เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังปารุสกวัน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังปารุสกวัน

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร) vs. วังปารุสกวัน

ราณสถานที่มีรายชื่อในหน้านี้ตั้งอยู่ในพื้นที่สีม่วงอ่อนบนแผนที. ตำหนักปารุสก์ ตำหนักสวนจิตรลดา ตำหนักจิตรลดาในวังปารุสกวัน วังปารุสกวัน หรือย่อว่า วังปารุสก์ ตั้งอยู่หัวมุมถนนพิษณุโลก ตัดกับถนนราชดำเนินนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นวังที่ประทับของจอมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พระราชโอรสในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสที่ทรงสำเร็จการศึกษาวิชาการทหาร จากประเทศรัสเซีย เมื่อ พ.ศ. 2449 ปัจจุบันใช้เป็นที่ทำการของสำนักข่าวกรองแห่งชาติ พิพิธภัณฑ์กรมตำรวจ และกองบัญชาการตำรวจนครบาล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังปารุสกวัน

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังปารุสกวัน มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระที่นั่งอนันตสมาคมกรุงเทพมหานครวังจันทรเกษมวังปารุสกวันตำหนักสวนจิตรลดาเขตดุสิต

พระที่นั่งอนันตสมาคม

ระที่นั่งอนันตสมาคม เป็นท้องพระโรงเดิมของพระราชวังดุสิต ชื่อของพระที่นั่งนี้ นำมาจากพระที่นั่งองค์หนึ่งในพระบรมมหาราชวัง พระที่นั่งอนันตสมาคมสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2451 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) แต่สร้างไม่ทันเสร็จพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็เสด็จสวรรคต จึงสร้างต่อแล้วเสร็จในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมใช้เวลาสร้างทั้งหมด 8 ปี พระที่นั่งอนันตสมาคม เป็นอาคารทรงยุโรปล้วน เป็นพระที่นั่งหินอ่อนเพียงองค์เดียวในประเทศไทยวลัญช์ สุภากร,, กรุงเทพธุรก.วันที่ 29 มิถุนายน 2558 ซึ่งก่อสร้างด้วยหินอ่อนสีขาวชั้นหนึ่งจากเมืองคาร์รารา ประเทศอิตาลี ได้รับการออกแบบโดยสถาปนิกชาวอิตาลีนามว่า มาริโอ ตามานโญ มีแรงบรรดาลใจมาจากโดม วิหารเซนต์ปีเตอร์ แห่งนครรัฐวาติกัน และโบสถ์เซนต์ปอลแห่งกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร งานก่อสร้างทั้งหมดมาจากแรงงานทั้งคนไทยและจีน ส่วนงานภายในที่มีการตกแต่งด้วยศิลปะเฟรสโก เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจที่สำคัญของพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลต่างๆ มาจากฝีมือช่างจากอิตาลีเป็นส่วนใหญ่ พระที่นั่งอนันตสมาคมมีจุดเด่นที่โดมใหญ่ตรงกลางซึ่งทำจากทองแดงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 15 เมตร และรวมไปถึงโดมย่อยอีก 6 โดม แต่เนื่องจากสนิมทำให้เปลี่ยนสีเป็นสีเขียวอมน้ำเงินในปัจจุบัน พระที่นั่งองค์นี้ยังจัดได้ว่า เป็นรัฐสภาแห่งแรกของประเทศไทย เนื่องจากในช่วงที่เพิ่งเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ได้ใช้พระที่นั่งองค์นี้ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ก่อนที่จะย้ายมาอยู่ ณ อาคารรัฐสภา ปัจจุบัน ซึ่งตั้งอยู่ข้างๆพระที่นั่งองค์นี้ พระที่นั่งอนันตสมาคม ยังเป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธี รัฐพิธี สำคัญๆ มากมาย อาทิ รัฐพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชพิธีสถาปนา สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ และการเสด็จออกมหาสมาคมของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอีก 4 ครั้ง.

พระที่นั่งอนันตสมาคมและรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร) · พระที่นั่งอนันตสมาคมและวังปารุสกวัน · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร) · กรุงเทพมหานครและวังปารุสกวัน · ดูเพิ่มเติม »

วังจันทรเกษม

้านหน้าของวังจันทรเกษม (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของกระทรวงศึกษาธิการ) อาคารราชวัลลภ ภายในวังจันทรเกษม วังจันทรเกษม ตั้งอยู่บนถนนราชดำเนิน ใกล้สะพานมัฆวานรังสรรค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชทานแก่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร (รัชกาลที่ 6) โดยเริ่มก่อสร้างฐานรากเมื่อ พ.ศ. 2453 แต่รัชกาลที่ 5 สวรรคตเสียก่อน ตัวตำหนักจึงไม่แล้วเสร็จ การก่อสร้างวังจันทรเกษมได้ดำเนินการก่อสร้างในสมัยรัชกาลที่ 6 ขึ้นครองราชย์แล้ว แต่มิได้มีลวดลายวิจิตรพิสดารดังเช่นวังเจ้าฟ้า ทั่ว ๆ ไป คงเนื่องจากไม่ได้ใช้เป็นที่ประทับของรัชกาลที่ 6 วังจันทรเกษม เปลี่ยนเป็น โรงเรียนกินนอนของเหล่านักเรียนในกรมมหรสพแทน จวบจนกระทั่งล่วงมาถึง รัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระองค์จึงพระราชทานวังนี้แก่ กระทรวงศึกษาธิการ หรือที่สมัยนั้น เรียกกันว่า กระทรวงธรรมการ แล้วจึงเปลี่ยนนามใหม่ว่า โรงเรียนการเรือนวังจันทรเกษม แต่แล้วเมื่อปี พ.ศ. 2483 โรงเรียนการเรือนฯ แห่งนี้ก็ได้ย้ายไปยังสวนสุนันทาแทน (ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต) ปัจจุบัน วังจันทรเกษมเป็นที่ทำการของหน่วยงานกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนตัวพระตำหนักเป็นที่ตั้งของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังจันทรเกษม · วังจันทรเกษมและวังปารุสกวัน · ดูเพิ่มเติม »

วังปารุสกวัน

ตำหนักปารุสก์ ตำหนักสวนจิตรลดา ตำหนักจิตรลดาในวังปารุสกวัน วังปารุสกวัน หรือย่อว่า วังปารุสก์ ตั้งอยู่หัวมุมถนนพิษณุโลก ตัดกับถนนราชดำเนินนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเป็นวังที่ประทับของจอมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พระราชโอรสในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสที่ทรงสำเร็จการศึกษาวิชาการทหาร จากประเทศรัสเซีย เมื่อ พ.ศ. 2449 ปัจจุบันใช้เป็นที่ทำการของสำนักข่าวกรองแห่งชาติ พิพิธภัณฑ์กรมตำรวจ และกองบัญชาการตำรวจนครบาล.

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังปารุสกวัน · วังปารุสกวันและวังปารุสกวัน · ดูเพิ่มเติม »

ตำหนักสวนจิตรลดา

ตำหนักสวนจิตรลดา หัวมุมถนนราชดำเนินนอกตัดกับถนนศรีอยุธยา ตำหนักจิตรลดา เรือนรับรองด้านหลังวังปารุสกวัน ตำหนักจิตรลดาในวังปารุสกวัน Chitlada Mansion terrace ตำหนักสวนจิตรลดา เป็นตำหนักซึ่งเดิมเป็นของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ อยู่ใกล้กับวังปารุสกวัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้นครองราชย์ โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ขึ้นบริเวณทุ่งส้มป่อย และทรงย้ายไปประทับที่นั่น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานตำหนักสวนจิตรลดา แลกเปลี่ยนกับที่ดินบริเวณท่าวาสุกรี ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถแต่เมื่อวันที่ 2 สิงหาคมได้ทรงดำรัสสร้างหอขึ้นมาอีกแห่งอยู่ที่จังหวัด นนทบุรี ปัจจุบัน เมื่อกล่าวถึง ตำหนักสวนจิตรลดา มักสับสนกับ สวนจิตรลดา หรือ พระตำหนักสวนจิตรลดา ซึ่งหมายถึง พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต.

ตำหนักสวนจิตรลดาและรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร) · ตำหนักสวนจิตรลดาและวังปารุสกวัน · ดูเพิ่มเติม »

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และเขตดุสิต · วังปารุสกวันและเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังปารุสกวัน

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร) มี 88 ความสัมพันธ์ขณะที่ วังปารุสกวัน มี 35 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 4.88% = 6 / (88 + 35)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)และวังปารุสกวัน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: