โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทางพิเศษฉลองรัช

ดัชนี ทางพิเศษฉลองรัช

ทางพิเศษฉลองรัช เป็นทางพิเศษในกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างและเปิดให้บริการตลอดสาย เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม..

30 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2552กรุงเทพมหานครการทางพิเศษแห่งประเทศไทยอำเภอแก่งคอยจังหวัดสระบุรีจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนครนายกถนนพระราม 9ถนนพัฒนาการถนนกาญจนาภิเษกถนนมิตรภาพถนนรังสิต-นครนายกถนนรามคำแหงถนนลาดพร้าวถนนสุขุมวิทถนนที่เก็บค่าผ่านทางถนนประชาอุทิศถนนประดิษฐ์มนูธรรมถนนนิมิตใหม่ทางพิเศษศรีรัชทางพิเศษสาย S1ทางพิเศษเฉลิมมหานครทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33ทางด่วนในประเทศไทยเขตบางกะปิเขตห้วยขวางเขตคลองสามวาเขตคลองเตย19 กรกฎาคม

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย

การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: กทพ.; EXAT) เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ก่อตั้งขึ้นตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะสร้าง หรือจัดให้มีทางพิเศษด้วยวิธีการใดๆ ตลอดจนบำรุงรักษาทางพิเศษและดำเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับทางพิเศษ โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและการทางพิเศษแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแก่งคอย

แก่งคอย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสระบุรี เดิมมีชื่อว่า "แร้งคอย" เนื่องจากเป็นปากทางเข้าสู่เขาใหญ่ มีผู้คนจำนวนมากล้มตายจากไข้ป่าจนมีนกแร้งมาเฝ้าคอยเพื่อกินศพเป็นจำนวนมาก เป็นอำเภอที่มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่อยู่เป็นจำนวนมาก เช่น โรงงานปูนซีเมนต์ โรงไฟฟ้า โรงงานเซรามิก เคมีภัณฑ์ เป็นต้น และยังเป็นชุมทางรถไฟที่สำคัญ ประกอบกับมีถนนมิตรภาพตัดผ่าน ทำให้มีโรงงานจำนวนมากและมีประชากรแฝงเข้ามาทำงานจำนวนมาก.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและอำเภอแก่งคอย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระบุรี

ังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของภาคกลาง นับเป็นเสมือนด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแหล่งท่องเที่ยวมากมายทั้งทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และยังเป็นเมืองที่มีความสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมลำดับต้น ๆ ของประเทศไทย สภาพภูมิศาสตร์ของจังหวัดสระบุรี นับว่าเป็นทำเลแห่งการเพาะปลูก ได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่น้ำสายหลัก คือแม่น้ำป่าสัก และสภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและจังหวัดสระบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครนายก

ังหวัดนครนายก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระราม 9

นนพระราม 9 ในเขตสวนหลวง ถนนพระราม 9 (Thanon Rama IX) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่ทางแยกพระราม 9 ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนรัชดาภิเษกและถนนอโศก-ดินแดงในพื้นที่เขตดินแดง มุ่งหน้าไปทางตะวันออก เข้าพื้นที่เขตห้วยขวาง ผ่านแยกถนนวัฒนธรรม ผ่านจุดตัดกับถนนประดิษฐ์มนูธรรม และตัดกับถนนรามคำแหงในพื้นที่เขตบางกะปิ ไปสิ้นสุดที่ทางแยกต่างระดับศรีนครินทร์ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนศรีนครินทร์ในพื้นที่เขตสวนหลวง โดยมีถนนมอเตอร์เวย์เป็นเส้นทางต่อเนื่อง ซึ่งถนนพระราม 9 ช่วงตั้งแต่ทางแยกรามคำแหงถึงทางแยกต่างระดับถนนศรีนครินทร์ เคยมีฐานะเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 343 ปัจจุบันอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร เหตุที่ถนนพระราม 9 ไม่มีคำว่า "ที่" ต่อท้ายนั้น ปรากฏชัดเจนจากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและปลัดกรุงเทพมหานครเมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและถนนพระราม 9 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพัฒนาการ

นนพัฒนาการ สำหรับถนนพัฒนาการในฝั่งธนบุรี ดูที่ ถนนเทอดไท ถนนพัฒนาการ (Thanon Phatthanakan) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร มีระยะทางประมาณ 10.3 กิโลเมตร เป็นถนนขนาด 6 ช่องทางจราจร เริ่มจากทางแยกคลองตัน ซึ่งมีถนนเพชรบุรี ถนนรามคำแหง และถนนสุขุมวิท 71 มาบรรจบกันในพื้นที่แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง มุ่งไปทางทิศตะวันออก ตัดกับทางพิเศษฉลองรัช และซอยพัฒนาการ 25 ข้ามคลองลาวเข้าพื้นที่แขวงพัฒนาการ ตัดกับถนนศรีนครินทร์ที่ทางแยกพัฒนาการ ข้ามคลองบึงเข้าพื้นที่แขวงประเวศ เขตประเวศ จากนั้นตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ข้ามคลองประเวศบุรีรมย์ ตัดกับถนนอ่อนนุชที่ทางแยกต่างระดับอ่อนนุช-พัฒนาการ ไปทางทิศเดิมจนกระทั่งบรรจบถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ในพื้นที่แขวงดอกไม้ โดยมีอุโมงค์กลับรถบริเวณซอยพัฒนาการ 44 ด้ว.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและถนนพัฒนาการ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกาญจนาภิเษก

นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและถนนกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมิตรภาพ

นนมิตรภาพ ซึ่งเป็นชื่อเรียกของ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 หรือ ทางหลวงสายสระบุรี–สะพานมิตรภาพที่หนองคาย (เขตแดนไทย/ลาว) เป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย โดยสายทางเริ่มต้นที่จังหวัดสระบุรี มุ่งเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และสิ้นสุดที่จังหวัดหนองคาย มีระยะทางทั้งสิ้น 509 กิโลเมตร และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 12 ถนนมิตรภาพเป็นทางหลวงที่ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในด้านงบประมาณการก่อสร้าง เทคนิควิชาการในการก่อสร้าง นับเป็นทางหลวงสายแรกที่ก่อสร้างถูกต้องตามแบบมาตรฐานการก่อสร้างทางหลวงทุกขั้นตอน และเป็นทางหลวงสายแรกของประเทศไทยที่มีผิวจราจรลาดยางแบบแอสฟอลต์คอนกรีต โดยเปิดให้บริการเมื่อปี..

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและถนนมิตรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนรังสิต-นครนายก

นนรังสิต-นครนายก ซึ่งมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 305 เป็นถนนแนวตะวันตก-ตะวันออก เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดปทุมธานีกับจังหวัดนครนายก เป็นถนนขนาด 4-8 ช่องทางจราจร ระยะทางตลอดทั้งสาย 74.811 กิโลเมตร โดยทางหลวงสายนี้ได้ช่วยเพิ่มความสะดวกในการเข้าสู่จังหวัดนครนายกและจังหวัดใกล้เคียงมากขึ้น โดยไม่ต้องใช้ถนนพหลโยธิน แล้วเข้าถนนสุวรรณศรที่ทางแยกต่างระดับหินกอง อำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี ทำให้สามารถช่วยร่นระยะทางให้สั้นกว่าประมาณ 30 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและถนนรังสิต-นครนายก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนรามคำแหง

นนรามคำแหง (Thanon Ramkhamhaeng) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ฝั่งตะวันออก มีความยาวรวมทั้งหมดประมาณ 18 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและถนนรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนลาดพร้าว

นนลาดพร้าว (Thanon Lat Phrao) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่ห้าแยกลาดพร้าว (หรือที่นิยมเรียกว่า "ปากทางลาดพร้าว") ในพื้นที่เขตจตุจักร ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนพหลโยธินและถนนวิภาวดีรังสิต มีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านจุดตัดกับถนนรัชดาภิเษก ผ่านพื้นที่เขตห้วยขวางในระยะสั้น ๆ เข้าพื้นที่เขตวังทองหลาง ผ่านแยกถนนโชคชัย 4 (ลาดพร้าว 53) ซอยลาดพร้าว 71 และถนนประดิษฐ์มนูธรรม เข้าพื้นที่ระหว่างเขตวังทองหลางกับเขตบางกะปิ ผ่านแยกถนนลาดพร้าว 101 (วัดบึงทองหลาง) เข้าพื้นที่เขตบางกะปิ ผ่านสามแยกบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนศรีนครินทร์ ไปสิ้นสุดที่สี่แยกบางกะปิตัดกับถนนนวมินทร์และถนนพ่วงศิริ โดยจากแยกนี้ไปจะเป็นถนนเสรีไทย ในปี..

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและถนนลาดพร้าว · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุขุมวิท

นนสุขุมวิท (Thanon Sukhumvit) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 สายบางนา–หาดเล็ก เป็นหนึ่งในทางหลวงแผ่นดินสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย จุดเริ่มต้นเชื่อมต่อจากถนนเพลินจิต เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีเส้นทางไปตามชายทะเลภาคตะวันออก และสิ้นสุดที่อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ติดต่อกับชายแดนจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา รวมระยะทางยาวทั้งสิ้นประมาณ 488 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและถนนสุขุมวิท · ดูเพิ่มเติม »

ถนนที่เก็บค่าผ่านทาง

นเก็บค่าผ่านทางสายเอสอาร์ 417 ใกล้กับเมืองออร์แลนโด, รัฐฟลอริดา ประเทศสหรัฐอเมริกา ด่านเก็บค่าผ่านทางในสหราชอาณาจักร ถนนที่เก็บค่าผ่านทาง (toll road) หรือ ทางเก็บค่าผ่าน (toll way) คือถนนที่สร้างโดยรัฐบาลหรือเอกชนซึ่งผู้ใช้เส้นทางจำเป็นจะต้องจ่ายค่าผ่านทางหรือค่าธรรมเนียม ค่าผ่านทางนี้ทำหน้าที่เปรียบเสมือนกับภาษีที่รัฐจัดเก็บมาจากผู้ใช้โดยนำไปก่อสร้างหรือทำนุบำรุงถนนที่เก็บค่าผ่านทาง ซึ่งไม่จำเป็นจะต้องขึ้นภาษีหรือนำภาษีของผู้ที่ไม่ได้ใช้ถนนที่เก็บค่าผ่านทางมาดำเนินงาน ในประวัติศาสตร์หรือแม้ในปัจจุบัน ถนนที่เก็บค่าผ่านทางบางแห่งเรียกเก็บค่าผ่านทางในรูปของภาษีเพื่อให้รัฐบาลท้องถิ่นหรือขุนนางใช้จ่าย นักลงทุนในพันธบัตรเองก็ลงทุนในรูปของค่าก่อสร้างและค่าบำรุงรักษาถนนที่เก็บค่าผ่านทาง โดยนักลงทุนคาดหวังว่าผลตอบแทนจะคืนแก่พวกเขาในรูปของรายได้จากค่าผ่านทาง หลังจากพันธบัตรถูกชำระคืนแก่นักลงทุนหมดแล้ว ทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องกับถนนที่เก็บค่าผ่านทางทั้งหมดก็ตกกลับไปเป็นของรัฐ โดยรัฐจะตั้งหน่วยงานขึ้นมารับผิดชอบดูแลทั้งโครงสร้างถนนที่เก็บค่าผ่านทางและที่ดินที่ถูกใช้สร้างถนนที่เก็บค่าผ่านทาง เช่นเดียวกับภาษีรูปแบบอื่นของรัฐบาล การจัดเก็บค่าผ่านทางจะยังคงดำเนินต่อไปแม้ว่ารัฐจะชำระพันธบัตรทั้งหมดคืนแก่นักลงทุนไปแล้ว ถนนที่เก็บค่าผ่านทางจะถูกจำกัดทางเข้าออกอย่างเป็นระบบเพื่อป้องกันผู้ที่ไม่ได้จ่ายค่าผ่านทางลักลอบใช้เส้นทาง บางครั้งการสร้างถนนที่เก็บค่าผ่านทางก็เพื่อจะอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ที่ต้องการจะเดินทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดที่ไกลกว่าได้รวดเร็วยิ่งขึ้น หรือบางครั้งก็เพื่อที่จะบรรเทาปัญหาการจราจรติดขัดและเพิ่มความรวดเร็วแก่ผู้เดินทางที่สามารถจะจ่ายค่าผ่านทางได้ ถนนที่เก็บค่าผ่านทางบางแห่งอาจมีเพียงแค่ช่องจราจรเดียวหรือหลายช่องตามการออกแบบ และผู้ใช้ถนนที่เก็บค่าผ่านทางจำเป็นจะต้องเสียค่าผ่านทางไม่วิธีใดก็วิธีหนึ่ง ซึ่งระบบถนนที่เก็บค่าผ่านทางนี้ไม่เคยอนุญาตให้ผู้ใช้ทางรายใดผ่านทางโดยไม่เสียค่าธรรมเนียมอย่างเด็ดขาด โดยปกติแล้ว ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างถนนที่เก็บค่าผ่านทางถูกจ่ายในรูปของภาษีมูลค่าเพิ่มจากเชื้อเพลิงสำหรับยานพาหนะ ในขณะที่ผู้ใช้ทางเองก็ยังต้องเสียค่าผ่านทางเป็นการเพิ่มเติมอีกด้วย ค่าธรรมเนียมหรือค่าผ่านทางโดยปกติจะแตกต่างกันไปตามรูปแบบของยานพาหนะ, น้ำหนัก หรือจำนวนเพลา ค่าธรรมเนียมเหล่านี้จะถูกเรียกเก็บด้วยมือจากแรงงานมนุษย์ ณ ด่านเก็บค่าผ่านทาง ด่านบางแห่งไม่ได้ใช้แรงงานมนุษย์ในการจัดเก็บ โดยจะเชื่อมโยงกับจำนวนเงินหรือแต้มของผู้ผ่านทางรายนั้น ซึ่งระบบจะอนุญาตให้เข้าใช้ทางได้หากเงินหรือแต้มของผู้ผ่านทางรายนั้นเพียงพอกับค่าผ่านทาง เพื่อลดต้นทุนและเวลาที่ใช้ ณ ด่านเก็บค่าผ่านทาง ระบบถนนที่เก็บค่าผ่านทางบางแห่งจึงใช้การเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติหรือการเก็บค่าผ่านทางด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะติดตั้งระบบสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ที่พาหนะของผู้ใช้ทางและที่ด่านเก็บค่าผ่านทาง อีกทั้งบางแห่งยังใช้ระบบจ่ายค่าธรรมเนียมก่อนใช้ทางที่เรียกเก็บจากบัตรเครดิตที่ร่วมรายการ บางแห่งใช้การติดตั้งระบบกล้องวงจรปิดเพื่อถ่ายใบหน้าและทะเบียนพาหนะของผู้ใช้ทางที่ไม่จ่ายค่าธรรมเนียม แล้วจึงเรียกเก็บค่าธรรมเนียมและค่าปรับในรูปของใบชำระหนี้ หนึ่งในข้อวิจารณ์เกี่ยวกับระบบถนนที่เก็บค่าผ่านทางนี้คือการที่ผู้ใช้ทางจำเป็นจะต้องชะลอความเร็วแล้วหยุด ณ ด่านเก็บค่าผ่านทาง ซึ่งจะทำให้เกิดความล่าช้าในการเดินทาง อีกทั้งการสูญเสียรายได้ให้แก่ผู้จัดเก็บค่าผ่านทาง ในบางกรณีอาจสูงถึงเกือบหนึ่งในสามของรายได้ทั้งหมด การใช้ระบบเก็บค่าผ่านทางอัตโนมัติจึงช่วยย่นเวลาการจัดเก็บและปัญหารายได้ที่สูญเสียไปกับค่าจ้างการจัดเก็บไปพร้อมกัน อีกประเด็นหนึ่งคือการเสียค่าผ่านทางซ้ำซ้อนจากค่าผ่านทางและภาษีมูลค่าเพิ่มจากเชื้อเพลิง เพิ่มเติมจากถนนที่เก็บค่าผ่านทางแล้ว หน่วยงานรัฐยังสร้างอุโมงค์ที่เก็บค่าผ่านทาง (toll tunnel) หรือสะพานที่เก็บค่าผ่านทาง (toll bridge) เพื่อหารายได้ไปใช้จ่ายในหนี้ระยะยาวของการก่อสร้างและบำรุงรักษาถนนที่เก็บค่าผ่านทาง ถนนที่เก็บค่าผ่านทางบางแห่งเก็บค่าผ่านทางไปสะสมไว้เป็นฐานะทางการเงินเพื่อที่จะไปใช้ก่อสร้างส่วนต่อขยายในอนาคตของถนน อุโมงค์ สะพาน หรือระบบคมนาคมขนส่งอื่น ๆ บางแห่งนำค่าผ่านทางที่จัดเก็บได้ไปใช้ในรูปของภาษีกับโครงการอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการคมนาคมของรัฐบาลท้องถิ่น ซึ่งรูปแบบดังกล่าวมันถูกห้ามหรือขัดขวางจากรัฐบาลส่วนกลาง บางครั้งใช้เพื่อลดความคับคั่งของการจราจรและลดมลพิษทางอากาศในเขตเมือง เช่น สิงคโปร.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและถนนที่เก็บค่าผ่านทาง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนประชาอุทิศ

นนประชาอุทิศ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและถนนประชาอุทิศ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนประดิษฐ์มนูธรรม

นนประดิษฐ์มนูธรรม (Thanon Pradit Manutham) เป็นถนนเลียบทางพิเศษฉลองรัช (ทางด่วนสายรามอินทรา-อาจณรงค์หรือทางด่วนหมายเลข 3) เป็นถนนสายหลักสายหนึ่งที่เชื่อมระหว่างในเมืองกับชานเมืองด้านตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพมหานคร ชื่อถนน "ประดิษฐ์มนูธรรม" ตั้งตามราชทินนามของ "หลวงประดิษฐ์มนูธรรม" (ปรีดี พนมยงค์) รัฐบุรุษอาวุโส ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 นายกรัฐมนตรีคนที่ 7 หัวหน้าขบวนการเสรีไทย และผู้นำพลเรือนในคณะราษฎร เพื่อสดุดีเกียรติคุณของท่านในฐานะบุคคลสำคัญของชาติและในวาระที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก ประกาศให้ท่านเป็นบุคคลสำคัญของโลกในปี พ.ศ. 2543 ซึ่งเป็นปีครบรอบ 100 ปี ชาตกาลของท่าน โดยกรุงเทพมหานครเป็นผู้จัดสร้างและดูแลรักษาถนนสายนี้ เมื่อปี พ.ศ. 2546 กรุงเทพมหานครได้ให้ทางเขตวังทองหลางและเขตห้วยขวางเปลี่ยนชื่อถนนประดิษฐ์มนูธรรมเฉพาะช่วงถนนพระราม 9 ถึงถนนลาดพร้าวเป็นชื่อ "ถนนประเสริฐมนูกิจ" โดยให้เหตุผลว่าถนนสายนี้มีความยาวมาก ทำให้การระบุที่อยู่และชื่อผู้รับทางไปรษณีย์ทำได้ไม่สะดวก อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนชื่อถนนประดิษฐ์มนูธรรมช่วงดังกล่าวได้ก่อให้เกิดเสียงคัดค้านขึ้นทั่วไป ทางคณะกรรมการกลางตั้งชื่อถนน ตรอก ซอย วงเวียน ทางแยก คลอง สะพาน และสถานที่สำคัญในเขตกรุงเทพมหานครจึงได้พิจารณาในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547 และให้เปลี่ยนชื่อถนนประเสริฐมนูกิจกลับมาเป็นถนนประดิษฐ์มนูธรรมตามเดิม ถนนประดิษฐ์มนูธรรมมีความยาว 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากปลายซอยสุขุมวิท 63 (เอกมัย) ในพื้นที่เขตห้วยขวาง มุ่งเหนือค่อนตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดผ่านถนนพระราม 9 ข้ามคลองลาดพร้าวเข้าสู่พื้นที่เขตวังทองหลาง ตัดกับถนนประชาอุทิศและถนนลาดพร้าว ข้ามคลองทรงกระเทียมเข้าสู่เขตลาดพร้าว (ฟากตะวันออกของถนนกลายเป็นเส้นแบ่งเขตปกครองระหว่างเขตลาดพร้าวกับเขตวังทองหลาง เขตบางกะปิ และเขตบึงกุ่มตั้งแต่จุดนี้) จากนั้นตัดกับถนนประเสริฐมนูกิจ (เกษตร-นวมินทร์) ข้ามคลองโคกครามเข้าสู่พื้นที่เขตบางเขน และไปสิ้นสุดเส้นทางที่ถนนรามอินทราบริเวณกิโลเมตรที่ 5.5 ถนนมีความกว้าง 6 ช่องจราจร (ขาเข้าและขาออกอย่างละ 3 ช่องจราจร) มีเกาะกลางถนน โดยมีทางด่วนยกระดับอยู่บนเกาะกลางถนนช่วงตั้งแต่ถนนพระราม 9 ถึงถนนรามอินทรา กล่าวได้ว่าถนนสายนี้ขนานขนาบทางด่วน ชาวบ้านจึงมักเรียกว่า "ถนนเลียบทางด่วนรามอินทรา" มีสะพานลอยรถข้ามทางแยกบริเวณจุดตัดถนนลาดพร้าวและถนนประเสริฐมนูกิจด้วย ถนนสายนี้ยังมีทางจักรยานขนานไปกับทางเท้าริมถนน เป็นตัวอย่างที่ดีของการออกแบบถนนสายใหม่ในกรุงเทพฯ และเมืองต่าง ๆ สองข้างทางปลูกต้นไม้หลายชนิดให้ความสวยงามร่มรื่น เช่น ต้นปาล์มน้ำมันที่ปลูกเป็นทิวแถวเรียงรายไปตามทางเท้าริมถนน ถัดจากแถวต้นปาล์มก็จะมีแนวต้นประดู่บ้านอยู่ริมทางจักรยานอีกด้วย ปัจจุบันมีร้านอาหารแบบสวนอาหารตั้งอยู่เรียงรายตลอดแนวถนน โดยเฉพาะบริเวณใกล้จุดตัดถนนประเสริฐมนูกิจซึ่งมีบรรยากาศแบบชายทุ่งชานเมือง นอกจากนี้ยังมีโครงการพัฒนาหมู่บ้านจัดสรรราคาสูงหลายโครงการบนถนนเส้นนี้บนพื้นที่ซึ่งเดิมเป็นพื้นที่ตาบอด แต่ปัจจุบันกลายเป็นทำเลทองที่ไม่ไกลจากใจกลางเมือง.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและถนนประดิษฐ์มนูธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ถนนนิมิตใหม่

นนนิมิตใหม่ (Thanon Nimit Mai) เป็นเส้นทางการคมนาคมในพื้นที่เขตมีนบุรี เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร และอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและถนนนิมิตใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษศรีรัช

ทางพิเศษศรีรัช หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 2 (ส่วนในเมือง) เป็นทางพิเศษในกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างและเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 กันยายน..

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและทางพิเศษศรีรัช · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษสาย S1

ทางพิเศษสาย S1 หรือ ทางด่วนขั้นที่ 3 สายใต้ ตอน S1 เป็นเส้นทางของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เป็นทางพิเศษยกระดับขนาด 6 ช่องจราจร มีจุดเริ่มต้นจากปลายทางพิเศษฉลองรัช ซ้อนทับไปตามแนวทางพิเศษเฉลิมมหานครเดิม (ราบโรงกลั่น) เชื่อมต่อกับทางพิเศษบูรพาวิถี ระยะทาง 4.7 กิโลเมตรรู้จักในนาม ทางพิเศษสายบางนา-อาจณรงค์ ก่อสร้างแล้วเสร็จและเปิดใช้เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2548 ซึ่งมีพิธีเปิดบริเวณ ด่านบางนา กม.6 ขาเข้.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเป็นประธานในพิธี มีด่านเก็บค่าผ่านทางพิเศษจำนวน 1 ด่านคือ ด่านบางจาก ซึ่งเป็นด่านของทางพิเศษเฉลิมมหานคร.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและทางพิเศษสาย S1 · ดูเพิ่มเติม »

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร หรือ ระบบทางด่วนขั้นที่ 1 เป็นทางพิเศษสายแรกของประเทศไทย ก่อสร้างและเปิดให้บริการเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและทางพิเศษเฉลิมมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 สายปากเกร็ด–สะพานต่างระดับนครราชสีมา เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่เชื่อมระหว่างจังหวัดนนทบุรี กรุงเทพมหานคร จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดนครราชสีมา มีจุดเริ่มต้นบนถนนติวานนท์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306) ที่ห้าแยกปากเกร็ด ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดบนถนนมิตรภาพ กับทางเลี่ยงเมืองนครราชสีมาด้านตะวันตก (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 204) ที่ทางแยกต่างระดับนครราชสีมา ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ระยะทางทั้งสิ้น 298.515 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง 296.707 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 สายสุพรรณบุรี–อรัญประเทศ (เขตแดนไทย/กัมพูชา) เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดในภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศไทย สายทางเริ่มต้นในจังหวัดสุพรรณบุรี และสิ้นสุดที่ชายแดนประเทศกัมพูชา อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 299.549 กิโลเมตร ในปัจจุบัน ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 เฉพาะช่วงหินกองถึงอรัญประเทศได้รับการกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายทางหลวงเอเชียสาย 1 โดยถนนตลอดสายมีขนาดระหว่าง 2-6 ช่องจราจร.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 · ดูเพิ่มเติม »

ทางด่วนในประเทศไทย

ทางด่วนในประเทศไทย เป็นถนนที่เก็บค่าผ่านทาง มีการควบคุมจุดเข้าออกของรถยนต์ แบ่งออกเป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองที่กำกับดูแลโดยกรมทางหลวง และทางพิเศษที่กำกับดูแลโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ดำเนินงานโดยบริษัททางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและทางด่วนในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางกะปิ

ตบางกะปิ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนใต้).

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและเขตบางกะปิ · ดูเพิ่มเติม »

เขตห้วยขวาง

ตห้วยขวาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและเขตห้วยขวาง · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองสามวา

ตคลองสามวา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีคลองสามวาผ่านกลางพื้นที่และมีคลองซอยเชื่อมระหว่างคลองหลักเป็นก้างปลา ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพกสิกรรม ปัจจุบันเขตคลองสามวาเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 2 รองจากเขตสายไหม.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและเขตคลองสามวา · ดูเพิ่มเติม »

เขตคลองเตย

ตลาดคลองเตย เขตคลองเตย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตเจ้าพระยา ซึ่งถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและเขตคลองเตย · ดูเพิ่มเติม »

19 กรกฎาคม

วันที่ 19 กรกฎาคม เป็นวันที่ 200 ของปี (วันที่ 201 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 165 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทางพิเศษฉลองรัชและ19 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ทางพิเศษสายรามอินทรา-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครทางด่วนสายรามอินทรา–อาจณรงค์ฉลองรัช

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »