงสำเร็จการศึกษาวิชาการทหาร จากประเทศรัสเซีย เมื่อ พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังปารุสกวัน
วังนางเลิ้ง
รือนหมอพร วังนางเลิ้ง พระอนุสาวรีย์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ วังนางเลิ้ง เป็นวังที่ประทับของพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ตั้งอยู่ริมถนนลูกหลวง ใกล้ปากคลองเปรมประชากรด้านทิศใต้ สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประทับอยู่ที่นี่จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังนางเลิ้ง
ศุลกสถาน
ลกสถาน เป็นอาคารที่ทำการของศุลกสถาน (กรมศุลกากรในปัจจุบัน) ตั้งอยู่บนพื้นที่ประมาณ 4 ไร่ ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ของเขตบางรัก สร้างขึ้นระหว่างปี..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และศุลกสถาน
สวนลุมพินี
วนลุมพินี หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า สวนลุม เป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และสวนลุมพินี
สะพานชมัยมรุเชฐ
นชมัยมรุเชฐ สะพานชมัยมรุเชฐ เป็นสะพานข้ามคลองเปรมประชากร อยู่บนถนนพิษณุโลกบริเวณแยกพาณิชยการจุดจัดกับถนนพระรามที่ 5 แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าทำเนียบรัฐบาล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โรงเรียนราชวินิต มัธยม และใกล้เคียงกับวัดเบญจมบพิตร สะพานแห่งนี้สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และสะพานชมัยมรุเชฐ
สะพานพระราม 6
นขนานสะพานพระราม 6 สะพานพระราม 6 (Rama VI Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเชื่อมระหว่างแขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กับแขวงบางอ้อ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และสะพานพระราม 6
สะพานกรุงธน
นกรุงธน (Krung Thon Bridge) หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า สะพานซังฮี้ เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่บริเวณถนนราชวิถี เชื่อมระหว่างแขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กับแขวงบางพลัดและแขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของกรมทางหลวงชนบท.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และสะพานกรุงธน
สะพานเฉลิมหล้า 56
นเฉลิมหล้า 56 หรือ สะพานหัวช้าง ในยุครัชกาลที่ 5 ภาพในปัจจุบัน สะพานเฉลิมหล้า 56 หรือ สะพานหัวช้าง เป็นสะพานในชุดเฉลิม สะพานที่ 15 สร้างข้ามคลองบางกะปิหรือคลองแสนแสบ ที่ถนนพญาไท เพื่อเชื่อมทางระหว่างพระนครให้ต่อกันทั้งตอนเหนือและตอนใต้ คู่กับสะพานเฉลิมโลก 55 สะพานนี้อยู่ติดกับวังสระปทุม สะพานเฉลิมหล้า 56 เป็นสะพานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาปีที่ 56 มีลักษณะเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก คานเป็นคอนกรีตรูปโค้ง มีรายละเอียดงดงามมาก หัวสะพานทั้งสี่มุม มีรูปประดับเป็นช้าง 4 ด้าน ลูกกรงหล่อแบบลูกมะหวดฝรั่ง กลางสะพานมีพระปรมาภิไธยย่อ จปร.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และสะพานเฉลิมหล้า 56
สถานีรถไฟกรุงเทพ
นอกสถานีรถไฟกรุงเทพ ภายในสถานีรถไฟกรุงเทพ สถานีรถไฟกรุงเทพ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สถานีรถไฟหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย และเป็นสถานีที่เก่าแก่ที่สุด สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และสถานีรถไฟกรุงเทพ
สถานีรถไฟจิตรลดา
นีรถไฟจิตรลดา หรือ สถานีรถไฟหลวงสวนจิตรลดา เป็นสถานีที่สร้างขึ้น สำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ เมื่อมีการเสด็จฯ ทางรถไฟ อีกทั้งได้เคยใช้เป็นสถานที่ต้อนรับพระราชอาคันตุกะในบางโอกาส ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ถนนสวรรคโลก แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ทางฝั่งซ้ายของทางรถไฟ โดยอาคารหลังปัจจุบันนี้ สร้างขึ้นเมื่อ..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และสถานีรถไฟจิตรลดา
สถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย
นเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย สถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย (British Embassy Bangkok) เป็นสถานเอกอัครราชทูตของสหราชอาณาจักรในประเทศไทยตั้งอยู่ ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และสถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรประจำประเทศไทย
หมู่กุฏิขนมปังขิงที่วัดสวนพลู
หมู่กุฏิขนมปังขิงที่วัดสวนพลู หมู่กุฏิขนมปังขิงที่วัดสวนพลู หมู่กุฏิวัดสวนพลู ตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุง ใกล้กับโรงแรมแชงกรีล.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และหมู่กุฏิขนมปังขิงที่วัดสวนพลู
หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า หอประชุมจุฬาฯ เป็นหอประชุมใหญ่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความเป็นมาคู่กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาอย่างยาวนาน อีกทั้งยังมีเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์เกิดขึ้นที่อาคารแห่งนี้หลายเหตุการณ์ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร หอประชุมจุฬาฯ เป็นสิ่งปลูกสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของภูมิทัศน์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้เกิดการปรับภูมิทัศน์โดยรอบ เช่น การขุดสระน้ำด้านหน้าประตูใหญ่ ตัดถนนรอบสนามรักบี้และสร้างลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า จนกระทั่งในปี พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ห้องสมุดนีลเซนเฮส์
ห้องสมุดนีลเซนเฮส์ ห้องสมุดนีลเซนเฮส์ (Neilson Hays Library) จดทะเบียนขึ้นเป็นสมาคมห้องสมุด เมื่อวันที่ 25 มกราคม..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และห้องสมุดนีลเซนเฮส์
อาสนวิหารอัสสัมชัญ
อาสนวิหารอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ หรือโบสถ์อัสสัมชัญ (Assumption Cathedral) เป็นอาสนวิหารประจำมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ และ 3 โรงเรียนได้แก่ โรงเรียนอัสสัมชัญ โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ และโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา ตั้งอยู่ที่เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร วิหารสร้างขึ้นครั้งแรกในรูปแบบทรงไทยโดยบาทหลวงปาสกัล ซึ่งเป็นชาวไทย-โปรตุเกส โบสถ์หลังปัจจุบันนี้ถูกสร้างขึ้นใหม่ในปี พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และอาสนวิหารอัสสัมชัญ
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เป็นอนุสาวรีย์ในกรุงเทพมหานคร โดยรอบเป็นวงเวียนอยู่กึ่งกลางระหว่างถนนพหลโยธิน ถนนราชวิถี และถนนพญาไท ตั้งอยู่ที่กิโลเมตรที่ 5.0 ถนนพหลโยธิน โดยที่ กม.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ
อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่ ณ วงเวียนหลักสี่ จุดตัดระหว่างถนนพหลโยธินกับถนนแจ้งวัฒนะและถนนรามอินทรา ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญจัดสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองการปราบกบฏบวรเดช โดยมีการบรรจุอัฐิทหารและตำรวจที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ดังกล่าวไว้ภายในรวม 17 นาย จึงมีชื่อเรียกอื่นๆ ได้แก่ อนุสาวรีย์ปราบกบฏ อนุสาวรีย์ 17 ทหารและตำรวจ อนุสาวรีย์หลักสี่ หรืออนุสาวรีย์หลวงอำนวยสงคราม มีการปรับปรุงพื้นที่บริเวณโดยรอบอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญอยู่หลายครั้งโดยกรมทางหลวง เพื่อลดปัญหาการจราจรติดขัดโดยรอบอนุสาวรีย์ อาทิ การปรับภูมิทัศน์เป็นสี่แยกและการขุดอุโมงค์ลอดอนุสาวรีย์ และการก่อสร้างสะพานลอยด้านข้างอนุสาวรีย์เพื่อเชื่อมต่อถนนแจ้งวัฒนะกับถนนรามอินทรา ปัจจุบันในบริเวณอนุสาวรีย์มีการก่อสร้างโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีเขียว ส่วนต่อขยายหมอชิต - คูคต และโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี (พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ
ทำเนียบรัฐบาลไทย
ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และทำเนียบรัฐบาลไทย
คลองประปา
ลองประปา เป็นคลองขุดขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยทรงเห็นว่าในขณะนั้นประชาชนทั่วไปยังคงใช้น้ำที่ไม่สะอาด โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง น้ำทะเลจะเข้าถึงแม่น้ำเจ้าพระยาได้ ดำเนินการโดยเจ้าพระยาเทเวศรวงศ์วิวัฒน์ ผู้บัญชาการกรมสุขาภิบาล ในระยะแรกได้กั้นแม่น้ำน้อย หรือคลองเชียงรากในปัจจุบันกักน้ำไว้ เรียกว่าคลองขัง แล้วขุดคลองจากแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณวัดสำแลที่น้ำทะเลขึ้นไปไม่ถึง เข้ามาที่คลองขัง จากนั้นจึงขุดคลองอ้อมไปออกคลองบ้านพร้าวให้เรือสัญจรได้ ขุดคลองบางหลวงหัวป่า และคลองบางสิงห์ ไปเชื่อมกับคลองระพีพัฒน์และคลองเปรมประชากร รับน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยามาที่คลองขัง คลองขังมีความยาวยาว 8 กิโลเมตร กว้าง 60–100 เมตร ลึกตั้งแต่ 2–6 เมตร ใช้ผลิตน้ำประปาในตอนเริ่มแรก ในระยะต่อมาได้ขุดคลองประปาจากตำบลบางพูนมายังโรงกรองสามเสน มีเขื่อนกั้นจากสามเสนถึงโรงกรองน้ำบางเขน ปลายคลองประตูน้ำกั้นไม่ให้น้ำที่ไม่สะอาดไหลเข้าคลองได้ และเวลาน้ำในคลองสามเสนลดลงประตูน้ำจะเปิดให้น้ำไหลลงคลองสามเสน ตลอดแนวคลองประปามีที่ทำการเจ้าหน้าที่รักษาคลอง 7 แห่ง ที่ตำบลสำแล เชียงราก รังสิต สีกัน บางเขน บางซื่อ และสามเสน เพื่อรักษาคลอง ขุดแล้วเสร็จในเดือนตุลาคม..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และคลองประปา
คลองแสนแสบ
รือด่วนในคลองแสนแสบ คลองแสนแสบ เป็นคลองที่ขุดขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) เพื่อเชื่อมแม่น้ำเจ้าพระยากับแม่น้ำบางปะกงเข้าด้วยกัน เมื่อปี พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และคลองแสนแสบ
คลองเปรมประชากร
ริ่มต้นคลองเปรมประชากรเชื่อมต่อกับคลองผดุงกรุงเกษม คลองเปรมประชากรที่ไหลผ่านบริเวณข้างทำเนียบรัฐบาล คลองเปรมประชากร (Khlong Prem Prachakon) หรือชื่อเดิมว่า คลองสวัสดิ์เปรมประชากร เป็นคลองขุดที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และคลองเปรมประชากร
ตำหนักสวนจิตรลดา
ตำหนักสวนจิตรลดา หัวมุมถนนราชดำเนินนอกตัดกับถนนศรีอยุธยา ตำหนักจิตรลดา เรือนรับรองด้านหลังวังปารุสกวัน ตำหนักจิตรลดาในวังปารุสกวัน Chitlada Mansion terrace ตำหนักสวนจิตรลดา เป็นตำหนักซึ่งเดิมเป็นของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ อยู่ใกล้กับวังปารุสกวัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้นครองราชย์ โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ขึ้นบริเวณทุ่งส้มป่อย และทรงย้ายไปประทับที่นั่น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานตำหนักสวนจิตรลดา แลกเปลี่ยนกับที่ดินบริเวณท่าวาสุกรี ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถแต่เมื่อวันที่ 2 สิงหาคมได้ทรงดำรัสสร้างหอขึ้นมาอีกแห่งอยู่ที่จังหวัด นนทบุรี ปัจจุบัน เมื่อกล่าวถึง ตำหนักสวนจิตรลดา มักสับสนกับ สวนจิตรลดา หรือ พระตำหนักสวนจิตรลดา ซึ่งหมายถึง พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และตำหนักสวนจิตรลดา
แยกกษัตริย์ศึก
แยกกษัตริย์ศึก (Kasat Suek Intersection) เป็นทางแยกหนึ่งในพื้นที่แขวงคลองมหานาคและแขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และแขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกที่เป็นจุดกันระหว่างถนนพระราม 1, ถนนกรุงเกษม และถนนบำรุงเมือง ชื่อทางแยกมาจาก "สะพานกษัตริย์ศึก" ซึ่งเป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่อยู่ตรงทางแยกฝั่งถนนพระราม 1 เดิมสะพานนี้มีชื่อที่เรียกกันว่า "สะพานยศเส" ซึ่งเป็นสะพานไม้ ต่อมาสะพานยศเสมีความชำรุด ในปี..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และแยกกษัตริย์ศึก
แยกอุภัยเจษฎุทิศ
แยกอุภัยเจษฎุทิศ เป็นทางแยกหนึ่งในพื้นที่แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกจุดตัดกันระหว่างถนนราชวิถี กับถนนสวรรคโลก โดยมีทางรถไฟสายเหนือ, สายตะวันออก และสายใต้ตัดผ่าน ชื่อ "อุภัยเจษฎุทิศ" มาจากชื่อของสะพานอุภัยเจษฎุทิศที่ตั้งอยู่บนถนนราชวิถี ซึ่งแต่เดิมเป็นสะพานข้ามทางรถไฟเชื่อมถนนซางฮี้ (ถนนราชวิถี) บริเวณพระราชวังดุสิต มีที่มาจากการที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้สร้างขึ้น เนื่องในวโรกาศที่สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ขณะทรงดำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ มีพระชนมายุครบ 18 พรรษา เท่ากับพระบรมเชษฐาสองพระองค์ คือ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ ซึ่งได้เสด็จสวรรคตไปก่อนหน้านั้นด้วยพระชนมายุ 18 พรรษา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมสุขาภิบาลสร้างสะพานแห่งนี้ขึ้นเพื่ออุทิศส่วนพระราชกุศล พระราชทานแก่เจ้าฟ้าทั้งสองพระองค์ และโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ เสด็จทรงเปิดสะพานเมื่อวันที่ 9 มกราคม..
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และแยกอุภัยเจษฎุทิศ
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
รงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นโรงพยาบาลสังกัดสภากาชาดไทย ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2457 ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นที่ตั้งและที่ดำเนินการเรียนการสอนให้กับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือเป็นโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์แห่งที่สองของประเทศไทย นอกจากนี้คณาจารย์สังกัดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยังปฏิบัติหน้าที่เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ด้ว.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพ
รงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพ (Mandarin Oriental, Bangkok) ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก โดยในอดีตมีชื่อว่า "โรงแรมโอเรียนเต็ล" โดยปัจจุบันบริหารงานโดย บริษัท OHTL จำกัด (มหาชน) (เดิมมีชื่อว่า บริษัท โรงแรมโอเรียนเต็ล (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)) เป็นโรงแรมที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชีย และเคยเป็นหนึ่งในโรงแรมที่ถือว่าดีที่สุดของโลก.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และโรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพ
เขตบางกะปิ
ตบางกะปิ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนใต้).
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตบางกะปิ
เขตบางรัก
ตบางรัก เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตลุมพินี ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตบางรัก
เขตบางคอแหลม
ตบางคอแหลม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตบางคอแหลม
เขตบางซื่อ
ตบางซื่อ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตบางซื่อ
เขตบางนา
ตบางนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นเขตชุมชนเมืองหนาแน่นปานกลางผสมกับชุมชนการเกษตร.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตบางนา
เขตบางเขน
ตบางเขน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตบางแ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตบางเขน
เขตบึงกุ่ม
ตบึงกุ่ม เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย โดยมีย่านการค้าหนาแน่นทางตอนกลางของพื้นที.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตบึงกุ่ม
เขตพญาไท
ตพญาไท เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตพญาไท
เขตมีนบุรี
ตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตมีนบุรี
เขตยานนาวา
ตยานนาวา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตยานนาวา
เขตราชเทวี
ตราชเทวี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตราชเทวี
เขตลาดกระบัง
ตลาดกระบัง เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร (รองจากเขตหนองจอก) อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีแหล่งชุมชนหนาแน่นทางทิศใต้และมีเขตนิคมอุตสาหกรรมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตลาดกระบัง
เขตสวนหลวง
ตสวนหลวง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตสวนหลวง
เขตสะพานสูง
ตสะพานสูง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตสะพานสูง
เขตสาทร
ตสาทร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตสาทร
เขตหนองจอก
ตหนองจอก เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นท้องทุ่งและเกษตรกรรม มีลำคลองไหลผ่านหล.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตหนองจอก
เขตห้วยขวาง
ตห้วยขวาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตห้วยขวาง
เขตจตุจักร
ตจตุจักร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตจตุจักร
เขตดอนเมือง
ตดอนเมือง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย โดยมีแหล่งสถาบันราชการอยู่ทางด้านตะวันออกของพื้นที.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตดอนเมือง
เขตดุสิต
ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตดุสิต
เขตคลองสามวา
ตคลองสามวา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีคลองสามวาผ่านกลางพื้นที่และมีคลองซอยเชื่อมระหว่างคลองหลักเป็นก้างปลา ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพกสิกรรม ปัจจุบันเขตคลองสามวาเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 2 รองจากเขตสายไหม.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตคลองสามวา
เขตคลองเตย
ตลาดคลองเตย เขตคลองเตย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตเจ้าพระยา ซึ่งถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตคลองเตย
เขตปทุมวัน
ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.
ดู รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตปทุมวัน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร/ฝั่งพระนครรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานครที่ขึ้นทะเบียนโดยกรมศิลปากร/ฝั่งพระนคร