สารบัญ
14 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2457พระบรมมหาราชวังรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานครฤดูฝนวังท่าพระสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์หม่อมเจ้าเจริญใจ จิตรพงศ์หลังคาถนนพระรามที่ 4เรือนไทย28 เมษายน29 เมษายน
- พิพิธภัณฑ์ในกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2457
ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและพ.ศ. 2457
พระบรมมหาราชวัง
ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ.
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและพระบรมมหาราชวัง
รายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร
ตัดกันระหว่างคลองบางน้อย กับคลองบางกอกใหญ่ ในพื้นที่แขวงบางเชือกหนัง เขตตลิ่งชัน คลองในกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,161 คลอง และคูลำกระโดง จำนวน 521 คู รวมเป็น 1,682 คูคลอง ความยาว 2,604 กม.
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและรายชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร
ฤดูฝน
พายุฤดูฝนในเมืองดาร์วิน ประเทศออสเตรเลีย ฤดูฝน (อังกฤษ: Rainy Season) เป็นฤดูกาลที่มีฝนตกตลอดทั้งเดือน ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนตุลาคมของ ประเทศไทย และจะเกิดมากที่สุดในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และฤดูฝนยังทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและยังช่วยขจัดสิ่งสกปรกและฝุ่นละอองภายในอากาศด้วย ฝนนั้นเกิดจากการควบแน่น ของก๊าซและกลายเป็นของเหลวตกลงมาซึ่งฤดูฝนมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในโลกเป็นอย่างมาก และยังช่วยเพิ่มปริมาณน้ำให้มากขึ้นอีกด้วย ฝน หมวดหมู่:ฝน.
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและฤดูฝน
วังท่าพระ
วังท่าพระ หรือ วังล่าง ตั้งอยู่ข้างพระบรมมหาราชวัง ริมถนนหน้าพระลานทางด้านทิศตะวันตก ใกล้ท่าช้างวังหลวง แต่เดิมวังท่าพระนั้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระศรีศากยมุนี จากพระวิหารหลวงวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย มาประดิษฐานไว้ ณ วัดสุทัศนเทพวราราม เมื่อพระพุทธรูปมาถึงประตูท่าช้าง ปรากฏว่าอัญเชิญเข้ามาไม่ได้เนื่องจากองค์พระนั้นมีขนาดใหญ่เกินกว่าจะนำผ่านเข้ามาได้ จึงจำเป็นต้องรื้อทั้งประตูถอนทั้งกำแพงออก จึงได้เรียกขานอดีตท่าเรือนี้แทนว่าท่าพระ วังที่อยู่ใกล้กันนั้นจึงเรียกตามว่า "วังท่าพระ".
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและวังท่าพระ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ.
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
หม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์
หม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ (3 ธันวาคม พ.ศ. 2457 - 26 มีนาคม พ.ศ. 2537) เป็นพระโอรสลำดับที่ 8 ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ลำดับที่ 4 อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ มีพระเชษฐภคินี พระเชษฐา และพระขนิษฐาร่วมพระมารดา 4 พระองค์ คือ.
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและหม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์
หม่อมเจ้าเจริญใจ จิตรพงศ์
หม่อมเจ้าเจริญใจ จิตรพงศ์ เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ อันประสูติแต่ หม่อมมาลัย เศวตามร์ ประสูติเมื่อ พ.ศ.
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและหม่อมเจ้าเจริญใจ จิตรพงศ์
หลังคา
หลังคา (Roof) เป็นส่วนประกอบด้านบนของบ้านหรืออาคาร เพื่อกันแดดกันฝน มีรูปทรง สีสัน วัสดุที่ใช้แตกต่างออกไป ตามความนิยมและวัฒนธรรม.
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและหลังคา
ถนนพระรามที่ 4
นนพระรามที่ 4 ช่วงสวนลุมพินี ถนนพระรามที่ 4 (Thanon Rama IV) เป็นถนนในกรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ทางแยกหมอมี (แยกจากถนนเจริญกรุง) ข้ามคลองผดุงกรุงเกษมที่สะพานเจริญสวัสดิ์ ผ่านสถานีหัวลำโพง สามย่าน ไปบรรจบถนนสุขุมวิท.
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและถนนพระรามที่ 4
เรือนไทย
รือนไทย แสงอรุณ สยามสมาคม กรุงเทพ เรือนไทยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นเรือนเครื่องสับภาคกลางผสมกับการตกแต่งด้วยเครื่องลำยอง เรือนไทย คือบ้านทรงไทย ที่แต่เดิมที่นิยมใช้วัสดุจำพวกไม้ ไปจนถึงเครื่องก่ออิฐถือปูน โดยมีลักษณะร่วมที่เหมือนหรือแตกต่างกันไปตามแต่ละภาค ได้แก่ เรือนไทยภาคเหนือ เรือนไทยภาคกลาง เรือนไทยภาคอีสาน และ เรือนไทยภาคใต้ ซึ่งล้วนสอดคล้องกับการดำรงชีวิตของคนไทยในสมัยก่อนและแสดงออกถึงภูมิปัญญาไทย ทั้งนี้องค์ประกอบที่มีผลต่อรูปแบบเรือนไทยมีทั้งเรื่องสภาพแวดล้อม ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ อาชีพ ฐานะความเป็นอยู่ คติความเชื่อและศาสนาในแต่ละภูม.
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและเรือนไทย
28 เมษายน
วันที่ 28 เมษายน เป็นวันที่ 118 ของปี (วันที่ 119 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 247 วันในปีนั้น.
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและ28 เมษายน
29 เมษายน
วันที่ 29 เมษายน เป็นวันที่ 119 ของปี (วันที่ 120 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 246 วันในปีนั้น.
ดู พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนินและ29 เมษายน
ดูเพิ่มเติม
พิพิธภัณฑ์ในกรุงเทพมหานคร
- บ้านซอยสวนพลู
- พระที่นั่งวิมานเมฆ
- พระที่นั่งอนันตสมาคม
- พระที่นั่งอภิเศกดุสิต
- พระราชวังพญาไท
- พระราชวังสราญรมย์
- พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- พิพิธภัณฑสถานเครื่องถ้วยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี
- พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก
- พิพิธภัณฑ์ตำหนักปลายเนิน
- พิพิธภัณฑ์ธงชาติไทย
- พิพิธภัณฑ์ธนาคารไทย
- พิพิธภัณฑ์บ้านจิม ทอมป์สัน
- พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ
- มิวเซียมสยาม
- วังวรดิศ
- วังสวนผักกาด
- วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร
- ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์
- ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
- หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
- หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
- ไปรษณียาคาร
หรือที่รู้จักกันในชื่อ วังคลองเตยบ้านปลายเนินพิพิธภัณฑ์ ตำหนักปลายเนินตำหนักปลายเนิน